SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  67
สื่อการเรียนรู้ (Learning Media)
สื่อ (Media) หมายถึง สื่อหรือการติดต่อให้ถึงกันผ่าน
ช่องทางใดช่องทางหนึ่ง โดยสื่อจะอยู่ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น
สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อดิจิทัล และสื่อธรรมชาติ
สื่อ (Media)
NEXT
สื่อการเรียนรู้ (Learning Media)
การเปลี่ยนแปลงของบุคคล อันเป็นผลมาจาก
ประสบการณ์และการฝึกฝน เปลี่ยนจากไม่รู้เป็นรู้
เปลี่ยนจากทาไม่ได้เป็นทาได้ อาจเกิดขึ้นพร้อมกันทั้ง
สองอย่าง หรืออย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้
การเรียนรู้ (Learning)
NEXT
สื่อการเรียนรู้ (Learning Media)
ตัวกลางหรือช่องทางในการถ่ายทอดความรู้ ทักษะ
และประสบการณ์ ไปสู่บุคคลให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
จากการไม่รู้เป็นรู้ หรือทาไม่ได้เป็นทาได้
NEXT
สื่อการเรียนรู้จึงหมายถึง
องค์ประกอบของสื่อ
ตัวอักษร
Text
ภาพนิ่ง
Still Image
ภาพเคลื่อนไหว
Animation
วิดีโอ
Video
เสียง
Sound
Infographic
Video | Documentary | Motion Graphic
Website
E-Book | Digital Book
Interactive Media
New Media | AR | VR | MR | Metaverse
รูปแบบของสื่อ
รูปแบบของสื่อ
Infographic
อินโฟกราฟิกเป็นการนาข้อมูลมาสรุปเป็นสารสนเทศ ในลักษณะของกราฟิก เพื่อสื่อความหมายที่เข้าใจง่าย ตรงตามที่ผู้สื่อสาร
ต้องการ ทาให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจข้อมูลต่างๆ ได้ง่ายในระยะเวลาสั้นๆ
รูปแบบของสื่อ
Video
วิดีโอเป็นสื่อการเรียนรู้ที่ให้ข้อมูลได้มากกว่าภาพนิ่ง วิดีโอที่ให้ข้อมูลความรู้ได้ดี มักจะถูกสรุปให้เข้าใจข้อมูลจานวนมากได้ง่าย มี
ความยาวที่พอเหมาะ
รูปแบบของสื่อ
Website
เว็บไซต์เป็นสื่อที่เข้าถึงได้ง่าย สามารถเปิดได้กับคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต และสมาร์ทโฟน สามารถให้ข้อมูลได้จานวนมาก สะดวกใน
การสืบค้นข้อมูล
รูปแบบของสื่อ
E-Book / Digital Book
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์หรือหนังสือดิจิทัล เป็นการนาหนังสือที่อยู่ในรูปแบบกระดาษมานาเสนอในรูปแบบสื่อดิจิทัล สามารถให้ข้อมูล
ได้ง่าย บางครั้งอาจมีการปฏิสัมพันธ์ด้วย สามารถเปิดได้ในคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต และสมาร์ทโฟน
รูปแบบของสื่อ
Interactive Media
สื่อปฏิสัมพันธ์เป็นสื่อที่รวมเอาข้อดีของข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว วิดีโอ และเสียง เข้าไว้ด้วยกัน ทาให้ผู้รับชมสื่อได้ข้อมูล
ได้มากและน่าสนใจ มีการโต้ตอบระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ สามารถทาแบบทดสอบประมวลผลคะแนนได้ทันที
รูปแบบของสื่อ
New Media
สื่อการเรียนรู้สมัยใหม่ เป็นสื่อการเรียนรู้ที่ผู้รับชมสื่อได้รับประสบการณ์การเรียนรู้ในรูปแบบใหม่ ทาให้เกิดการเรียนรู้และการ
