SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  51
คือ การสื่อสารระหว่างผู้ใช้กับระบบ โดยที่ระบบมีส่วนต่อประสานเป็นทั้งส่วนที่
ผู้ใช้ สนใจและเป็นเหมือนคน สนทนา/ตัวกลางระหว่างผู้ใช้และระบบ เริ่มจากผู้ใช้
ป้อนคําสั่ง/ออกคําสั่งแก่ส่วนต่อประสานจากนั้นเป็นหน้าที่ของส่วนต่อประสาน
ที่จะดําเนินการตามคําสั่ง ดังนั้นการสื่อสารระหว่างผู้ใช้และระบบมีความหมาย
คือเป็นภาษาทางอ้อม (Indirect Language) แทนที่จะเป็นการกระทําโดยตรง
(Direct action)
การปฏิสัมพันธ์
การปฏิสัมพันธ์ประกอบด้วย รูปแบบของการปฏิสัมพันธ์ การแปลความหมาย
ระหว่างผู้ใช้ และระบบศาสตร์ของการออกแบบ ลักษณะทางกายภาพหรือภายนอก
ของการปฏิสัมพันธ์ ลักษณะเฉพาะแบบของการปฏิสัมพันธ์ ธรรมชาติของการ
สนทนาโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับระบบ บริบท เนื้อหา สังคม องค์กร และการกระตุ้น
ความสามารถในการสร้างปฏิสัมพันธ์
การสร้างปฏิสัมพันธ์อาจจะทําได้โดยง่ายโดยที่ผู้ใช้มีการเข้าถึงหรือนําเข้าข้อมูล
ด้วยวิธีการที่ มีความหลากหลายของอุปกรณ์นําเข้าข้อมูล เช่น แป้นพิมพ์ การ
ชี้ตําแหน่งด้วยเมาส์ หน้าจอสัมผัส หรือการใช้เสียงพูด ซึ่งทํางานผ่านเทคโนโลยี
ที่มีการแสดงผลข้อมูลด้วยรูปแบบของภาพหรือเสียง เช่น ข้อความ กราฟิก การ
พิมพ์หรือเสียงพูด และลําดับของการกระทําในรูปแบบปฏิสัมพันธ์ยังมี
ความสําคัญต่อการตอบสนองของปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์และผู้ใช้
เหล่านั้นด้วย
เป้าหมายพื้นฐานของปฏิสัมพันธ์
ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์
คือ การปรับปรุงการสื่อสารระหว่างผู้ใช้และคอมพิวเตอร์โดยทําให้เครื่องคอมพิวเตอร์
ใช้งานและเหมาะสมกับการตอบสนองต่อ ความต้องการของผู้ใช้คือ
ระเบียบวิธีการและกระบวนการในการออกแบบส่วนต่อประสาน
1.
วิธีการในการดําเนินการเชื่อมต่อ เช่น ซอฟต์แวร์ ชุดเครื่องมือและห้องสมุด
ขั้นตอนวิธีการที่มีประสิทธิภาพ
2.
เทคนิคการประเมินและเปรียบเทียบการเชื่อมต่อ
3.
การพัฒนาส่วนต่อประสานใหม่และเทคนิคการทํางานร่วมกัน
4.
การพัฒนารูปแบบการบรรยายและการคาดการณ์
และทฤษฎีของการปฏิสัมพันธ์
5.
มีการพัฒนา ที่ต่อเนื่องอย่างรวดเร็ว แต่ยังไม่มีความแน่ชัดในการรับข้อมูลมาก
นัก ทําอย่างไรที่จะมีส่วนต่อประสานที่ดีและเหมาะสม คือต้องเป็นส่วนต่อประสาน
ที่ทํางานมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ได้ดีนั่นเอง เช่น ระบบการจองตั๋วเครื่องบินที่ใช้เสียง
เป็นปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้อาจมีคําถามให้ผู้ใช้ตอบว่า “ใช่” (Yes) หรือ “ไม่ใช่" (No)
