SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  52
การยศาสตร์
จากยุคก่อนประวัติศาสตร์มาจนถึงกระทั่งยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมจะอยู่ในช่วง
ระยะเวลาประมาณ 200 กว่าปี นั้นได้มีการพัฒนาจากการลองผิดลองถูกใน
การสร้างสรรค์เครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ สาหรับใช้ในการทากิจกรรมเพื่อ
ดารงชีวิตของคน จนกลายเป็นเครื่องจักร เครื่องมือต่างๆ โดยได้มีการพัฒนา
ปรับปรุงให้ทันยุคสมัยและสอดคล้องเหมาะสมกับความต้องการในการใช้งาน
เรื่อยมา
ปัจจุบันสังคมได้เล็งเห็นถึงความสาคัญของการสร้างและพัฒนาเครื่องจักร
อุปกรณ์และเครื่องอานวยความสะดวก มากขึ้น จึงได้เริ่มมีการกาหนดมาตรการ
ทางกฎหมายใช้ในการควบคุม เพื่อลดความเสียหายอันอาจจะเกิดขึ้นจากการ
ทางาน โดยเริ่มมีการให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องเวชศาสตร์อุตสาหกรรม ได้มีการ
เปิดสอนในโรงเรียนแพทย์ กับเรื่องอาชีวอนามัยก็ได้มีการเปิดสอนในโรงเรียน
สาธารณสุข และมีการปรับปรุงสภาพการทางานในสถานประกอบการ มีการ
พัฒนากระบวนการผลิตแบบจานวนมาก จึงทาให้เกิดการเรียนรู้เรื่องการศึกษา
เวลา และการเคลื่อนไหวในการทางานของมนุษย์ขึ้น
การยศาสตร์
ความหมายของการยศาสตร์
Ergonomics
ราชบัณฑิตย์สถานได้บัญญัติศัพท์ของคาว่า Ergonomics ไว้คือ การยศาสตร์
โดยอธิบายว่าการยเป็นคาในภาษาสันสกฤต หมายถึง งาน (Work) และศาสตร์
เป็นวิทยาการ (Science) รวมความเป็น Work Science
ความหมายของการยศาสตร์
Ergonomics
Ergonomics มาจากรากศัพท์ในภาษากรีก 2 คา คือ ergon แปลว่า งาน
(work) กับคาว่า nomos แปลว่า กฎ (law) เมื่อรวมคาทั้งสองเข้าด้วยกันเกิด
เป็นคาใหม่ว่า Ergonomics (Law of Work) มีความหมายถึงการศึกษา
กฎเกณฑ์ในการทางาน โดยมีเป้าหมายที่จะปรับปรุงงานหรือสภาวะของงานให้
เข้ากับแต่ละบุคคล
การยศาสตร์ หมายถึง วิทยาการเกี่ยวกับงานหรือการทางาน
ความหมายของการยศาสตร์
Ergonomics
สมาคมการจัดการแห่งประเทศไทยได้บัญญัติศัพท์ของคาว่า Ergonomics ไว้ว่า
“สมรรถศาสตร์” ซึ่งหมายความว่าเป็นศาสตร์ที่เกี่ยวกับความสามารถ ในที่นี้
หมายถึง ความสามารถในการทางานของมนุษย์ในลักษณะต่างๆ โดยเทียบเคียง
กับคาว่า Human Performance Engineering
ความหมายของการยศาสตร์
Ergonomics
การยศาสตร์ (Ergonomics) เป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
และสุขภาพของบุคคลในเชิงความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมในการทางาน
เพื่อให้มีการออกแบบสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงานให้มีความปลอดภัย
