SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  31
การจัดทำาหน่วยการเรียนรู้
                               รายวิชาศิลปะ
                         ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ٢
                              สาระที่ 2 ดนตรี
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ที่ ٦ วงดนตรี
เป้าหมายการเรียนรู้
      สาระสำาคัญ
      ดนตรีไทยซึ่งได้จัดรวบรวมเป็นวงบรรเลงที่ถือว่าเป็นแบบแผนมี
อยู่ ๓ อย่าง คือ วงปี่พาทย์
      วงเครื่องสาย วงมโหรี แต่ละวงมีขนาดซึ่งถือตามจำานวนเครื่อง
ดนตรี และผู้บรรเลงมากน้อยกว่ากันเป็นชื่อวง ดังจะจำาแนกต่อไปนี้
ส่วนหน้าที่ของเครื่องดนตรีแต่ละสิ่งนั้นจะกล่าวไว้ในวงเครื่องใหญ่แห่ง
เดียวเพื่อมิให้ต้องซำ้าซากกัน

ตัวชี้วัด
           ศ 2.1 ม.2/1 เปรียบเทียบการใช้องค์ประกอบดนตรีที่มาจาก
วัฒนธรรมต่างกัน
           ศ 2.1 ม.2/2 อ่าน เขียนร้องโน้ตไทย และโน้ตสากลที่มี
เครื่องหมายแปลงเสียง

      คุณลักษณะ
         1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
         2. ซื่อสัตย์สุจริต
         3. มีวินย ั
         4. ใฝ่เรียนรู้
         5. อยู่อย่างพอเพียง
         6. มุ่งมั่นในการทำางาน
         7. รักความเป็นไทย
         8. มีจิตสาธารณะ
หลักฐานที่เป็นผลการเรียนรู้
                 เป้าหมาย                    หลักฐานที่เป็นผลการ
                                                   เรียนรู้
สาระสำาคัญ
      ดนตรีไทยซึ่งได้จัดรวบรวมเป็นวง            1. ทดสอบประเมิน
บรรเลงที่ถือว่าเป็นแบบแผนมีอยู่ ๓ อย่าง คือ        ผลก่อนเรียน
วงปี่พาทย์ วงเครื่องสาย วงมโหรี แต่ละวงมี       2. ทำาใบงาน
ขนาดซึ่งถือตามจำานวนเครื่องดนตรี และผู้         3. การนำาเสนอผล
บรรเลงมากน้อยกว่ากันเป็นชื่อวง ดังจะ               งาน
จำาแนกต่อไปนี้ ส่วนหน้าที่ของเครื่องดนตรี       4. การแสดงความ
แต่ละสิ่งนั้นจะกล่าวไว้ในวงเครื่องใหญ่แห่ง         คิดเห็น
เดียวเพื่อมิให้ตองซำ้าซากกัน
                  ้
ศ 2.1 ม.2/1 เปรียบเทียบการใช้องค์ประกอบ         1. ใบความรู้
ดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่างกัน                    2. ใบงาน
 ศ 2.1 ม.2/2 อ่าน เขียนร้องโน้ตไทย และโน้ต      3. ซักถามปัญหา
สากลที่มีเครื่องหมายแปลงเสียง                   4. สรุปความรู้
      คุณลักษณะ
          1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์           1. รายงานการสังเกต
          2. ซื่อสัตย์สุจริต                  พฤติกรรม
          3. มีวินัย                          2. สังเกตพฤติกรรม
          4. ใฝ่เรียนรู้                      ด้านคุณธรรมพื้นฐาน
          5. อยู่อย่างพอเพียง
          6. มุงมั่นในการทำางาน
                ่
          7. รักความเป็นไทย
          8. มีจิตสาธารณะ
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
    หน่วยการเรียนรู้ที่ ٦
      สาระที่ 2 ดนตรี




     การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ ٦
                            เรื่อง วงดนตรี
 หลักฐาน                  กิจกรรม                   สือ/อุปกรณ์
                                                      ่            ชั่วโ
                                                                   มง
١.ศึกษาจาก     1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้      - ใบความรู้      1
ใบความรู้      ٢.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา        เรื่อง ประเภท
เรื่อง         ลักษณะของประเภทเครื่องดนตรี         เครื่องดนตรี
ประเภท         ว่าเราสามารถแบ่งประเภทของ           ไทย
เครื่องดนตรี   เครื่องดนตรีออกได้กี่ประเภท         - แบบ
ไทย            ใครรู้บ้าง ครูสุ่มถามนักเรียน       ทดสอบ เรื่อง
               ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบ          ประเภทเครื่อง
               ความรู้ เรื่อง ประเภทเครื่องดนตรี   ดนตรีไทย
               ไทย                                 - V.C.D
               ٤.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่ม   ลักษณะของ
               เท่าๆกัน แล้ให้นักเรียนศึกษา        วงดนตรีไทย
               ข้อมูล เรื่อง ประเภทเครื่องดนตรี    - ภาพเครื่อง
               ไทยโดยให้แต่ละกลุ่มจดบันทึกให้      ดนตรีไทย
               เรียบร้อย พร้อมส่งครูให้
               เรียบร้อย
               ٥.นักเรียนครูร่วมกันสนทนา
               ประเภทของวงดนตรี และลักษณะ
               ของเครื่องดนตรีว่ามีการแบ่ง
               ประเภทอย่างไร โดยครูสอบถาม
               นักเรียน หลังจากนั้นครูให้
               นักเรียนที่เป็นตัวแทนของ
               นักเรียนออกมารายงานหน้าชั้น
               เรียน โดยครูคอยให้คำาปรึกษา
               ٦.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา
               ลักษณะองค์ประกอบดนตรี และ
               การแบ่งประเภทของเครื่องดนตรี
               และรูปแบบการสังเกตของเครื่อง
               ดนตรีว่ามีลักษณะการสังเกต
               อย่างไร โดยครูอธิบายเพิ่มเติม
               เพื่อให้นักเรียนเข้าใจยิ่งขึ้น
หลักฐาน                กิจกรรม               สื่อ/อุปกรณ์    ชั่วโ
                                                              มง
1.ศึกษาจาก ١.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้            1.ใบความ  1
ใบความรู้  ٢.นักเรียนและครูร่วมกัน         รู้ เรื่อง ประเภท
เรื่อง     สนทนาลักษณะของประเภท            วงดนตรีไทย
ประเภทวง   เครื่องดนตรี ว่าเราสามารถ                 2. แบบ
ดนตรีไทย   แบ่งประเภทของวงดนตรีออก ทดสอบ เรื่อง
           ได้กี่ประเภท ใครรู้บ้าง ครูสุ่ม ประเภทวงดนตรี
           ถามนักเรียน                     ไทย
           ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบ                3. V.C.D
           ความรู้ เรื่อง ประเภทวงดนตรี ลักษณะของวง
           ไทย                             ดนตรีไทย
           ٤.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6               4. ภาพ
           กลุ่มเท่าๆกัน แล้ให้นักเรียน    เครื่องดนตรีไทย
           ศึกษาข้อมูล เรื่อง ประเภทวง
           ดนตรีไทยโดยให้แต่ละกลุ่มจด
           บันทึกให้เรียบร้อย พร้อมส่ง
           ครูให้เรียบร้อย
           ٥.นักเรียนครูร่วมกันสนทนา
           ประเภทของวงดนตรีไทย และ
           ลักษณะของเครื่องดนตรีว่ามี
           การแบ่งประเภทอย่างไร โดย
           ครูสอบถามนักเรียน หลังจาก
           นั้นครูให้นักเรียนที่เป็นตัวแทน
           ของนักเรียนออกมารายงาน
           หน้าชั้นเรียน โดยครูคอยให้
           คำาปรึกษา
           ٦.นักเรียนและครูร่วมกัน
           สนทนาลักษณะของวงดนตรี
ไทยประกอบด้วยอะไรบ้าง
                 ลักษณะของการตั้งวง รูปแบบ
                 การเลือกใช้เครื่องดนตรี โดย
                 ครูอธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้
                 นักเรียนเข้าใจ