เท่านั้นไม่เพียงพอ ควรมีการทวนคําถามเป็นเสียง หรือถ้าสามารถแสดงเป็นภาพ
และเสียงได้ พร้อมกันจะทําให้ระบบมีประสิทธิภาพมากกว่าใช้เสียงเพียงอย่างเดียว
ส่วนต่อประสานที่ใช้เสียงพูด
เป็นตัวกระตุ้นคําสั่ง
Speech-driverInterface
โมเดลปฏิสัมพันธ์
วัตถุประสงค์ของการปฏิสัมพันธ์คือ การช่วยเหลือผู้ใช้ให้สามารถทํางานในขอบเขต
งานประยุกต์ ตามเป้าหมายให้สําเร็จซึ่งก่อนอื่นต้องทําความเข้าใจคําศัพท์ต่อไปนี้
ความตั้งใจ
Intention
ภารกิจ
Task
เป้าหมาย
Goal
โดเมน
Domain
หมายถึง ขอบเขตของการทํางานที่อาศัยความเชี่ยวชาญและความรู้
ของกิจกรรม หรือขอบเขตความสนใจของงานที่กําลังศึกษาอยู่ เช่น
Graphic design domain คือ ขอบเขตการทํางานที่มีแนวคิดเรื่อง
รูปทรงต่างๆ และการวาดพื้นผิวเป็นต้น
โดเมน
Domain
หมายถึง สิ่งที่ต้องการจะทําให้สําเร็จ เช่น ต้องการสร้างรูปทรง
สามเหลี่ยมสีแดงล้วนบนผืนผ้าใบ
เป้าหมาย
Goal
หมายถึง สิ่งที่กําลังทําอยู่เพื่อบรรลุเป้าหมาย หรือหมายถึงการปฏิบัติ
หรือการกระทํา (Operations or Actions) เช่น เลือกเครื่องมือเต็ม (Fill)
และคลิกบนรูปทรง สามเหลี่ยม
ภารกิจ
Task
หมายถึง เจตนา/ความตั้งใจที่จะกระทําให้บรรลุเป้าหมาย
ความตั้งใจ
Intention
โมเดลของโดนอลด์ นอร์แมน
DonaldNorman'smodell
มุ่งไปที่มุมมองของส่วนต่อประสานของผู้ใช้ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ดังนี้
ผู้ใช้กําหนดเป้าหมาย
การทํางาน
UserEstablishestheGoal
STEP
1
กําหนดความตั้งใจ
FormulatesIntention
STEP
2
ระบุการกระทํากับส่วนต่อ
ประสานของระบบไว้
SpecifiesActiorsatInterface
STEP
3
ลงมือปฏิบัติการให้เกิดผล
ExecutesAction
STEP
4
โมเดลของโดนอลด์ นอร์แมน
DonaldNorman'smodell
มุ่งไปที่มุมมองของส่วนต่อประสานของผู้ใช้ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ดังนี้
รับรู้สถานะของระบบ
PerceivesSystemState
STEP
5
เข้าใจสถานะของระบบ
InterpretsSystemState
STEP
6
ประเมินสถานะของระบบ
พร้อมกับเป้าหมาย
ที่กําหนดไว้
EvaluatesSystemStatewith
Respectto Goal
STEP
7
โมเดลของนอร์แมนจะเน้นที่มุมมองของส่วนต่อประสาน
ของผู้ใช้ระบบ (User's View of the Interface) โมเดลนี้
เรียกอีกชื่อว่า โมเดลการวนซ้ําของการปฏิบัติการให้บัง
เกิดผลและการ ประเมินค่า(Execution/Evaluation
Loop)
Goal
System
Execution Evaluation
สถานะของเป้าหมายหรือgoal ผู้ใช้เริ่มกําหนดเป้าหมายการทํางานในขั้นตอนที่ 1 ช่วง กระทํา
(Executionphase) ขั้นตอนที่ 2 - 4 คิดวิธี/ระบุการกระทํา/กระทําช่วงประเมินผล