สะดวก สบาย และน่ารื่นรมย์สาหรับบุคคลที่ปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน
การปฏิบัติงาน
ความสาคัญของการยศาสตร์
เนื่องจากความแตกต่างกันของบุคคลทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม
สติปัญญา ซึ่งไม่สามารถกาหนดให้เป็นไปตามความต้องการได้ ถึงแม้ว่าปัจจุบัน
จะมีความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีมากเพียงใดก็ตาม การที่บุคคลจะ
ทางานหรือทากิจกรรมใดก็ตามที่ต้องอาศัยอุปกรณ์เครื่องมือเพื่อช่วยอานวย
ความสะดวก ก็จะต้องคานึงถึงความเหมาะสมกับการใช้งานเพื่อไม่ให้เกิด
ผลกระทบที่ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพร่างกายในแต่ละด้านหรือมีความเสี่ยงต่อ
อันตรายน้อยที่สุด
ความสาคัญของการยศาสตร์
ปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่มีการประดิษฐ์คิดค้น การออกแบบ
เครื่องจักรกล และกระบวนการหรือวิธีการผลิตต่างๆ เพื่อเพิ่มผลผลิตและเพื่อให้
เหมาะสมกับลักษณะของงานในขั้นตอนกระบวนการทั้งหลาย ซึ่งคนเป็น
ทรัพยากรที่มีค่ามากที่สุดของหน่วยงาน ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการพยายามปรับคน
ให้เข้ากับงานที่ทา (fit the man to the job) นั้น เป็นลักษณะของภาวะจายอม
เพราะการลงทุนทางด้านวัสดุหรือเครื่องจักรกลได้เกิดขึ้นมาก่อนแล้ว โดยไม่ได้
คานึงถึงความสะดวกสบายของคนที่ทางานเลย ซึ่งอาจก่อให้เกิดความผิดพลาด
หรืออุบัติเหตุ ความเมื่อยล้า ความเสื่อมถอยของสุขภาพ และส่งผลกระทบ
โดยตรงต่อประสิทธิภาพของการผลิต ทั้งทางด้านปริมาณและคุณภาพ
ความสาคัญของการยศาสตร์
ในทางตรงข้ามถ้าออกแบบวัสดุอุปกรณ์ เครื่องจักร เหลือเครื่องอานวยความ
สะดวกในการทางานได้คิดคานึงถึงข้อจากัด และความต้องการของบุคคลที่ต้อง
ทางานในลักษณะของการปรับงานให้เหมาะสมกับคน (fit the man to the job)
โดยเห็นถึงความสาคัญของความแตกต่างกันของบุคคล ก็จะเป็นการลดอัตรา
ความเสี่ยงของการเกิดความเสียหายและความไม่ปลอดภัยในการทางาน แต่ยัง
ช่วยเพิ่มผลผลิตทั้งทางด้านปริมาณและคุณภาพให้กับหน่วยงานได้
องค์ประกอบของระบบ
Ergonomics Factors
การออกแบบระบบการยศาสตร์ประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญดังนี้
เครื่องมือ
Tools
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
Tasks
สภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน
Workstations Environment
เครื่องมือ
Tools
หมายถึงสิ่งที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ซึ่งต้องสัมพันธ์กับมิติขนาดร่างกายของ