จดจาเนื้อหาได้ดีกว่าสื่อรูปแบบเดิม มีการผสมผสานการปฏิสัมพันธ์กับผู้รับชมสื่อได้ด้วย เช่น Augmented Reality (AR),
Virtual Reality (VR), Mixed Reality (MR) และ Metaverse
รูปแบบของสื่อ
Augmented Reality (AR)
เป็นเทคโนโลยีที่ผสมผสานระหว่างโลกของ
ความจริง (Real World) เข้ากับโลกเสมือน
(Virtual World) โดยใช้วิธีซ้อนภาพในโลก
เสมือนไว้บนภาพในโลกความเป็นจริง ผ่าน
อุปกรณ์ดิจิทัล เพื่อให้เห็นภาพเสมือนอยู่ใน
สภาพแวดล้อมจริง
รูปแบบของสื่อ
Virtual Reality (VR)
เป็นเทคโนโลยีที่ใช้จาลองสถานที่และสภาพแวดล้อมด้วย
คอมพิวเตอร์ ผู้ใช้งานจะได้รับประสบการณ์เสมือนผ่าน
แว่นตาดิจิทัลโดยตัดขาดจากโลกจริง อีกทั้งยังสามารถ
ตอบสนองสิ่งต่างๆ รอบตัวได้ด้วย Controller เพื่อเพิ่ม
ประสบการณ์การเดินทางที่สมจริงมากยิ่งขึ้น
รูปแบบของสื่อ
Metaverse
จักรวาลนฤมิตหรือเมตาเวิร์ส (Metaverse) เป็นเทคโนโลยีสุดล้าที่จาลองโลกเสมือนจริงเพื่อให้ผู้คนสามารถสื่อสาร ทากิจกรรม
และมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกันอย่างไร้ขอบเขตในโลกดิจิทัล เป็นชุมชนโลกเสมือนจริงบนเทคโนโลยีคลาวด์ ผู้ใช้สามารถเชื่อมต่อกันผ่าน
คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต สมาร์ทโฟน และแว่นตาดิจิทัลได้
คุณลักษณะของสื่อเพื่อการเรียนรู้
• สนองความต้องการในการเรียนรู้ด้วยตนเองได้
• ความสะดวกสาหรับการเรียนด้วยตนเอง
• การออกแบบกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
NEXT
คุณลักษณะของสื่อเพื่อการเรียนรู้
สามารถสนองความต้องการในการเรียนด้วยตนเองได้
• การยืดหยุ่นในเรื่องเวลา
• มีอิสระในการเลือกสถานที่เรียน
• การมีอิสระในการเลือกเนื้อหาและการเรียน
• การวินิจฉัย การเรียนซ่อมเสริม และการยกเว้น
• การมีอิสระในการเลือกรูปแบบการเรียน
คุณลักษณะของสื่อเพื่อการเรียนรู้
ความสะดวกสาหรับการเรียนด้วยตนเอง
• มีวิธีการใช้งานง่าย เปิดโอกาสให้เลือกเรียนรู้อย่างอิสระ
• มีความสมบูรณ์ในตัวเอง สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองตั้งแต่ต้นจนจบ
• มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้รับชมสื่อกับคอมพิวเตอร์
• มีการสื่อสารที่ดีระหว่างบทเรียนกับผู้เรียน โดยผู้เรียนต้องรู้ว่ากาลังทาอะไร
• สื่อพกพาได้ง่าย เปิดได้ทุกแพล็ตฟอร์ม
คุณลักษณะของสื่อเพื่อการเรียนรู้
การออกแบบกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
• การนาเข้าสู่เนื้อหา >> แสดงให้เห็นความคิดรวบยอด และสร้างความสนใจ
• การนาเสนอเนื้อหา >> ออกแบบสื่อและเนื้อหาอย่างเหมาะสมลงตัว
• การเสริมความเข้าใจ >> มีกิจกรรม เกม หรือแบบฝึกหัด
• การสรุปเนื้อหา >> สรุปประเด็นสาคัญ และทบทวนบทเรียน
• การทดสอบหลังรับชมสื่อ >> เพื่อวัดความรู้ความเข้าใจ
ขั้นตอนการพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้