(Evaluationphase) ขั้นตอนที่ 5 - 7 ดูผลลัพธ์/ตีความ/ประเมินผล
แบบจําลองของนอร์แมนประกอบด้วย วงจรการปฏิสัมพันธ์ (Interactive
cycle) ในหนึ่ง รอบของการปฏิสัมพันธ์จะประกอบด้วย 7 ขั้นตอนที่กล่าว
ไปแล้ว ซึ่งอาจแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอนใหญ่ คือ ขั้นตอนการดําเนินการ
(Execution) และ ขั้นตอนการประเมิน (Evaluation) การนําแบบจําลอง ของ
นอร์แมนมาใช้งานนิยมนํามาอธิบายว่าทําไมบางระบบถึงใช้งานยากกว่า
ระบบอื่นๆ ทั้งนี้ระบบที่ออกแบบการปฏิสัมพันธ์จะจัดให้อยู่ในอ่าวการ
ปฏิบัติให้บังเกิดผล (Gulf of execution) หรืออ่าวการประเมินผล (Gulf of
evaluation) ลักษณะของอ่าวดังกล่าวมีดังนี้
อ่าวการปฏิบัติให้บังเกิดผล
Gulfof execution
คือ ความแตกต่างระหว่างการกําหนดความตั้งใจของผู้ใช้เพื่อบรรลุถึง
เป้าหมาย (User's Formulation of Actions) และการกระทํานั้นจะถูก
อนุญาตให้ดําเนินการได้โดยระบบ (Actions Allowed by the System)
หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ มนุษย์ระบุขั้นตอนการทํางานแตกต่างจาก
คอมพิวเตอร์
อ่าวการประเมินผล
Gulfof evaluation
คือ ความแตกต่างระหว่างความคาดหวังของการ เปลี่ยนแปลงสถานะของระบบ
(User's Expectation of Changed System State) กับสถานะจริง ที่เกิดขึ้น
จากกาตอบสนองของระบบที่เป็นผลลัพธ์ (Actual Presentation of this
State) หรือ ความคาดหวังของผู้ใช้ในการเปลี่ยนแปลงสถานะของระบบ อาจ
แตกต่างจากสถานะที่กําลังแสดงผลอยู่ ณ ปัจจุบัน นั่นคือ สิ่งที่ผู้ใช้เห็นเป็น
ผลลัพธ์ อาจไม่ใช่สิ่งที่ผู้ใช้ต้องการจริงๆ หรืออีกนัยหนึ่งก็คือความ แตกต่าง
ระหว่างการประเมินผล คือ ผลที่ได้จากคอมพิวเตอร์แตกต่างจากสิ่งที่มนุษย์
คาดหวัง
ตัวอย่างเปรียบเทียบโมเดลกับการเปิดไฟ
เริ่มจากนั่งอ่านหนังสืออยู่และคิดว่าแสงไม่พอต้องการแสงเพิ่ม นั่นคือ
ขั้นตอนที่ 1
ผู้ใช้กําหนดเป้าหมาย คือการเพิ่มแสง
ขั้นตอนที่ 2
กําหนดความตั้งใจโดยการมองไปที่โคมไฟที่โต๊ะ
ขั้นตอนที่ 3
ระบุการกระทํากับส่วนต่อประสานของระบบไว้ โดยเอื้อมมือไปที่ปุ่มเปิดไฟ
หรือถ้าสถานการณ์ต่างออกไปโดยที่มีคนยืนใกล้โคมไฟมากกว่า อาจจะ
ขอให้เขาเปิดไฟให้
ขั้นตอนที่ 4
ลงมือปฏิบัติตามการกระทําที่ระบุไว้ ด้วยการกดปุ่มเปิดไฟ
ขั้นตอนที่ 5
รับรู้สถานะของระบบ สังเกตว่าไฟเปิดหรือไม่ ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของ
แต่ละคน
ขั้นตอนที่ 6
เข้าใจสถานะของระบบ แปลผลสถานะของระบบ ถ้าผลคือแสงสว่างที่ส่องมา
ไม่ได้ส่องมาทางที่ต้องการ หรืออาจจะไปหันโคมไฟมาทางที่ต้องการ หรือ
ถ้าไฟไม่ติด อาจจะไปตรวจสอบว่าเสียบปลั๊กหรือไม่ อาจจะกําหนด