  หลักฐาน                  กิจกรรม               สื่อ/อุปกรณ์   ชั่วโ
                                                                มง
1.ศึกษาจาก       1.นักเรียนและครูรวมกัน
                                  ่            - ใบความรู้
ใบความรู้        สนทนาลักษณะของเพลงไทย         เรื่อง เครื่อง
เรื่อง เครื่อง   และลักษณะของเครื่องดนตรีที่   ดนตรี 4 ภาค
ดนตรี 4          มีหลากหลาย และสามารถ          - CD เพลง
ภาค              แยกได้ 4 ภาคใหญ่ มีภาค        บรรเลงดนตรี
                 ไหนบ้างนักเรียน ครูสุ่มถาม    ไทย 4 ภาค
2.นำาเสนอ    นักเรียนในห้อง                - ฉิ่ง กรับ
ผลการ        2.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบ    ฉาบ
ศึกษา        ความรู้ เรื่อง เครื่องดนตรี 4
ค้นคว้าต่อ   ภาค
สมาชิกหน้า   3.นักเรียนและครูรวมกัน
                                 ่
ชั้นเรียน    สนทนาลักษณะเครื่องดนตรี
             แต่ละภาค มีความแตกต่างกัน
             อย่างไร และมีลักษณะเป็น
             อย่างไร โดยให้นักเรียน
             สังเกตจากใบความรู้
             4.ครูให้นักเรียนแบ่ง 4 กลุ่ม
             เท่าๆกัน แล้วให้แต่ละกลุ่ม
             ไปศึกษาลักษณะของวงดนตรี
             พื้นเมือง 4 ภาคว่ามีลักษณะ
             เป็นอย่างไร และให้แต่ละกลุ่ม
             ทำาเป็นรายงานมาส่งให้
             เรียบร้อย
             5. นักเรียนและครูรวมกัน ่
             สนทนาหลังจากที่นักเรียนได้
             ไปศึกษาลักษณะของเครื่อง
             ดนตรี 4 ภาคแล้ว นักเรียน
             แต่ละกลุมก็ได้ทราบแล้ว จาก
                       ่
             นั้นครูให้ตัวแทนนักเรียนแต่ละ
             กลุ่มออกมารายงานหน้าชั้น
             เรียน โดยให้แต่ละกลุมส่ง  ่
             แบบรายงาน
             5. นักเรียนและครูรวมกัน
                                   ่
             สนทนาลักษณะองค์ประกอบ
             ของวงดนตรี และลักษณะ
             ของการบรรเลงว่าแต่ละภาคมี
             ความเป็นเอกลักษณ์อย่างไร
             และลักษณะของเครื่องดนตรี
             เป็นอย่างไร
หลักฐาน                    กิจกรรม                  สื่อ/อุปกรณ์    ชั่วโ
                                                                      มง
1.ศึกษาจาก       1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้      - ใบความรู้       1
ใบความรู้        ٢.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา        เรื่อง ประวัติ
เรื่อง ประวัติ   ลักษณะของประเภทเครื่องดนตรี         ดนตรีสากล
ดนตรีสากล        สากล ว่าเราสามารถแบ่งประเภท         - แบบทดสอบ
                 ของวงดนตรีสากล ออกได้กี่            เรื่อง ประวัติ
                 ประเภท ใครรู้บ้าง ครูสุ่มถาม        ดนตรีสากล
                 นักเรียน                            - V.C.D
                 ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบ          ลักษณะของวง
                 ความรู้ เรื่อง ประวัติดนตรีสากล     ดนตรีสากล
                 ٤.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่ม   - ภาพเครื่อง
                 เท่าๆกัน แล้ให้นักเรียนศึกษา        ดนตรีสากล
                 ข้อมูล เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
                 โดยให้แต่ละกลุ่มจดบันทึกให้
                 เรียบร้อย พร้อมส่งครูให้
                 เรียบร้อย
                 ٥.นักเรียนครูร่วมกันสนทนา
                 ประเภทของวงดนตรีสากล และ
                 ลักษณะของเครื่องดนตรีว่ามีการ
                 แบ่งประเภทอย่างไร โดยครู
                 สอบถามนักเรียน หลังจากนั้นครู
                 ให้นักเรียนที่เป็นตัวแทนของ
                 นักเรียนออกมารายงานหน้าชั้น
                 เรียน และส่งรายงานให้
                 เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำา
                 ปรึกษา
                 ٦.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา
                 ลักษณะของวงดนตรีสากล
                 ประกอบด้วยอะไรบ้าง ลักษณะ
                 ของการตั้งวง รูปแบบการเลือก
                 ใช้เครื่องดนตรีสากล โดยครู
                 อธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียน
เข้าใจ