ขั้นวิเคราะห์
Analysis
ขั้นออกแบบ
Design
ขั้นการพัฒนา
Development
ขั้นการนาเสนอเนื้อหา
Implementation
ขั้นประเมินผล
Evaluation
ขั้นตอนการพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้
ขั้นวิเคราะห์
Analysis
เป็นขั้นตอนของการระดมสมองเพื่อคิดเนื้อหา และจัดลาดับของเนื้อหา
ขั้นวิเคราะห์ (Analysis)
ขั้นออกแบบ
Design
ขั้นตอนการพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้
เป็นการกาหนดวิธีการนาเสนอ ว่าจะนาเสนอสื่อในรูปแบบใด ใช้สื่อมัลติมีเดียอะไรประกอบ
บ้าง และกาหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมให้เหมาะสมกับเนื้อหา โดยแสดงถึงพฤติกรรมที่
วัดได้
ขั้นออกแบบ (Design)
อธิบาย บอก เขียน ทา วาด คาเหล่านี้แสดงถึงการแสดงออก
จา คิด เข้าใจ รู้สึก คาเหล่านี้วัดไม่ได้ว่าจริงหรือไม่
ขั้นการพัฒนา
Development
ขั้นตอนการพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้
เป็นการเขียนรายละเอียดเนื้อหา และจัดลาดับเนื้อหา แล้วนาเนื้อหาไปตรวจสอบความถูกต้อง
ของเนื้อหา และสร้างแบบทดสอบวัดความรู้ความเข้าใจ
ขั้นการพัฒนา (Development)
ขั้นการพัฒนา
Development
ขั้นตอนการพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพด้านเนื้อหา จะต้องให้ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา ยกตัวอย่างประเด็นดังนี้
ขั้นการพัฒนา (Development)
• เนื้อหาตรงกับวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้
• เนื้อหาที่นาเสนอครอบคลุมกับวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้
• ความถูกต้องของเนื้อหา
• ความทันสมัยของเนื้อหา
• เนื้อหามีความเข้าใจง่าย
• ภาพประกอบมีความสอดคล้องกับเนื้อหา
• การจัดลาดับของเนื้อหา
• ปริมาณของเนื้อหา
• ความชัดเจนในการอธิบายเนื้อหา
• การใช้ภาษาถูกต้อง เหมาะสมกับกลุ่มตัวอย่าง
ขั้นการพัฒนา
Development
ขั้นตอนการพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้
เมื่อเนื้อหามีคุณภาพแล้ว จึงสร้าง
แบบทดสอบวัดความรู้ความเข้าใจ โดย
แบ่งออกเป็น 2 ชุด ได้แก่ ก่อนรับชมสื่อ
และหลังรับชมสื่อ
ขั้นการพัฒนา (Development)
เอาวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมมาตั้งต้น
แล้วสร้างชุดคาถามเพื่อให้มั่นใจว่าวัด
ความรู้ความเข้าใจได้ครบทุก
วัตถุประสงค์
ขั้นการนาเสนอเนื้อหา
Implementation
ขั้นตอนการพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้
เลือกโปรแกรมที่ใช้นาเสนอเนื้อหา จัดทาสื่อประกอบ ไม่ว่าจะเป็นเนื้อหา กราฟิก ภาพนิ่ง
ภาพเคลื่อนไหว วิดีโอ และเสียง แล้วนามาประกอบกันในโปรแกรม
ขั้นการนาเสนอเนื้อหา (Implementation)
โปรแกรมที่ใช้แบ่งออกเป็น
2 ประเภท
โปรแกรมผลิตสื่อประกอบ
โปรแกรมผลิตสื่อการเรียนรู้
ขั้นการนาเสนอเนื้อหา
Implementation
ขั้นตอนการพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้