เป้าหมายใหม่ คือการเสียบปลั้กไฟแล้วลองเปิดไฟอีกครั้ง
ขั้นตอนที่ 7
ประเมินค่าสถานะของระบบโดยสัมพันธ์กับเป้าหมาย เมื่อสองเสียบปลั๊กไฟ
แล้วลองเปิดไฟอีกครั้ง ผลลัพธ์ที่ได้เป็นอย่างไรโดยที่ประเมินเทียบกับ
เป้าหมายแรกที่ตั้งไว้คือการเพิ่ม แสงสว่างว่าได้แสงที่พอเทียงหรือไม่
แบบจําลองของนอร์แมน เน้นที่มุมมองจากผู้ใช้ระบบต่อการปฏิสัมพันธ์เท่านั้น
แต่ไม่ได้สนใจการสื่อสารของระบบผ่านทางส่วนประสานผู้ใช้ ส่วนขยายโมเดล
ของนอร์แมนที่ถูกเสนอโดยกรอบงานเอบาวต์และบีลล์ (Abowd and Beale
Framework) มี 4 ส่วน คือ ผู้ใช้ระบบ (U: User สิ่งรับเข้า (I Input) ระบบ (S:
System) และสิ่งนําออก (O. Output) แต่ละส่วนจะมีภาษาของตนเอง ซึ่งภาษาที่
ใช้ในระบบ เรียกว่า ภาษาหลัก (Core Language) และภาษาที่ผู้ใช้ระบบเรียกว่า
ภาษาภารกิจ (Task Language) ภาษาที่ใช้กับสิ่งนําเข้าและสิ่งนําออกเรียกว่า
ส่วนต่อประสาน (Interface) อีกนัยหนึ่ง ปฏิสัมพันธ์คือ การเปลี่ยนแปลงระว่าง
ภาษาทั้ง 4 ส่วน และปัญหาของปฏิสัมพันธ์คือปัญหาการเปลี่ยนแปลงนั่นเอง
กรอบงานของปฏิสัมพันธ์
TheInteractionFramework
S
core
U
Task
output
input
presentation observation
performance articulation
มีขั้นตอนดังนี้
กรอบของเอบาวด์และบีล
AbowdandBealeframework
ลงมือกระทําผ่าน
ส่วนต่อประสาน
TranslateintoActions
attheInterface
STEP
2
เลือกส่วนต่อประสานเพื่อ
เปลี่ยนสถานะของระบบ
TranslatedintoAlterations
of SystemState
STEP
3
ดูผลการกระทําที่แสดง
สิ่งนําออก
ReflectedintheOutput
Display
แปลผลโดยผู้ใช้
(InterpretedbytheUser)
STEP
4
ผู้ใช้ระบบมีความตั้งใจ
UserIntentions
STEP
1
ผู้ใช้ระบบเริ่มวงจรปฏิกิริยาโดยการตั้งใจสร้างสูตรความสําเร็จของเป้าหมายและเลือกงานหรือวิธีการที่ทําให้บรรลุ
เป้าหมายนั้น ทางเดียวที่ทําให้ผู้ใช้สามารถใช้งานเครื่องจักร/คอมพิวเตอร์อย่างเหมาะสม โดยผ่านทางสิ่งรับเข้า
(Input) เพราะฉะนั้นงานหรือวิธีการที่ใช้ให้สอดคล้องกับภาษา ของข้อมูลนําเข้า ซึ่งภาษาข้อมูลนําเข้าถูกแปลมาเป็น
ภาษาหลักของระบบเรียกว่า การกระทําหรือปฏิบัติ(Operation) แล้วระบบจะจบกระบวนการปฏิบัติงานให้บัง
เกิดผล (Execution)หลังจากนั้นจึงเริ่มกระบวนการประเมิน (Evaluation) โดยระบบจะเข้าสู่สถานะใหม่และเริ่ม
สื่อสารกับผู้ใช้โดยผ่านสิ่งนําออก (Output) และผู้ใช้จึงสังเกตผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ทางการนําเสนอ (Presentation)
กรณีที่ 1 ภารกิจ
Task
เพื่อบรรลุเป้าหมายต้องมีความสัมพันธ์กับข้อมูลนําเข้าเป็นอย่างดี เพื่อส่งผล