ผู้ปฏิบัติงาน โดยคานึงถึงลักษณะส่วนบุคคลของพนักงานแต่ละคน ซึ่ง
ประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์สนับสนุนการปฏิบัติงานต่างๆ
รวมถึงโปรแกรมที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
สภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน
Workstations Environment
ต้องก่อให้เกิดความรู้สึกสะดวกสบาย เช่น ระบบการปรับอากาศ เฟอร์นิเจอร์ แสง
ไฟ ซึ่งถ้าไม่ได้มีการออกแบบและพิจารณาอย่างเหมาะสม อาจเกิดปัญหา
ความเครียดได้
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
Tasks
ต้องมีขั้นตอนที่เหมาะสม ทั้งส่วนของธรรมชาติการปฏิบัติงาน และความ
เหมาะสมกับความรู้ความสามารถของผู้ปฏิบัติงาน มีการฝึกอบรมการ
ปฏิบัติงาน มีระยะเวลาในการปฏิบัติงานที่เหมาะสม
ท่าทางการนั่งทางาน อุปกรณ์ต่างๆ มีขนาด ระยะ แสงสว่าง ไม่เหมาะสม ทาให้
อวัยวะบางส่วนทางานหนัก ซึ่งการทางานติดต่อกันต่อเนื่องเป็นเวลานาน จะส่งผล
กระทบต่อสุขภาพและอาจเกิดการบาดเจ็บของอวัยวะเรื้อรังได้ ดังนั้น สานักงานหรือ
ผู้ใช้คอมพิวเตอร์คนให้ความสาคัญต่อการจัดสถานที่ทางานให้เหมาะสม
การจัดสถานที่ทางาน
Arranging Workstation
การจัดสถานที่ทางานไปลักษณะของการจัดสถานที่ทางานให้เหมาะสมกับ
ผู้ปฏิบัติงานและลักษณะงานที่ทา โดยคานึงถึงการปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม
ปลอดภัย ต่อผู้ที่ทางานในที่นั้นอันเป็นผลมาจากการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงทั้ง
วิธีการปฏิบัติงาน ตลอดจนอุปกรณ์ต่างๆ ให้เหมาะสมโดยมีสิ่งที่ต้องคานึงถึง
ดังต่อไปนี้
คือ ช่วงขาบนต้องราบขนานไปกับพื้นแล้วเท้าต้องวางบนพื้นได้พอดี
ลักษณะการออกแบบเก้าอี้และกันนั่งที่เหมาะสมมีดังนี้
การจัดความสูงของเก้าอี้ให้พอดี
ระหว่างปฏิบัติงาน ข้อศอกควรวางบนที่พักและทามุมมากกว่า 90 องศา
เล็กน้อย
ที่พิงหลังคนอยู่กึงกลางของช่วงแขนส่วนบนขึ้นไปเพื่อให้รองรับหลังได้
อย่างเหมาะสม
ขณะนั่งสะโพกควรทามุมประมาณ 95-110 องศา เพื่อให้เป็นการนั่งที่
เหมาะสม
ต้องมีที่ว่างประมาณ 2-3 นิ้ว บริเวณด้านหลังของหัวเข่ากับมุมของเบาะ
รองนั่ง
ไม่ควรมีสิ่งของวางใต้โต๊ะปฏิบัติงานอันอาจจะเป็นอุปสรรคต่อการ
เคลื่อนไหวของช่วงขาได้
ช่วงขาด้านบนต้องขนานไปกับพื้นขณะนั่ง
ปรับพนักพิงของเก้าอี้ให้เหมาะสม
มานั่งแล้วพนักพิงจะต้องรับกับความโค้งของหลังส่วนล่าง ในขณะที่พับในของข้าว
ต้องอยู่ในระยะที่สบายๆจากด้านหน้าเก้าอี้
ให้อยู่ในตาแหน่งที่ทาให้ได้ “พักแขน” จริงๆ ซึ่งก็คือ แขนจะต้องปล่อยแนบข้าง