 หลักฐาน                 กิจกรรม                  สื่อ/อุปกรณ์   ชั่วโ
                                                                 มง
1.ศึกษาจาก   ١.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้      - ใบความรู้      1
ใบความรู้    ٢.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา        เรื่อง ลักษณะ
เรื่อง       ลักษณะของประเภทเครื่องดนตรี         ของวงดนตรี
ลักษณะของ    สากล และลักษณะของวงดนตรี            สากล
วงดนตรี      สากล แบ่งออกได้กี่ประเภท ใคร        - ใบงาน
สากล         รู้บ้าง ครูสุ่มถามนักเรียน          เรื่อง ลักษณะ
             ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบ          ของวงดนตรี
             ความรู้ เรื่อง ลักษณะของวง          สากล
             ดนตรีสากล                           - V.C.D
             ٤.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่ม   ลักษณะของวง
             เท่าๆกัน แล้ให้นักเรียนศึกษา        ดนตรีสากล
             ข้อมูล เรื่อง ลักษณะของวง           - ภาพเครื่อง
             ดนตรีสากล โดยให้แต่ละกลุ่มจด        ดนตรีสากล
             บันทึกให้เรียบร้อย พร้อมส่งครู
             ให้เรียบร้อย
             ٥.นักเรียนครูร่วมกันสนทนา
             ประเภทของวงดนตรีสากล และ
             ลักษณะของเครื่องดนตรีว่ามีการ
             แบ่งประเภทอย่างไร โดยครู
             สอบถามนักเรียน หลังจากนั้นครู
             ให้นักเรียนที่เป็นตัวแทนของ
             นักเรียนออกมารายงานหน้าชั้น
เรียน และส่งรายงานให้
              เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำา
              ปรึกษา
              ٦.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา
              ลักษณะของวงดนตรีสากล
              ประกอบด้วยอะไรบ้าง ลักษณะ
              ของการตั้งวง รูปแบบการเลือก
              ใช้เครื่องดนตรีสากล โดยครู
              อธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียน
              เข้าใจ




 หลักฐาน                 กิจกรรม                 สือ/อุปกรณ์
                                                   ่           ชั่วโม
                                                                  ง
1.ศึกษา      1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้      - ใบความรู้      1
จากใบ        ٢.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา        เรื่อง
ความรู้      ลักษณะของประเภทเครื่องดนตรี         เครื่องหมาย
เรื่อง       สากล และลักษณะของวงดนตรี            และ
เครื่องหมา   สากล และลักษณะของสัญลักษณ์          สัญลักษณ์
ยและ         ของโน้ตสากลและโน้ต แตกต่าง          ทางดนตรี
สัญลักษณ์    กันอย่างไร ครูถามนักเรียนใน         - ใบงาน
ทางดนตรี     ห้อง                                เรื่อง
             ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบ          เครื่องหมาย
             ความรู้ เรื่อง เครื่องหมายและ       และ
             สัญลักษณ์ทางดนตรี                   สัญลักษณ์
             ٤.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 5 กลุ่ม   ทางดนตรี
             เท่าๆกัน แล้ให้นักเรียนศึกษา        - V.C.D
ข้อมูล เรื่อง เครื่องหมายและ      ลักษณะของ
           สัญลักษณ์ทางดนตรี ว่าเป็น         วงดนตรี
           อย่างไร หลังจากที่นักเรียนได้     สากล
           ศึกษาจากใบความรู้แล้ว พร้อมทั้ง   - ภาพเครื่อง
           จดบันทึกมาส่งครูให้เรียบร้อย      ดนตรีสากล
           ٥.นักเรียนครูร่วมกันสนทนา
           ประเภทของวงเครื่องหมายและ
           สัญลักษณ์ทางดนตรี โดยครู
           สอบถามนักเรียน หลังจากนั้นครู
           ให้นักเรียนที่เป็นตัวแทนของ
           นักเรียนออกมารายงานหน้าชั้น
           เรียน และส่งรายงานให้เรียบร้อย
           โดยครูคอยให้คำาปรึกษา
           ٦.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา
           ลักษณะของเครื่องหมายและ
           สัญลักษณ์ทางดนตรี ว่ามีส่วน
           สำาคัญต่อการเล่นดนตรีและปฏิบัติ
           ดนตรีไทยและสากลเป็นอย่างมาก
           เราจึงต้องศึกษาลักษณะของตัว
           โน้ตให้เข้าใจก่อนนะนักเรียน ครู
           อธิบายหลักความสำาคัญของตัว
           โน้ตประเภทต่างๆ