ให้กระบวนการทําให้สําเร็จของระบบเป็นประโยชน์สูงสุด เพราะถ้าไม่สัมพันธ์กัน
จะไม่เกิดผลสําเร็จ ตัวอย่างเช่น ในห้องใหญ่ๆ ห้องหนึ่งมีไฟบนเพดานเป็นแผง
ๆ ซึ่งควบคุมโดยแผงวงจรสวิตซ์ ที่ควบคุมไฟที่ติดอยู่บนฝาผนัง ซึ่งอาจจะไม่
สามารถทราบได้ว่าสวิตซ์ใตควบคุมไฟแผงไหน ถ้าต้องการเปิดไฟแผงหน้าห้อง
ถือเป็นเป้าหมาย (Goal) ที่ต้องทําให้สําเร็จ การกระทําที่เกิดขึ้นคือต้องลองเปิด
สวิตซ์ที่มีอยู่ทั้งหมดไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะพบว่าสวิตซ์ตควบคุมไฟแผงหน้าห้อง
กรณีที่ 2
ถ้าสร้างส่วนต่อประสานของข้อมูลนําเข้าสัมพันธ์กับภารกิจที่ทํา (Task)
เป็นอย่าง ดี (Good mapping) เช่น ระบบเสมือนจริง ซึ่งข้อมูลนําเข้าคือถุง
มือป้อนข้อมูล (Data grove) ผู้ใช้ สามารถส่งข้อมูลโดยใช้ถุงมือนี้คือส่วน
ต่อประสานการเคลื่อนไหวมือเป็นการป้อนข้อมูลโดยตรง เรียกว่า Direct
Manipulate Interface ตัวอย่าง คือ หน้าต่าง (Windows) ที่เป็น
ระบบปฏิบัติการ ซึ่งสามารถมองเห็นปฏิกิริยาที่เกิดจากข้อมูลนําเข้า
โดยตรงจากหน้าจอทันที
การมุ่งเน้นที่การออกแบบปฏิสัมพันธ์
ส่วนต่อประสานที่ใช้ในอุตสาหกรรม (Industrial Interface) แบบเก่าจะใช้ปุ่ม
หมุนหรือ ลูกบิด (Dial and Knobs) และจะเชื่อมโยงยังสายต่อหรือท่อที่ต่อไป
ยังอุปกรณ์โดยตรง ในสมัยใหม่ ส่วนต่อประสานแบบแก้ว (Glass Interface)
ปัจจุบันนี้ส่วนต่อประสานที่ใช้ในอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นการควบคุมผ่านทาง
หน้าจอและการกดปุ่มคล้ายแผงแป้นพิเศษ (Screens and Keypad) เป็นการ
แสดงส่วนต่อประสานที่ใช้ในอุตสาหกรรมที่เป็นการแสดงบนหน้าจอและมีการ
แสดงผลหลาย แบบ ทั้งแบบตัวเลขแบบรูปภาพ เป็นมาตราส่วน/สเกล (Scale)
เรียกว่า ส่วนต่อประสานที่ใช้แก้ว (Glass Interface)
113
Vessel B Temp
0 100 200
การมุ่งเน้นที่การออกแบบปฏิสัมพันธ์
คือ มีราคาถูกกว่า และมีความยืดหยุ่นมากกว่า
สามารถเลือกการแสดงผลได้หลายแบบได้ค่าที่
ชัดเจน
ข้อดี
คือ ไม่มีที่ตั้งที่แน่นอน ใช้ข้อความน้อยลง บางครั้ง
ขาดเนื้อหาที่สําคัญไป และส่วนต่อประสานมีความ
ซ้ําซ้อน
ข้อเสีย
การจัดการกับอุปกรณ์
โดยทางอ้อม
Indirectmanipulation
ในสํานักงาน ผู้ใช้งานระบบสามารถจัดการอุปกรณ์ที่เรา
สร้างขึ้น (Artificial) ด้วยปฏิสัมพันธ์ แบบการจัดการ
โดยตรง (Direct Manipulation) ในระบบอุตสาหกรรม
ผู้ใช้ระบบ สามารถจัดการกับอุปกรณ์ในโลกแห่งความเป็น
จริง (Real World) โดยทางอ้อม (Indirect Manipulation)
ฉะนั้นสิ่งที่ควรคํานึงถึงสําหรับการจัดการแบบไม่ใช่
โดยตรงผ่านทางส่วน ต่อประสานอาจเกิดการย้อนกลับ
และเกิดความล่าช้า