ขั้นการนาเสนอเนื้อหา (Implementation)
ขั้นประเมินผล
Evaluation
ขั้นตอนการพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้
ขั้นประเมินผล (Evaluation)
การตรวจสอบคุณภาพสื่อ จะต้องให้ผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อมัลติมีเดีย แบ่งออกเป็นด้านดังนี้
• ด้านเนื้อหาในสื่อการเรียนรู้
• ด้านตัวอักษร
• ด้านภาพประกอบ
• ด้านเสียง
• ด้านการเคลื่อนไหว
ขั้นประเมินผล
Evaluation
ขั้นตอนการพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้
ขั้นประเมินผล (Evaluation)
การทดสอบหาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้
Epre =
σ x
n
A × 100
Epost =
σ x
n
B
× 100
Epre คือ ผลการทดสอบก่อนรับชมสื่อ
Epost คือ ผลการทดสอบหลังรับชมสื่อ
x คือ ผลรวมคะแนนของแบบทดสอบ
n คือ จานวนผู้ทาแบบทดสอบ
A คือ คะแนนเต็มของแบบทดสอบก่อนรับชมสื่อ
B คือ คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังรับชมสื่อ
ขั้นประเมินผล
Evaluation
ขั้นตอนการพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้
ขั้นประเมินผล (Evaluation)
จะต้องกาหนดค่าความแปรปรวนไว้ ±2.5% เป็นระดับที่เหมาะสม
• มากกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 2.5% >> สูงกว่าเกณฑ์
• มากกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ แต่ไม่เกิน 2.5% >> เท่าเกณฑ์ที่กาหนด
• น้อยกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ แต่ไม่เกิน 2.5% >> ต่ากว่าเกณฑ์แต่ยอมรับได้
• น้อยกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ มากกว่า 2.5% >> ต่ากว่าเกณฑ์ใช้ไม่ได้
เทคนิคในการออกแบบหน้าจอ
การออกแบบหน้าแรก
เป็นหน้าจอแรกที่ผู้รับชมสื่อเห็น ดังนั้นต้อง
ออกแบบกราฟิกให้น่าสนใจ จัดวางปุ่มต่างๆ ไว้
ตามหลัก UX/UI
เทคนิคในการออกแบบหน้าจอ
หน้าเมนูเนื้อหา
เมื่อคลิกเข้าสู่เนื้อหา ผู้รับชมสื่อจะเลือกหน่วย
การเรียนรู้ ควรออกแบบให้น่าสนใจ วางปุ่มให้
เลือกคลิกได้ง่าย
เข้ามาจากหน้าแรกได้ ต้องกลับหน้าแรกได้
ปุ่มที่ยังไม่จาเป็นต้องกดให้จางไว้ก่อน
เทคนิคในการออกแบบหน้าจอ
หน้าเมนูหัวข้อย่อย
หน่วยการเรียนรู้แต่ละหน่วยมักจะมีหัวข้อย่อย
ให้จัดวางปุ่มเพื่อเลือกเนื้อหาย่อยได้ง่าย
หากผู้ใช้ต้องกลับหน้าแรก ต้องกลับได้
ปุ่มที่ยังไม่จาเป็นต้องกดให้จางไว้ก่อน
มาจากหน้าเมนูได้ ต้องกลับหน้าเมนูได้
เทคนิคในการออกแบบหน้าจอ
หน้าแรกของเนื้อหา
หน้าแรกของเนื้อหา แปลว่ายังไม่มีเนื้อหาก่อนหน้า
จึงมีเฉพาะปุ่ม Next ส่วนปุ่ม Back จางไว้ก่อน
ปุ่มที่ยังไม่จาเป็นต้องกดให้จางไว้ก่อน
เทคนิคในการออกแบบหน้าจอ
หน้ากลางของเนื้อหา
หน้านี้จะต้องคลิก Back เพื่อย้อนกลับไปดูเนื้อหา
ก่อนหน้าได้ และคลิก Next ไปดูเนื้อหาถัดไปได้
ต้องกดได้ทุกปุ่ม
เทคนิคในการออกแบบหน้าจอ
หน้าสุดท้ายของเนื้อหา
หน้านี้จะต้องคลิก Back เพื่อย้อนกลับไปดูเนื้อหา