หลักฐาน                กิจกรรม                  สือ/
                                                   ่        ชั่วโม
                                              อุปกรณ์          ง
1.ศึกษา    1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ - ใบความ             1
จากใบ      ٢.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา   รู้ เรื่อง
ความรู้    ลักษณะของประเภทเครื่องดนตรี    แนวเพลง
เรื่อง แนว สากล และลักษณะของวงดนตรีสากล สากล
เพลง       และลักษณะของสัญลักษณ์ของโน้ต   - ใบงาน
สากล   สากลและโน้ต และแนวเพลงของกน           เรื่อง แนว
       ตรีสากล ว่ามีความแตกต่างจากแนว        เพลงสากล
       เพลงไทยอย่างไร ครูสุ่มนักเรียนออก     - V.C.D
       มาอธิบายหน้าชั้นเรียนให้เพื่อนฟัง     ลักษณะ
       ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้     ของวง
       เรื่อง แนวเพลงสากล                    ดนตรีสากล
       ٤.ครูให้นักเรียนแต่ละคนไปศึกษา        - ภาพ
       ลักษณะของแนวเพลงไทย และสากล           เครื่อง
       พร้อมทั้งอธิบายมาให้เรียบร้อย โดย     ดนตรีสากล
       ครูคอยให้คำาปรึกษา
       ٥.นักเรียนครูร่วมกันสนทนาประเภท
       ของวงเครื่องหมายและสัญลักษณ์ทาง
       ดนตรี และลักษณะของแนวเพลงที่
       นักเรียนศึกษาว่ามีลักษณะและรูป
       แบบเป็นอย่างไร จากนั้นครูสุ่ม
       นักเรียนออกมาอธิบายหน้าชั้นเรียน
       โดยครูจะสุ่มตามเลขที่ โดยครูคอย
       ให้คำาปรึกษา
       ٦.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา
       ลักษณะของเครื่องหมายและ
       สัญลักษณ์ทางดนตรี และลักษณะ
       ของเพลงทั้งไทยและสากล แตกต่าง
       กันอย่างไร โดยครูอธิบายเพิ่มเติม
       จากที่นักเรียนได้ศึกษามา โดยครู
       อธิบายวิธีการสังเกต และการ
       วิเคราะห์ว่าทำาอย่างไร จากนั้นครูก็
       สรุปบทเรียนโดยครูทบทวนบทเรียน
หลักฐาน                กิจกรรม                    สือ/
                                                     ่  ชั่วโม
                                                อุปกรณ์    ง
1.ศึกษา 1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้      - ใบความ       1
จากใบ   ٢.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา        รู้ เรื่อง
ความรู้ ลักษณะของเพลงไทย ว่ามีรูปแบบ        ประเภท
เรื่อง  อย่างไร โดยครูได้สุ่มนักเรียนตอบ    เพลงไทย
ประเภท  ภายในห้อง                           - ใบงาน
เพลงไทย ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง
        เรื่อง ประเภทเพลงไทย                ประเภท
        ٤.ครูให้นักเรียนแต่ละคนไปศึกษา      เพลงไทย
        ลักษณะของแนวเพลงไทย และสากล - V.C.D
        พร้อมทั้งอธิบายมาให้เรียบร้อย โดย ลักษณะ
        ครูคอยให้คำาปรึกษา                  ของวง
        ٥.นักเรียนครูร่วมกันสนทนาประเภท ดนตรีสากล
        ของเพลงไทยว่ามีรูปแบบและ            - ภาพ
        โครงสร้างอย่างไร และลักษณะของ เครื่อง
        แนวเพลง จากนั้นครูสุ่มนักเรียนออก ดนตรีสากล
        มาอธิบายหน้าชั้นเรียน โดยครูจะสุ่ม
        ตามเลขที่ โดยครูคอยให้คำาปรึกษา
        ٦.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา
        ลักษณะของ และลักษณะของเพลงทั้ง
        ไทยและสากล แตกต่างกันอย่างไร
        โดยครูอธิบายเพิ่มเติมจากที่นักเรียน
        ได้ศึกษามา โดยครูอธิบายวิธีการ
        สังเกต และการวิเคราะห์ว่าทำา
        อย่างไร จากนั้นครูก็สรุปบทเรียน
        โดยครูทบทวนบทเรียน
หลักฐาน                 กิจกรรม                      สื่อ/   ชั่วโม
                                                 อุปกรณ์        ง
1.ศึกษา   ١.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้        - ใบ            1
จากใบ     ٢.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา          ความรู้
ความรู้   ลักษณะของเพลงไทยอัตราจังหวะ 2 เรื่อง
เรื่อง    ชั้น ว่ามีรูปแบบอย่างไร โดยครูได้สุ่ม ประเภท
ประเภท    นักเรียนตอบภายในห้อง                  เพลง 2
เพลง 2    ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้     ชั้น
ชั้น      เรื่อง ประเภทเพลง 2 ชั้น              - ใบงาน
          ٤.ครูให้นักเรียนแต่ละคนไปศึกษา        เรื่อง
          ลักษณะของแนวเพลงไทย ในอัตรา           ประเภท
          จังหวะ 2 ชั้น พร้อมทั้งอธิบายมาให้ เพลง 2
          เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำาปรึกษา       ชั้น
          ٥.นักเรียนครูร่วมกันสนทนาประเภท       - V.C.D
          ของเพลงไทยว่ามีรูปแบบและ              ลักษณะ
          โครงสร้างอย่างไร จากนั้นครูสุ่ม       ของวง
          นักเรียนออกมาอธิบายหน้าชั้นเรียน      ดนตรี
          โดยครูคอยให้คำาปรึกษา                 สากล
          ٦.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา          - ภาพ
          ลักษณะของ และลักษณะของเพลงทั้ง เครื่อง
          ไทยในอัตราจังหวะ 2 ชั้น โดยครู        ดนตรี
          อธิบายเพิ่มเติมจากที่นักเรียนได้ศึกษา สากล
          มา โดยครูอธิบายวิธีการสังเกต และ
          การวิเคราะห์ว่าทำาอย่างไร จากนั้นครู
          ก็สรุปบทเรียนโดยครูทบทวนบทเรียน
หลักฐาน                 กิจกรรม                      สื่อ/ ชั่วโม
                                                 อุปกรณ์      ง
1.ศึกษา   1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้        - ใบ          1
จากใบ     ٢.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา          ความรู้
ความรู้   ลักษณะของเพลงไทยอัตราจังหวะ 2 เรื่อง
เรื่อง    ชั้น ว่ามีรูปแบบอย่างไร โดยครูได้สุ่ม ประเภท
ประเภท    นักเรียนตอบภายในห้อง                  เพลง 2
เพลง 2    ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้     ชั้น
ชั้น      แล้วนักเรียนก็ได้ทราบลักษณะของ        - V.C.D
          เพลงร้องที่มีอัตราจังหวะว่าเป็น       เพลงไทย
          อย่างไร                               เดิม
          4.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา          - ภาพ
          ลักษณะของเพลงลาวดวงเดือน โดย          เครื่อง
          ครูอธิบายประวัติเพลงลาวดวงเดือน       ดนตรีไทย
          ลักษณะของโน้ตเพลงลาวดวงเดือน
          ครูได้สาธิตการขับร้องเพลงลาวดวง
          เดือน เพื่อให้นักเรียนได้ทราบจังหวะ
          และเทคนิคการร้อง โดยครูสาธิตไปที
          ละขั้นตอน
          ٥.นักเรียนและครูร่วมกันขับร้องโน้ต
          เพลงลาวดวงเดือนอย่างสนุกสนาน
          โดยครคอยให้คำาปรึกษา
          ٦.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา
          ลักษณะของ และลักษณะของเพลงทั้ง
          ไทยในอัตราจังหวะ 2 ชั้น โดยครู
          อธิบายเพิ่มเติมจากที่นักเรียนได้ศึกษา
มา โดยครูอธิบายวิธีการสังเกต และ
           การวิเคราะห์ว่าทำาอย่างไร จากนั้นครู
           ก็สรุปบทเรียนโดยครูทบทวนบทเรียน