ระบบคอมพิวเตอร์เช่น
เครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ
อุปกรณ์ในสถานที่ทํางานจริง
เช่น ในโรงงาน
ส่วนต่อประสาน
รูปแบบปฏิสัมพันธ์
InteractionStyles
ส่วนต่อประสาน
คอมมานด์ไลน์
Commandlineinterface
รายการเลือก
Menu
ภาษาธรรมชาติ
NatureLanguage
ส่วนต่อประสาน
แบบสอบถาม
QueryInterface
ฟอร์มให้เต็ม
Form-fill
ตารางคํานวณ
Spreadsheets
ส่วนต่อประสานแบบ
การชี้และคลิก
PointandclickInterfaces
ส่วนต่อประสาน
แบบวิมป์
WIMPInterface
รูปแบบปฏิสัมพันธ์
InteractionStyles
ส่วนต่อประสาน
แบบ 3 มิติ
Three-dimensionalInterfaces
ส่วนต่อประสานคอมมานด์ไลน์
Commandlineinterface
เป็นอินเตอร์เฟสแบบบรรทัดคําสั่ง เป็นวิธีที่สามารถแสดงคําสั่งให้
คอมพิวเตอร์ทํางานตามคําสั่งโดยตรง เป็นส่วนต่อประสานแบบแรกที่
เกิดขึ้น ประกอบด้วยแป้นพิมพ์ฟังก์ชันอักษรเดี่ยว คําย่อ คําเต็ม หรือคํา
ย่อแล คําเต็มผสมกัน เหมาะกับงานที่ต้องทําซ้ํา ๆ เหมาะกับผู้ใช้ที่มีความ
ชํานาญมากกว่าคนทั่วไป เข้าถึงการทํางานของฟังก์ชันในระบบโดยตรง
คําสั่งและตัวย่อทุกตัวมีความหมาย
ส่วนต่อประสานคอมมานด์ไลน์
Commandlineinterface
คือ เป็นการเข้าถึง ระบบได้รวดเร็วและตรงที่สุด ทั้ง
ยังสามารถใช้คําสั่งลัดให้ระบบทํางานที่ ๆ ได้ดีเช่น
การเปลี่ยนชื่อไฟล์ให้ขึ้นต้นด้วยตัวอักษรเดียวกัน
1,000 ไฟล์ในคําสั่งเดียว
ข้อดี
คือ การเรียนรู้คําสั่งทําได้ยาก กว่าอินเทอร์เฟส
ประเภทอื่นตัวอย่างระบบปฏิบัติการที่ใช้อยู่คือ
ระบบยูนิกซ์ (UNIX System) ดอส (DOS) บน
ระบบปฏิบัติการวินโดว์
ข้อเสีย
เป็นกลุ่มหรือเซตของทางเลือกที่แสดงบนหน้าจอ ง่ายต่อการเรียกใช้ และ
ทํา ให้จําได้ง่าย และควรตั้งชื่อให้มีความหมายง่ายต่อการเลือกใช้ รูปแบบ
ปฏิสัมพันธ์แบบนี้ มีตัวเลือกให้ผู้ใช้ตัดสินใจบนจอภาพ โดยใช้อุปกรณ์เช่น
เมาส์ คีย์บอร์ด ปุ่มตัวเลขหรือตัวอักษร ดังนั้นตัวเลือกจะต้องเป็นที่เข้าใจ
ง่ายและไม่คลุมเครือ
รายการเลือก
Menu
ถือว่าเป็นภาษาที่คุ้นเคยสําหรับผู้ใช้ เพราะเกี่ยวข้องกับภาษาที่ใช้อยู่ประจําวัน
เช่น ตัวพิมพ์ตามภาษานั้น ๆ หรือการส่งระบบโดยการใช้เสียงพูด ธรรมชาติ
ของคน แต่อาจทําให้เกิดปัญหาเรื่องความคลุมเครือของเสียง เพราะผู้ใช้แต่ละ
คนอาจออกเสียงไม่เหมือนกัน ระบบปัจจุบันที่ใช้ภาษาแบบธรรมชาตินี้จะ
กําหนดขอบเขตการใช้ ภาษาของผู้ใช้ระบบโดยระบบอาจจะถามคําถามเพื่อให้
ผู้ใช้ตอบสั้นๆ เช่น ใช่ ไม่ใช่ เป็นต้น เพื่อให้ง่ายกับระบบในการเข้าใจการโต้ตอบ
ภาษาธรรมชาติ
NatureLanguage
เป็นส่วนต่อประสานแบบถามตอบ (Question/Answer Interfaces) มี