ก่อนหน้าได้ แต่ปุ่ม Next จางไว้ เนื่องจาก UX
ของผู้ใช้จะเข้าใจว่าหมดเนื้อหาแล้ว
ปุ่มที่ยังไม่จาเป็นต้องกดให้จางไว้ก่อน
เทคนิคในการออกแบบหน้าจอ
หน้าเนื้อหามีหน้าเดียว
ถ้าเนื้อหามีหน้าเดียว ก็เพียงแค่ทาปุ่ม Next กับ
Back จางไว้ เพื่อบอกผู้ใช้ว่าเนื้อหามีหน้าเดียว ดู
เสร็จแล้วก็กลับไปเลือกเนื้อหาใหม่
ปุ่มที่ยังไม่จาเป็นต้องกดให้จางไว้ก่อน
ความละเอียดหน้าจอ
1366 x 768
1920 x 1080
1600 x 900
1920 x 1080
800 x 1280
768 x 1024
480 x 800
เราควรศึกษาหน้าจอแต่ละอุปกรณ์ก่อน ว่าเราจะ
นาไปใช้กับอุปกรณ์ใดเป็นหลัก เพื่อให้ได้การ
แสดงผลที่สมบูรณ์ แต่ปัจจุบันหน้าจอมีขนาดที่
หลากหลาย ดังนั้นควรยึดหลัก Responsive
NEXT
ความละเอียดหน้าจอ
หน้าจอคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ
ให้ยึดหน้าจอที่ความละเอียดน้อยกว่าเป็นหลัก
ส่วนใหญ่มีความละเอียด 1920 x 1080 แต่ตอน
สร้างสื่อต้องคานึงถึงหน้าจอรุ่นเก่า เช่น
1600 x 900 และ 1366 x 768
ความละเอียดหน้าจอ
หน้าจอคอมพิวเตอร์พกพา
ส่วนใหญ่มีความละเอียด 1920 x 1080 แต่ตอน
สร้างสื่อต้องคานึงถึงหน้าจอรุ่นเก่า เช่น
1600 x 900 และ 1366 x 768
ให้ยึดหน้าจอที่ความละเอียดน้อยกว่าเป็นหลัก
ความละเอียดหน้าจอ
หน้าจอแท็บเล็ตและสมาร์ทโฟน
มีความละเอียดหน้าจอหลายรูปแบบมาก ไม่มี
มาตรฐานชัดเจน
ควรยึดหลัก Responsive ให้รองรับทุกขนาดหน้าจอ
ความละเอียดหน้าจอ
ขนาดหน้าจอของสื่อการเรียนรู้ที่เหมาะสม
เมื่อเลือกความละเอียดหน้าจอได้แล้ว ให้คานึงถึง
ส่วนประกอบของหน้าจอที่จะถูกหักลบออกไป ทาให้
ความละเอียดหน้าจอของสื่อต้องลดลงไม่เกินพื้นที่
ที่หน้าจอแสดงผลได้
40 px
1366 px
768 px 768 – 40 – 25 = 703 px
25 px
ความละเอียดหน้าจอ
ขนาดหน้าจอของสื่อการเรียนรู้ที่เหมาะสม
ถ้านาสื่อการเรียนรู้ไปใช้กับระบบ LMS อย่างเช่น Moodle จะมี Panel
ด้านซ้ายหรือขวา ทาให้พื้นที่ในการแสดงผลแคบลง ขึ้นอยู่กับ Theme
ที่เลือกใช้ ดังนั้นควรออกแบบสื่อให้ Responsive ได้ แนะนาให้สั่งเปิดใน
แท็บใหม่เพื่อการแสดงผลที่สมบูรณ์
สิ่งที่ต้องเตรียมพร้อมสาหรับการสร้างสื่อ
• Windows 10 / Windows 11 (64-bit)
• ความละเอียดจอ 1600 x 900 / 1920 x 1080 px ขึ้นไป
• แรม 8 GB ขึ้นไป (แนะนา 16 GB)
• เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้
• สาคัญต้องเตรียมเนื้อหา องค์ประกอบให้พร้อม อย่าทาไปหาไป
แหล่งโหลดภาพประกอบฟรี
vector4free.com freevectors.net vexels.com
pixabay.com freepik.com Flaticon.com
แนะนาโปรแกรมสาหรับสร้างสื่อการเรียนรู้
Adobe Illustrator
เป็นโปรแกรมสร้างงานกราฟิก นิยม
นามาใช้สร้างภาพประกอบเนื้อหา และ
ใช้สร้างสื่ออินโฟกราฟิก
แนะนาโปรแกรมสาหรับสร้างสื่อการเรียนรู้
Adobe After Effects
เป็นโปรแกรมสาหรับสร้างภาพเคลื่อนไหว
นิยมใช้สร้างสื่อการเรียนรู้ในรูปแบบ
ภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