ลาตัว และข้อศอกทามุมประมาณ 90 องศา วิธีการปรับความสูงของเก้าอี้คือ
ยืนหน้าเก้าอี้ และปรับความสูงโดยให้เบาะนั่งอยู่ระดับหัวเข่า การนั่งที่เหมาะสม
คือจะต้องมีช่องว่างระหว่างด้านหลังของหัวเข่าและปลายของเบาะนั่ง ประมาณ
2-3 นิ้ว การปรับพนักพิงของเก้าอี้ต้องปรับจนสามารถรองรับส่วนโค้งจาก
ด้านหลังของผู้ปฏิบัติงานได้
ปรับความสูงและตาแหน่งของที่พักแขน
วิธีการปรับความสูงของเก้าอี้คือยืนหน้าเก้าอี้ และปรับความสูงโดยให้เบาะนั่ง
อยู่ระดับหัวเข่า การนั่งที่เหมาะสมคือจะต้องมีช่องว่างระหว่างด้านหลังของหัว
เข่าและปลายของเบาะนั่ง ประมาณ 2-3 นิ้ว การปรับพนักพิงของเก้าอี้ต้องปรับ
จนสามารถรองรับส่วนโค้งจากด้านหลังของผู้ปฏิบัติงานได้ โดยเก้าอี้ที่
เหมาะสมมีลักษณะดังนี้
พนักพิงหลังสามารถปรับได้ทั้งมุมและการเคลื่อนที่ไปด้านหน้าและถอย
หลัง
เบาะรองนั่งต้องทาด้วยวัสดุที่ไม่ลื่น
ความสูงของเก้าอี้ต้องสามารถปรับได้
เก้าอี้ต้องสามารถหมุนได้ 360 องศา
ให้สามารถวางนิ้วพักบนแป้นเหย้า ตาแหน่ง “ฟหกด่าสว” ได้สะดวก โดยที่
แขนแนบข้างลาตัว ข้อศอกทามุม 90 องศา และข้อมืออยู่ในแนวตรง
ปรับความสูงของคีย์บอร์ด
ถัดจากคีย์บอร์ดในตาแหน่งที่จะใช้งานได้โดยข้อมืออยู่ในตาแหน่งปกติ
ธรรมชาติ โดยแขนอยู่แนบลาตัวและวางให้สูงกว่าคีย์บอร์ดเล็กน้อย
วางเม้าส์ แทรกบอล หรือคีย์แพด
การจัดวางจอภาพคอมพิวเตอร์
ควรมีลักษณะดังต่อไปนี้
จอภาพควรอยู่ห่างจากผู้ปฏิบัติงานประมาณ 18”-28” หรือหนึ่งช่วง
แขน
แสงสว่างภายในห้องปฏิบัติงาน และแสงสว่างของจอคอมพิวเตอร์ควรมี
ความใกล้เคียงกัน
ปรับระดับความสูงของจอมอนิเตอร์ โดยให้ส่วนบนของจอภาพประมาณ
1/3 ควรอยู่ต่ากว่าระดับสายตา หรือประมาณ 10-20 องศา เพื่อจะได้
ไม่ต้องเหลือบตาขึ้นสูงซึ่งเป็นการฝืนธรรมชาติเวลามอง
การจัดวางจอภาพคอมพิวเตอร์
ควรมีลักษณะดังต่อไปนี้
แสงไฟไม่ควรส่องมาจากด้านหลังของจอคอมพิวเตอร์ และไม่ส่องตรง
เข้าทางหน้าจอเพราะแสงจะกระจายเข้าตาโดยตรงได้
จอภาพควรมีแผ่นกรองแสง (Anti-reflection screen filter) จะช่วยลด
แสงสะท้อนและแสงกระจายได้บางส่วน
ขนาดของตัวหนังสือหน้าจอควรมีขนาดประมาณ 3 เท่าของตัวหนังสือ
เล็กสุด ที่ผู้ใช้สามารถอ่านได้ จึงเป็นขนาดที่ถนอมสายตามากที่สุด
การจัดวางจอภาพคอมพิวเตอร์
ควรมีลักษณะดังต่อไปนี้
สีของตัวหนังสือบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมที่สุดควรเป็น
ตัวอักษรสีดาบนพื้นขาว
การปรับคลื่นแสงที่หน้าจอคอมพิวเตอร์ควรปรับความถี่ให้อยู่ในระดับ
70-80 Hz จะทาให้จอภาพเต้นน้อยลงและสบายตามากขึ้น
ควรมีการปรับให้อยู่ในระดับเดียวกันกับข้อศอกขณะนั่งอยู่บนเก้าอี้ ควรนั่ง