ลักษณะ เช่น ผู้ใช้จะนําปฏิสัมพันธ์ผ่านทางชุดของคําถาม เหมาะกับผู้ใช้ที่
ไม่ค่อยมีประสบการณ์แต่รู้ฟังก์ชันการทํางาน ใช้มากกับระบบการจัดการ
สารสนเทศ ภาษา สอบถาม(Query Language) ใช้ในการเรียกข้อมูลจาก
ฐานข้อมูล ซึ่งเหมาะกับผู้ที่มีความชํานาญ
ส่วนต่อประสานแบบสอบถาม
QueryInterface
เป็นปฏิสัมพันธ์ที่มีลักษณะการรับเข้า - นําออกข้อมูล ส่วนใหญ่จะเลียน
แบหน้าจอรับข้อมูลให้เหมือนกับฟอร์มกระดาษที่ผู้ใช้คุ้นเคย ควร
ออกแบบให้มีความยืดหยุ่นในการนําเข้าข้อมูล มีตัวช่วยในการเติมข้อมูล
ที่เหมาะสมกับช่องว่างที่ให้กรอก
ฟอร์มให้เต็ม
Form-fill
ตารางคํานวณ
Spreadsheets
มีลักษณะเป็นตารางซึ่งแบ่งออกเป็นเซลล์ แต่ละเซลล์จะบรรจุค่าหรือสูตร
คํานวณ ซึ่งสูตรคํานวณสามารถนําค่าจากเซลล์อื่นๆ มาคํานวณได้ ผู้ใช้
สามารถป้อนข้อมูลหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลบน Spreadsheets ได้
WIMP ย่อมาจาก Windows Icons Menus and Pointers (หรือ Windows
Icons Mice and Pull-down menus) เป็นรูปแบบส่วนต่อประสานที่มีอยู่ใน
ระบบคอมพิวเตอร์ที่มีการปฏิสัมพันธ์เฉพาะกับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วน
บุคคล ส่วนต่อประสานที่คุ้นเคยกันมากที่สุด เช่น โปรแกรมระบบปฏิบัติการ
(Operating System) ไม่ว่าจะ เป็น Windows, Mac OS หรืออื่น ๆ ที่
ประกอบด้วยหน้าต่างโปรแกรม ไอคอนรูปต่างๆ เมนูสําหรับการทํางานและ
ลูกศรที่ใช้เมาส์เลื่อนเพราะง่ายในการควบคุมและใช้งาน
ส่วนต่อประสานแบบวิมป์
WIMPInterface
เป็นส่วนต่อประสานโดยการให้คลิกเพื่อทํางาน ผู้ใช้ระบบเพียงแค่ใช้เมาส์ชี้ที่
บริเวณที่ต้องการสั่งระบบ แล้วคลิก เช่น การคลิก link ในเว็บไซต์ นิยมใช้กับ
ระบบ Multimedia web browsers และ Hypertext เช่น ชี้ไปที่แผนที่เมือง
พัทยา พอคลิกแล้วระบบจะเปิดหน้าต่างเพื่อแสดงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเมือง
พัทยา ส่วนต่อประสานและคลิกนี้จะไม่ยึดติดกับ Mouse-based interface
อาจใช้กับ Touch screen ก็ ได้ ซึ่งช่วยลดการพิมพ์ลง นิยมใช้มากใน
Navigation ผ่านเว็บเพจ
ส่วนต่อประสานแบบการชี้และคลิก
Pointand clickInterfaces
ใช้กับระบบความเป็นจริงเสมือน การใช้เทคนิคแบบ 3 มิติ อาจจะใช้เนื้อที่มาก
ขึ้นโดยใช้แสงและสีเน้นให้เกิดมิติขึ้น ทําให้เกิดระยะทางขึ้น สมจริงมากขึ้น เริ่มมี
การใช้ส่วนต่อประสานแบบสามมิติกันมากขึ้น ที่เห็นได้ชัดก็คือระบบเวอร์ชวล
เรียลริตี้ (Virtual Reality: VR) ที่ทําให้ผู้ใช้ระบบรู้สึกเสมือนว่าส่วนต่อประสาน
มีความลีกความหนา
ส่วนต่อประสานแบบ 3 มิติ
Three-dimensionalInterfaces