แนะนาโปรแกรมสาหรับสร้างสื่อการเรียนรู้
Camtasia Studio
โปรแกรม Camtasia เป็นโปรแกรมสาหรับบันทึกภาพ
หน้าจอแบบเคลื่อนไหว สามารถตัดต่อวิดีโอ แทรก
เสียง แทรกเพลง และใส่เอฟเฟกต์ต่างๆ เพื่อเพิ่ม
ความน่าสนใจให้กับวิดีโอที่สร้างขึ้น ผู้ใช้สามารถใช้
งานได้ง่าย และได้สื่อที่มีคุณภาพ
แนะนาโปรแกรมสาหรับสร้างสื่อการเรียนรู้
WordPress
เว็บไซต์เปรียบเสมือนบ้านออนไลน์ที่เป็นมิตรกับ SEO มาก
ที่สุด เป็นที่ที่ทาให้สื่อการเรียนรู้ของเรามีตัวตน WordPress
เป็นเครื่องมือที่ใช้งานง่าย และสามารถติด TAG เพื่อให้
Search Engine ค้นเจอได้ง่าย
แนะนาโปรแกรมสาหรับสร้างสื่อการเรียนรู้
Google Sites
เป็นโปรแกรมสร้างเว็บไซต์ได้ง่ายและฟรีผ่านเบราว์เซอร์ โดย
ไม่จาเป็นต้องรู้ภาษาเขียนเว็บ สามารถนาสื่อต่างๆ มาจัดวาง
ให้สวยงาม ผู้ใช้เพียงมีบัญชีกูเกิ้ลก็สามารถลงชื่อเข้าใช้งาน
ได้ทันที
แนะนาโปรแกรมสาหรับสร้างสื่อการเรียนรู้
PowerPoint
PowerPoint เป็นโปรแกรมที่สร้างสื่อการเรียนรู้ได้ง่ายที่สุด แต่ต้องต่อยอดไปยัง SlideShare หรือช่องทางออนไลน์อื่นๆ แล้ว
ผูกเข้ากับ Social Media
+ + + = ปัง
แนะนาโปรแกรมสาหรับสร้างสื่อการเรียนรู้
ePage Creater
เป็นโปรแกรมสร้างหนังสือดิจิทัลให้อยู่ในรูปแบบ HTML5 สามารถนาไป Publish และเปิดได้ทุกแพล็ตฟอร์ม ทั้ง Windows, Mac,
iOS และ Android
แนะนาโปรแกรมสาหรับสร้างสื่อการเรียนรู้
Adobe Captivate
เป็นโปรแกรมสาหรับสร้างสื่อการเรียนรู้ดิจิทัลที่มีความสามารถหลายด้าน สร้างเนื้อหา สร้างการปฏิสัมพันธ์ สร้างแบบทดสอบ
ประมวลผลคะแนนได้ทันที บันทึกภาพหน้าจอแบบเคลื่อนไหวได้ และเวอร์ชั่นใหม่สามารถทา VR ได้ด้วย
แนะนาโปรแกรมสาหรับสร้างสื่อการเรียนรู้
Unity + Vuforia
เป็นโปรแกรมสาหรับสร้างสื่อการเรียนรู้ที่อยู่ในรูปแบบของสื่อใหม่อย่างเทคโนโลยีความจริงเสริม (Augmented Reality : AR)
แนะนาโปรแกรมสาหรับสร้างสื่อการเรียนรู้
Vidinoti
เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้สาหรับสร้างสื่อเทคโนโลยีความจริงเสริม (Augmented Reality: AR) บนเทคโนโลยีคลาวด์ ที่ผู้ใช้สามารถนามา
ประยุกต์สร้างสื่อดิจิทัลปฏิสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆ ได้หลากหลาย
แนะนาโปรแกรมสาหรับสร้างสื่อการเรียนรู้
3D Vista
เป็นโปรแกรมที่ใช้สาหรับสร้างระบบนาชมเสมือนจริง 360o รองรับทั้งภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหวแบบ 360 องศา สามารถสร้างการ
ปฏิสัมพันธ์ด้วยข้อมูลภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว สามารถส่งออกในรูปแบบ HTML5 เพื่อรับชมได้ทุกแพล็ตฟอร์ม ทั้งคอมพิวเตอร์
แท็บเล็ต และสมาร์ทโฟน
แนะนาโปรแกรมสาหรับสร้างสื่อการเรียนรู้
Spatial Metaverse
เป็นโปรแกรมที่ใช้จาลองสถานที่สามมิติในโลกเสมือนจริง เพื่อให้ผู้คนสามารถสื่อสาร ทากิจกรรม และมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกันอย่างไร้