ตัวตรง หลังเอนไปทางด้านหน้าเล็กน้อย แขนทั้งสองข้างอยู่ในแนวขนานกับ
พื้นขณะกดแป้นพิมพ์ แต่ถ้าเป็นกรณีที่พื้นผิวการปฏิบัติงานไม่สามารถ
ปรับเปลี่ยนได้ ก็ควรปรับที่เก้าอี้ปฏิบัติงานแทน โดยปรับให้ระดับของข้อศอก
ขณะแนบลาตัว อยู่ในระดับเดียวกับแป้นพิมพ์ ซึ่งโดยปกติคีย์บอร์ดควรวาง
อยู่สูงกว่าช่วงขาของผู้ปฏิบัติงานขณะนั่งประมาณ 1 นิ้ว
ความสูงของพื้นผิวการปฏิบัติงาน
หรือถ้าหากมีแรงกดมากบริเวณด้านหลังของขา ก็ให้หาสิ่งของที่สามารถ
หนุนในส่วนของเท้า เพื่อลดความปวดเมื่อยได้ ทาไมสามารถวางพักเท้าบน
พื้นห้องได้อย่างสบาย ควรจัดให้มีที่วางพักเท้าด้วย โดยวางเท้าราบเสมอกับ
พื้น หรือวางบนที่พักเท้า
ส่วนของเท้าต้องวางราบไปกับพื้น
ควรใช้ที่หนีบเอกสาร วางอยู่ข้างจอมอนิเตอร์ โดยวางไว้ด้านข้างหรือ
ด้านหน้าของจอโดยให้อยู่ในแนวเดียวกับจอ
ต้นฉบับเอกสารที่ต้องพิมพ์
โต๊ะที่ใช้ในสานักงานจะมีรูปแบบทั่วไปเป็นทรงสี่เหลี่ยมอย่างง่าย บางครั้งมี
ลิ้นชักติดกับพื้นผิวโต๊ะ แต่เมื่อเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลง นักออกแบบโต
และผู้ผลิตจึงต้องพัฒนารูปแบบโต๊ะทางานเพื่อให้ตรงกับความต้องการ โดย
ต้องสนับสนุนกับอุปกรณ์สานักงาน เช่น จอภาพ แป้นพิมพ์ ไมโครโฟน
โทรศัพท์ เครื่องพิมพ์สแกนเนอร์ และอุปกรณ์อื่นๆ เพื่อรองรับการเพิ่ม
จานวนของบุคคลในสานักงานโดยไม่ต้องเพิ่มพื้นที่ของอาคาร โต๊ะทางาน
สามารถเปลี่ยนรูปร่าง และรูปทรง ให้เหมาะสาหรับใช้คนเดียว สองคน หรือใช้
เป็นกลุ่มใหญ่โดยใช้โต๊ะทางานร่วมกันได้ โดยที่ผู้ใช้สามารถคงความสูง ปรับ
ความสูงบางส่วนได้ และมีลิ้นชักแนบใต้โต๊ะหรือแท่นแขวนเคลื่อนที่ ซึ่งในเรื่อง
ของโต๊ะทางานควรพิจารณาดังนี้
หากเป็นโต๊ะที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะควรมีถาดรองแป้นพิมพ์และเม้าส์
เพื่อให้หน้าจอคอมพิวเตอร์ใกล้ระดับสายตา และสามารถพิมพ์งานโดย
ใช้แป้นพิมพ์และเม้าส์ได้นานโดยไม่ต้องยกไหล่
ความสูงของโต๊ะทางานควรมีความสูงพอเหมาะ
ขณะทางานไม่ต้องก้มศีรษะมากนัก
ผิวโต๊ะทาด้วยวัสดุที่ไม่สะท้อนแสงรบกวนการทางาน
ความสูงของโต๊ะทางาน มักจะถูกออกแบบมาให้มีความสูง 720 มม. หรือ
ประมาณ 25-29 นิ้ว ตามมาตรฐานอุตสาหกรรม ซึ่งจะเหมาะกับ
บุคลากรส่วนใหญ่ในสานักงาน
สาหรับอุปกรณ์ทางคอมพิวเตอร์นั้น ควรจะจัดหน้าจอ และแป้นพิมพ์
วางไว้ตาแหน่งหน้าของผู้ใช้ ซึ่งความลึกของโต๊ะควรมีระยะห่างจาก
ตาแหน่งหน้าจอถึงปลายนิ้ว เป็นตาแหน่งที่ใช้ในการทางาน
การทางานจะต้องมีพื้นที่ที่ว่างอย่างน้อย 650 มม. ระหว่างพื้นและพื้นใต้