หลักฐาน                 กิจกรรม                       สื่อ/   ชั่วโม
                                                  อุปกรณ์        ง
1.ศึกษา   ١.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้         - ใบ            1
จากใบ     ٢.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา           ความรู้
ความรู้   ลักษณะของประเภทเครื่องดนตรีสากล เรื่อง
เรื่อง    และลักษณะของวงดนตรีสากล ว่า            บรรทัด 5
บรรทัด    ลักษณะการบันทึกของตัวโน้ตดนตรี         เส้น
5 เส้น    ไทย และดนตรีสากล มีความแตกต่าง - แบบ
          กันอย่างไร ครูสุ่มถามนักเรียน          ทดสอบ
          ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้      เรื่อง
          เรื่อง บรรทัด 5 เส้น                   บรรทัด 5
          ٤.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่มเท่าๆ เส้น
          กัน แล้ให้นักเรียนศึกษาข้อมูล เรื่อง   - V.C.D
          บรรทัด 5 เส้น ว่ามีลักษณะเป็น          ลักษณะ
          อย่างไร โดยครูให้นักเรียนจดบันทึกมา ของวง
          ส่งครูให้เรียบร้อย                     ดนตรี
          ٥.นักเรียนครูร่วมกันสนทนาประเภท        สากล
          ของการบันทึกตัวโน้ตลงในบรรทัด 5        - ภาพ
          เส้น หลังจากนั้นครูให้นักเรียนที่เป็น  เครื่อง
ตัวแทนของนักเรียนออกมารายงาน          ดนตรี
          หน้าชั้นเรียน และส่งรายงานให้         สากล
          เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำาปรึกษา
          6.ครูสาธิตการบันทึกตัวโน้ตลงใน
          บรรทัด 5 เส้น โดยให้นักเรียนดูทีละ
          ขันตอน หลังจากนั้นครูให้นักเรียนฝึก
            ้
          เขียนตัวโน้ต และบันทึกลงในบรรทัด 5
          เส้น ให้เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำา
          ปรึกษา
          ٧.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา
          ลักษณะของบรรทัด 5 เส้น ว่ามีส่วน
          สำาคัญต่อการเล่นดนตรีและปฏิบัติดนตรี
          ไทยและสากลเป็นอย่างมาก เราจึงต้อง
          ศึกษาลักษณะของตัวโน้ตให้เข้าใจก่อน
          ก่อนที่นักเรียนจะฝึกบันทึกตัวโน้ต ครู
          อธิบายหลักความสำาคัญของตัวโน้ต
          ประเภทต่าง