ขอบเขตในโลกดิจิทัล ผู้ใช้สามารถนาดิจิทัลคอนเทนต์รูปแบบต่างๆ มาสร้างกิจกรรมในโลกจักรวาลนฤมิตได้
แนะนาโปรแกรมสาหรับสร้างสื่อการเรียนรู้
Microsoft Teams
Microsoft Office Teams เป็นช่องทางในการสร้างห้องเรียนออนไลน์ หากเรามี PowerPoint หรือสื่ออื่นๆ เช่น E-Book, Website
หรือ Video ก็เอามาจัดหน่วยการเรียนในโปรแกรมนี้ได้ อีกทั้งยังสร้างแบบทดสอบออนไลน์และเก็บข้อมูลผู้เรียนได้ด้วย
แนะนาโปรแกรมสาหรับสร้างสื่อการเรียนรู้
Google Classroom
Google Classroom ใช้จัดการห้องเรียนบนคลาวด์ โดยผสานความสามารถของ Google Drive, Google Docs, Google
Sheets, Google Slides, Google Forms, Gmail และอีกหลากหลายแอพพลิเคชั่นเข้าด้วยกัน
แนะนาโปรแกรมสาหรับสร้างสื่อการเรียนรู้
Moodle
Moodle เป็นระบบการจัดการเรียนรู้ (Learning Management System: LMS) ที่ใช้สร้างสื่อการเรียนรู้ได้หลากหลายมาก
สามารถนา PowerPoint, Website หรือ Video มาฝังไว้ได้ มีระบบข้อสอบหลายรูปแบบ อัตนัยก็ทาได้ด้วย
แนะนาโปรแกรมสาหรับสร้างสื่อการเรียนรู้
ClassDojo
เป็นโปรแกรมบนคลาวด์ที่ใช้บริหารจัดการชั้นเรียนที่ผสมผสานวิธีการประเมินที่หลากหลาย มีระบบการสร้างตัวละคร ระบบการ
เสริมแรง และระบบรายงานพฤติกรรมผู้เรียน
การสร้างเทคโนโลยีเสมือนจริง
การประมวลผล
ภาพวิดีโอ 360 องศา
การประมวลผล
ภาพนิ่ง 360 องศา
การจาลองภาพ
ด้วยซอฟต์แวร์โมเดล 3 มิติ
การสร้างเทคโนโลยีเสมือนจริง
การประมวลผลภาพนิ่ง 360 องศา
เป็นการจาลองภาพ 360 องศา ด้วยภาพถ่ายแบบ Spherical โดยอาศัยการถ่ายภาพนิ่งหลายภาพ แล้วนามาประมวลผลด้วย
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรือสามารถใช้กล้อง 360 ถ่ายภาพก็ได้
การสร้างเทคโนโลยีเสมือนจริง
การประมวลผลภาพวิดีโอ 360 องศา
เป็นการจาลองภาพ 360 องศาให้อยู่ในรูปแบบภาพเคลื่อนไหว ผู้ใช้สามารถหมุนซ้าย-ขวา เพื่อรับชมในประสบการณ์เสมือนจริง
ต้องใช้กล้อง 360 องศา ในการบันทึกภาพเคลื่อนไหว สามารถเพิ่มประสิทธิภาพ การตดคนหรือขาตั้งกล้องออกด้วยการใช้
Adobe After Effects และตัดต่อภาพเคลื่อนไหวด้วย Adobe Premiere Pro
การสร้างเทคโนโลยีเสมือนจริง
การจาลองภาพด้วยซอฟต์แวร์โมเดล 3 มิติ
เป็นการปั้นสภาพแวดล้อม 3 มิติ โดยใช้ซอฟต์แวร์เฉพาะ เช่น
Autodesk Maya, Autodesk 3Ds Max, Sketch Up, Blender
แล้วเรนเดอร์ให้อยู่ในรูปแบบภาพ 360 องศา
รวมแอปฯ สร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ผลิตสื่อประกอบ
ผลิตสื่อปฏิสัมพันธ์
จัดการห้องเรียนดิจิทัล
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ดิจิทัล
>>
>>
>>
>>
สื่อที่ดีที่สุด อาจไม่ใช้สื่อที่ล้าสมัยที่สุด แต่เป็นสื่อที่ผู้เรียนเข้าถึงได้ง่ายที่สุด และคอนเทนต์ต้องดี
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digital Age) V.2