ผิวโต๊ะทางาน
เป็นลักษณะของการจัดการด้านขั้นตอนการปฏิบัติงาน โดยมีข้อควรพิจารณาดังนี้
วิธีการปฏิบัติงานอย่างถูกต้อง
Applying Good Work Practices
ปรับม่านหรือมูลี่เพื่อให้มีแสงสว่างที่เหมาะสม
ใช้ไฟเพดานชนิดดิฟฟิวเซอร์ (Diffuser Light) ซึ่งจะปล่อยแสงสว่าง
ออกมาได้ทุกทิศทาง
เวลาคุยโทรศัพท์ ควรจะหลีกเลี่ยงการใช้หัวกับไหล่หนีบโทรศัพท์ ให้
ใช้สปีคเกอร์โฟน (Speaker Phone) หรือ เฮดเซ็ต (Headset) แทน
บนโต๊ะทางานควรมีพื้นที่มากพอที่จะวางของที่จาเป็น ส่วนของที่
ไม่ได้ใช้งานบ่อยควรเก็บไว้ที่อื่น เพื่อไม่ให้เป็นการกีดขวางการ
ปฏิบัติงาน ตาแหน่งของการวางสิ่งของ แบ่งออกเป็น 3 ส่วนดังนี้
จะวางสิ่งของที่ต้องใช้ในการปฏิบัติงานบ่อยๆ เช่นคีย์บอร์ด
ตัวชี้ และอุปกรณ์ต่อพ่วง เช่น การใช้ปากกาอิเล็กทรอนิกส์
พื้นที่บริเวณนี้คมีความกว้างประมาณ 10 นิ้ว
ตาแหน่งที่ใช้ประจา
Usual Zone
เป็นส่วนประกอบการทางาน เช่น โทรศัพท์ เครื่องคิดเลข ถาดเอกสาร
บริเวณนี้มีความกว้าง 10-20 นิ้ว
ตาแหน่งที่ใช้เป็นบางโอกาส
Occasional Zone
เป็นตาแหน่งวางสิ่งของที่ไม่ได้ใช้งานบ่อยนัก หรือเป็นของ
ประดับสาหรับตั้งโชว์ เช่น กล่องดินสอ ปากกา รูปภาพ
นาฬิกา ในบริเวณนี้มีความกว้างประมาณ 26 นิ้ว
ตาแหน่งที่ไม่ค่อยได้ใช้งาน
Rare Zone
ติดตั้งโคมไฟสาหรับการใช้งานอย่างในจุดที่จาเป็น
ในการกดแป้นพิมพ์ ควรลงน้าหนักมือให้น้อยที่สุดเท่าที่จะทาได้
เปลี่ยนลักษณะงานที่ทาบ้าง อย่าทากิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งนาน
เกินไป
หลีกเลี่ยงเสียงรบกวน
ควบคุมอุณหภูมิในการทางานให้เหมาะสม
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ส่งผลต่อ
การทางานของร่างกายมนุษย์
แป้นพิมพ์
Keyboard
เมาส์
Mouse
ทัชแพด
Touchpad
จอภาพสัมผัส
Touchscreen
แป้นพิมพ์
Keyboard
การใช้แป้นพิมพ์โดยใช้แรงกดจากปลายนิ้วมีผลต่อการพัฒนาความผิดปกติของท่อนแขน โดยแรงขั้นต่าที่ใช้ในการกด
จะเป็นเพียงครึ่งแรกของการกดทั้งหมด ถ้าผู้ใช้ต้องออกแรงกดมากเท่าใด ก็จะหมายถึงว่าแป้นพิมพ์นั้นใช้งานไม่สะดวก
มากเท่านั้น การพิมพ์ด้วยแป้นพิมพ์ที่แข็งกระด้างต้องการใช้แรงกดที่มากขึ้น และแม้ว่าผู้ใช้จะกดคีย์บนโน้ตบุ้คด้วยแรงที่
น้อยกว่าบนเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะก็ตาม บางครั้งอาจจะใช้แรงกดเกินความจาเป็นไปมาก การทาให้มีเสียงดังตอบ
รับขณะกดคีย์แต่ละคีย์ลงไปคล้ายกับเสียงคลิกเมาส์จะช่วยลดการใช้แรงกดคีย์บอร์ดที่มากเกินไป
แป้นพิมพ์
Keyboard
การจัดให้มีขี้ตัวเลขประกอบอยู่บนแป้นพิมพ์ด้วยนั่นเป็นสิ่งที่ควรจะมีการทบทวน เนื่องจากขี้ตัวเลขนี้จะเป็นการเพิ่ม