Contenu connexe

Tendances

ประสบการณ์ผู้ใช้ / ส่วนต่อประสานงานกับผู้ใช้ / ปฏิสัมพันธ์ / การตอบสนอง (UX /...
ประสบการณ์ผู้ใช้ / ส่วนต่อประสานงานกับผู้ใช้ / ปฏิสัมพันธ์ / การตอบสนอง (UX /...ประสบการณ์ผู้ใช้ / ส่วนต่อประสานงานกับผู้ใช้ / ปฏิสัมพันธ์ / การตอบสนอง (UX /...
ประสบการณ์ผู้ใช้ / ส่วนต่อประสานงานกับผู้ใช้ / ปฏิสัมพันธ์ / การตอบสนอง (UX /...
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
suparada
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

Tendances (20)

การออกแบบ UX UI สำหรับโมบายแอพพลิเคชั่น (UI UX DESIGN FOR MOBILE APP)
การออกแบบ UX UI สำหรับโมบายแอพพลิเคชั่น (UI UX DESIGN FOR MOBILE APP)การออกแบบ UX UI สำหรับโมบายแอพพลิเคชั่น (UI UX DESIGN FOR MOBILE APP)
การออกแบบ UX UI สำหรับโมบายแอพพลิเคชั่น (UI UX DESIGN FOR MOBILE APP)
 
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
 
การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)
การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)
การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)
 
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
 
ประสบการณ์ผู้ใช้ / ส่วนต่อประสานงานกับผู้ใช้ / ปฏิสัมพันธ์ / การตอบสนอง (UX /...
ประสบการณ์ผู้ใช้ / ส่วนต่อประสานงานกับผู้ใช้ / ปฏิสัมพันธ์ / การตอบสนอง (UX /...ประสบการณ์ผู้ใช้ / ส่วนต่อประสานงานกับผู้ใช้ / ปฏิสัมพันธ์ / การตอบสนอง (UX /...
ประสบการณ์ผู้ใช้ / ส่วนต่อประสานงานกับผู้ใช้ / ปฏิสัมพันธ์ / การตอบสนอง (UX /...
 
การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface Testing)
การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface Testing)การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface Testing)
การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface Testing)
 
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
 
หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)
หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)
หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
 
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
 
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
 
แนะนำโปรแกรม Adobe Photoshop
แนะนำโปรแกรม Adobe Photoshopแนะนำโปรแกรม Adobe Photoshop
แนะนำโปรแกรม Adobe Photoshop
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
 
Digital Disruption กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
Digital Disruption  กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next NormalDigital Disruption  กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
Digital Disruption กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 

Similaire à การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)

Ict300_2_edit
Ict300_2_editIct300_2_edit
Ict300_2_edit
Nicemooon
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
jamiezaa123
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
cartoon656
 
ระบบปฏิบัติการใหม่
ระบบปฏิบัติการใหม่ระบบปฏิบัติการใหม่
ระบบปฏิบัติการใหม่
mas15540
 
ระบบปฏิบัติการใหม่
ระบบปฏิบัติการใหม่ระบบปฏิบัติการใหม่
ระบบปฏิบัติการใหม่
mas15540
 
ใบงานที่7 การประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่7 การประยุกต์ใช้งานใบงานที่7 การประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่7 การประยุกต์ใช้งาน
Krittamook Sansumdang
 
งานคอมค
งานคอมค  งานคอมค
งานคอมค
Kaka619
 
งานคู่ใบงานที่ 2-16 เลขที่ 4,23
งานคู่ใบงานที่ 2-16 เลขที่ 4,23งานคู่ใบงานที่ 2-16 เลขที่ 4,23
งานคู่ใบงานที่ 2-16 เลขที่ 4,23
B'Benz Gorgee
 
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการโครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
peepee kullabut
 

Similaire à การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model) (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
Ict300_2_edit
Ict300_2_editIct300_2_edit
Ict300_2_edit
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
งานอ.รัฐพล
งานอ.รัฐพลงานอ.รัฐพล
งานอ.รัฐพล
 
User experience design
User experience designUser experience design
User experience design
 
K2
K2K2
K2
 
กิจกรรม 3
กิจกรรม 3กิจกรรม 3
กิจกรรม 3
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ระบบปฏิบัติการใหม่
ระบบปฏิบัติการใหม่ระบบปฏิบัติการใหม่
ระบบปฏิบัติการใหม่
 
ระบบปฏิบัติการใหม่
ระบบปฏิบัติการใหม่ระบบปฏิบัติการใหม่
ระบบปฏิบัติการใหม่
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
ใบงานที่7 การประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่7 การประยุกต์ใช้งานใบงานที่7 การประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่7 การประยุกต์ใช้งาน
 
งานคอมค
งานคอมค  งานคอมค
งานคอมค
 
งานคู่ใบงานที่ 2-16 เลขที่ 4,23
งานคู่ใบงานที่ 2-16 เลขที่ 4,23งานคู่ใบงานที่ 2-16 เลขที่ 4,23
งานคู่ใบงานที่ 2-16 เลขที่ 4,23
 
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการโครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 

Plus de Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai

การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

Plus de Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai (20)

ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
 
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
 

การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)