Contenu connexe

Tendances

6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การทำ Storyboard
การทำ  Storyboardการทำ  Storyboard
การทำ Storyboard
Krongkaew kumpet
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

Tendances (20)

หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
 
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
 
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
 
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
 
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
 
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
 
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
 
การทำ Storyboard
การทำ  Storyboardการทำ  Storyboard
การทำ Storyboard
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
แนะนำโปรแกรม Adobe Photoshop
แนะนำโปรแกรม Adobe Photoshopแนะนำโปรแกรม Adobe Photoshop
แนะนำโปรแกรม Adobe Photoshop
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล (Information Technolog...
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล (Information Technolog...การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล (Information Technolog...
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล (Information Technolog...
 
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบท
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบทการออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบท
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบท
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
 
การเขียน Storyboard
การเขียน Storyboardการเขียน Storyboard
การเขียน Storyboard
 

Similaire à เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digital Age) V.2

บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
josodaza
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
Phuntita
 
สรุป บทที่7
สรุป บทที่7สรุป บทที่7
สรุป บทที่7
Phuntita
 
การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้น
การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้นการพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้น
การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้น
B CH
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
yuapawan
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
yuapawan
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
yuapawan
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
honeylamon
 
บทที่7ใหม่
บทที่7ใหม่บทที่7ใหม่
บทที่7ใหม่
panisaae
 
บทที่7ใหม่
บทที่7ใหม่บทที่7ใหม่
บทที่7ใหม่
panisaae
 
บทที่7ใหม่ๆ
บทที่7ใหม่ๆบทที่7ใหม่ๆ
บทที่7ใหม่ๆ
panisaae
 
บทที่7new
บทที่7newบทที่7new
บทที่7new
panisaae
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
panisaae
 
บทที่7 ใหม่ๆ
บทที่7 ใหม่ๆบทที่7 ใหม่ๆ
บทที่7 ใหม่ๆ
panisaae
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
panisaae
 
บทที่7ใหม่ๆ
บทที่7ใหม่ๆบทที่7ใหม่ๆ
บทที่7ใหม่ๆ
panisaae
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
jujudy
 

Similaire à เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digital Age) V.2 (20)

บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่ 7lll
บทที่ 7lllบทที่ 7lll
บทที่ 7lll
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
สรุป บทที่7
สรุป บทที่7สรุป บทที่7
สรุป บทที่7
 
การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้น
การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้นการพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้น
การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้น
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่7ใหม่
บทที่7ใหม่บทที่7ใหม่
บทที่7ใหม่
 
บทที่7ใหม่
บทที่7ใหม่บทที่7ใหม่
บทที่7ใหม่
 
บทที่7ใหม่ๆ
บทที่7ใหม่ๆบทที่7ใหม่ๆ
บทที่7ใหม่ๆ
 
บทที่7new
บทที่7newบทที่7new
บทที่7new
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่7 ใหม่ๆ
บทที่7 ใหม่ๆบทที่7 ใหม่ๆ
บทที่7 ใหม่ๆ
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่7ใหม่ๆ
บทที่7ใหม่ๆบทที่7ใหม่ๆ
บทที่7ใหม่ๆ
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 

Plus de Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai

หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

Plus de Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai (18)

ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
 
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
 
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
 
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
 
การค้นหาตัวละคร (Character Research)
การค้นหาตัวละคร (Character Research)การค้นหาตัวละคร (Character Research)
การค้นหาตัวละคร (Character Research)
 

เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digital Age) V.2