ความกว้างให้กับแป้นพิมพ์และต้องวางเมาส์ออกห่างไปจากผู้ใช้มากกว่าที่ควร ทาให้หัวไหล่ถูกหั่นตามออกไปด้วยเมื่อ
ใช้เมาส์ ซึ่งเมื่อใช้งานนานไปจะทาให้เกิดความไม่สะดวก ดังภาพต่อไปนี้
เมาส์
Mouse
เมาส์จัดเป็นอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลที่ใช้งานกับคอมพิวเตอร์อยู่ตลอดเวลา การออกแบบเมาส์ได้มีการออกแบบให้
ใช้งานโดยต้องคว่าฝ่ามือลง ซึ่งฝ่ามือจะถูกยกขึ้นอยู่สูงกว่าข้อมือในท่าที่ผิดธรรมชาติ เมาส์บางตัวมีขนาดใหญ่
มากอีกทั้งอาจจะยาวและกว้างทาให้ไม่สะดวกในการใช้ปุ่มคลิก โดยต้องใช้นิ้วยื่นออกไปเพื่อจะคลิกที่ปุ่มได้ เมาส์
ส่วนใหญ่ออกแบบมาเพื่อให้ใช้กับมือขวาแต่ก็ยังมีการนาไปใช้กับมือซ้ายโดยวางไว้ทางด้านซ้ายของแป้นพิมพ์
โดยที่รูปทรงของเมาส์มือขวานั้นไม่เหมาะอย่างยิ่งกับการใช้มือซ้าย ดังนั้นการออกแบบเมาส์ให้สามารถใช้กับมือ
ในท่าที่เป็นธรรมชาติได้ ซึ่งมีนัยสาคัญที่จะลดอาการติดกันของกระดูกและกล้ามเนื้อในขณะใช้งานคอมพิวเตอร์
ทัชแพด
Touchpad
การใช้ทัชแพด พบได้บนแล็ปท็อปคอมพิวเตอร์หรือโน้ตบุ๊คโดยใช้แทนเมาส์ รูปร่างของทัชแพดมีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยม
อยู่ด้านหน้าเป็นพิมพ์ใช้งานโดยใช้ปลายนิ้ว ผู้ชายส่วนมากพบว่าสามารถใช้นิ้วเพียงนิ้วเดียวบนทัชแพด เพราะว่าไม่
ต้องการให้ทิศทางของเคอร์เซอร์เปลี่ยนไป ซึ่งเกิดขึ้นได้ถ้ามีนิ้วมืออีกนิ้วมาสัมผัส สรุปก็คือการใช้งานจะมารวมอยู่ที่
นิ้วมือเพียงนิ้วเดียว ซึ่งนานไปก็เกิดความอ่อนล้าได้ การใช้ทัชแพดเป็นเวลานานจึงควรหลีกเลี่ยงเพื่อไม่ให้เกิดความ
ผิดพลาดจากการใช้นิ้วเพียงนิ้วเดียวเป็นเวลานานในการทางาน ผู้ใช้ทัชแพดจึงควรใช้เมาส์เพิ่มเติมด้วย
การใช้งานจอภาพสัมผัสผู้ใช้จะต้องสัมผัสลงไปบนจอภาพ ซึ่งเป็นหนึ่งในวิธีการที่รวดเร็วในการเลือกสิ่งของบนจอภาพ ซึ่ง
มันจะให้ผลดีที่สุดในการชี้และการเลือก อย่างไรก็ตามมันมีผลต่อผู้ใช้ในการยื่นแขนออกไปโดยไม่มีอะไรมารองรับหรือพยุง
ไว้ สิ่งหนึ่งที่เป็นความยากก็คือจอภาพถูกวางไว้ตามความต้องการ สองอย่างนี้คือ มันต้องอยู่ห่างจากผู้ใช้พอสมควร
เพื่อให้ผ่านได้สะดวกแต่ก็ต้องไม่ห่างเกินเอื้อม แล้วก็ไม่ควรใช้งานนานเกินไปกับจอภาพแบบนี้ ซึ่งอาจจะเหมาะกับการเลือก
ด้วยการใช้เวลาสั้นๆ หรือไม่ก็เป็นการป้อนตัวหนังสือเพียงเล็กน้อยเท่านั้น การวางจอไว้ในแนวตั้งควรจัดตั้งให้มีความสูง
เพียงพอซึ่งควรจะอยู่บริเวณตั้งแต่หัวไหล่ขึ้นไป การวางจอที่วางในแนวนอนจะต้องไม่ตั้งให้สูงกว่าในแนวระดับศอก
จอภาพสัมผัส
Touchscreen

Contenu connexe

Tendances

หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุหลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุAiman Sadeeyamu
 
สื่อการสอนอาชีวอนามัย
สื่อการสอนอาชีวอนามัยสื่อการสอนอาชีวอนามัย
สื่อการสอนอาชีวอนามัยTui Ka
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยtechno UCH
 
โครงการ Safety day 2014
โครงการ Safety day 2014โครงการ Safety day 2014
โครงการ Safety day 2014Jiraporn Promsit
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์NATTAWANKONGBURAN
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย VidinotiDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์peter dontoom
 
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานหน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานJanchai Pokmoonphon
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศไพบูลย์ วงษ์ปาน
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยีหน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยีJanchai Pokmoonphon
 
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพณัฐะ หิรัญ
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางSuradet Sriangkoon
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่Watermalon Singha
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพTeetut Tresirichod
 

Tendances (20)

หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุหลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
 
สื่อการสอนอาชีวอนามัย
สื่อการสอนอาชีวอนามัยสื่อการสอนอาชีวอนามัย
สื่อการสอนอาชีวอนามัย
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 
โครงการ Safety day 2014
โครงการ Safety day 2014โครงการ Safety day 2014
โครงการ Safety day 2014
 
Ppt. ปอด
Ppt. ปอดPpt. ปอด
Ppt. ปอด
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
 
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
 
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานหน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
 
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยีหน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
 
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
 
Ppt.office syndrome
Ppt.office syndromePpt.office syndrome
Ppt.office syndrome
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
 

Plus de Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai

ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

Plus de Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai (20)

ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
 
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
 
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
 

การยศาสตร์ (Ergonomics)