                         แผนการจัดการเรียนรู้
                                หน่วยที่ ٦
                            เรื่อง วงดนตรี
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปศึกษา                             ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ٢
วิชา ศิลปะ                                      เวลาเรียน ١٠
ชั่วโมง
หน่วยการเรียนรู้ที่ ٦ วงดนตรี                             ปีการ
ศึกษา .........
1. สาระที่ 2 ดนตรี
2. มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 2.1
          เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์
วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่าง
อิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน

3. ตัวชี้วัด
       ศ 2.1 ม.2/1 เปรียบเทียบการใช้องค์ประกอบดนตรีที่มาจาก
วัฒนธรรมต่างกัน
       ศ 2.1 ม.2/2 อ่าน เขียนร้องโน้ตไทย และโน้ตสากลที่มี
เครื่องหมายแปลงเสียง

4. สาระสำาคัญ
        ดนตรีไทยซึ่งได้จัดรวบรวมเป็นวงบรรเลงที่ถือว่าเป็นแบบแผนมี
อยู่ ๓ อย่าง คือ วงปี่พาทย์
วงเครื่องสาย วงมโหรี แต่ละวงมีขนาดซึ่งถือตามจำานวนเครื่องดนตรี
และผู้บรรเลงมากน้อยกว่ากันเป็นชื่อวง ดังจะจำาแนกต่อไปนี้ ส่วน
หน้าที่ของเครื่องดนตรีแต่ละสิ่งนั้นจะกล่าวไว้ในวงเครื่องใหญ่แห่งเดียว
เพื่อมิให้ต้องซำ้าซากกัน

  1.1ความรู้
     1. องค์ประกอบของดนตรีไทย
     2. ประเภทของวงดนตรีไทย
     3. อ่าน เขียนโน้ตสากล
     4. อ่านเขียนโน้ตไทย
     5. ลักษณะของเครื่องหมายของโน้ต




  1.2ทักษะกระบวนการ
     1. กระบวนความรู้ และความเข้าใจ
     2. กระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์
     3. กระบวนการกลุ่ม
4. กระบวนการแก้ปัญหา
  1.3คุณลักษณะ
     1. ใฝ่รู้ใฝ่เรียน
     2. รักความเป็นไทย
     3. มุ่งมั่นในการทำางาน
     4. มีคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ
     5. กระบวนการจัดการเรียนรู้

กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ 1 เรื่อง ประเภทเครื่องดนตรีไทย (เวลาเรียน 1
                       ้
ชั่วโมง)
        1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
        2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของประเภทเครื่องดนตรี
ว่าเราสามารถแบ่งประเภทของเครื่องดนตรีออกได้กี่ประเภท ใครรู้บ้าง
ครูสุ่มถามนักเรียน
        3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง ประเภทเครื่องดนตรี
ไทย
        4.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่มเท่าๆกัน แล้ให้นักเรียนศึกษา
ข้อมูล เรื่อง ประเภทเครื่องดนตรีไทยโดยให้แต่ละกลุ่มจดบันทึกให้
เรียบร้อย พร้อมส่งครูให้เรียบร้อย
        5.นักเรียนครูร่วมกันสนทนาประเภทของวงดนตรี และลักษณะ
ของเครื่องดนตรีว่ามีการแบ่งประเภทอย่างไร โดยครูสอบถามนักเรียน
หลังจากนั้นครูให้นักเรียนที่เป็นตัวแทนของนักเรียนออกมารายงาน
หน้าชั้นเรียน โดยครูคอยให้คำาปรึกษา
        6. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะองค์ประกอบดนตรี
และการแบ่งประเภทของเครื่องดนตรีและรูปแบบการสังเกตของเครื่อง
ดนตรีว่ามีลักษณะการสังเกตอย่างไร โดยครูอธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้
นักเรียนเข้าใจยิ่งขึ้น
กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ 2 เรื่อง ประเภทวงดนตรีไทย (เวลาเรียน 1
                      ้
ชั่วโมง)
        1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
       2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของประเภทเครื่องดนตรี
ว่าเราสามารถแบ่งประเภทของวงดนตรีออกได้กี่ประเภท ใครรู้บ้าง ครู
สุ่มถามนักเรียน
       3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง ประเภทวงดนตรีไทย
       4.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่มเท่าๆกัน แล้ให้นักเรียนศึกษา
ข้อมูล เรื่อง ประเภทวงดนตรีไทยโดยให้แต่ละกลุ่มจดบันทึกให้
เรียบร้อย พร้อมส่งครูให้เรียบร้อย
       5.นักเรียนครูร่วมกันสนทนาประเภทของวงดนตรีไทย และ
ลักษณะของเครื่องดนตรีว่ามีการแบ่งประเภทอย่างไร โดยครูสอบถาม
นักเรียน หลังจากนั้นครูให้นักเรียนที่เป็นตัวแทนของนักเรียนออกมา
รายงานหน้าชั้นเรียน โดยครูคอยให้คำาปรึกษา
       6. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของวงดนตรีไทย
ประกอบด้วยอะไรบ้าง ลักษณะของการตั้งวง รูปแบบการเลือกใช้
เครื่องดนตรี โดยครูอธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนเข้าใจ

กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ 3 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล (เวลา 1 ชั่วโมง)
                       ้
        1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
        2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของประเภทเครื่องดนตรี
สากล ว่าเราสามารถแบ่งประเภทของวงดนตรีสากล ออกได้กี่ประเภท
ใครรู้บ้าง ครูสุ่มถามนักเรียน
        3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
        4.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่มเท่าๆกัน แล้ให้นักเรียนศึกษา
ข้อมูล เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
       โดยให้แต่ละกลุ่มจดบันทึกให้เรียบร้อย พร้อมส่งครูให้เรียบร้อย
        5.นักเรียนครูร่วมกันสนทนาประเภทของวงดนตรีสากล และ
ลักษณะของเครื่องดนตรีว่ามีการแบ่งประเภทอย่างไร โดยครูสอบถาม
นักเรียน หลังจากนั้นครูให้นักเรียนที่เป็นตัวแทนของนักเรียนออกมา
รายงานหน้าชั้นเรียน และส่งรายงานให้เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำา
ปรึกษา
        6. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของวงดนตรีสากล
ประกอบด้วยอะไรบ้าง ลักษณะของการตั้งวง รูปแบบการเลือกใช้
เครื่องดนตรีสากล โดยครูอธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนเข้าใจ
กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ 4 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล (เวลา 1
                       ้
ชั่วโมง)
        1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
        2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของประเภทเครื่องดนตรี
สากล และลักษณะของวงดนตรีสากล แบ่งออกได้กี่ประเภท ใครรู้บ้าง
ครูสุ่มถามนักเรียน
        3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง ลักษณะของวงดนตรี
สากล
        4.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่มเท่าๆกัน แล้ให้นักเรียนศึกษา
ข้อมูล เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล โดยให้แต่ละกลุ่มจดบันทึกให้
เรียบร้อย พร้อมส่งครูให้เรียบร้อย
        5.นักเรียนครูร่วมกันสนทนาประเภทของวงดนตรีสากล และ
ลักษณะของเครื่องดนตรีว่ามีการแบ่งประเภทอย่างไร โดยครูสอบถาม
นักเรียน หลังจากนั้นครูให้นักเรียนที่เป็นตัวแทนของนักเรียนออกมา
รายงานหน้าชั้นเรียน และส่งรายงานให้เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำา
ปรึกษา
        6. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของวงดนตรีสากล
ประกอบด้วยอะไรบ้าง ลักษณะของการตั้งวง รูปแบบการเลือกใช้
เครื่องดนตรีสากล โดยครูอธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนเข้าใจ

กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ 5 เรื่อง เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี
                     ้
(เวลา 1 ชั่วโมง)
      1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
      2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของประเภทเครื่องดนตรี
สากล และลักษณะของวงดนตรีสากล และลักษณะของสัญลักษณ์ของ
โน้ตสากลและโน้ต แตกต่างกันอย่างไร ครูถามนักเรียนในห้อง
      3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง เครื่องหมายและ
สัญลักษณ์ทางดนตรี
4.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 5 กลุ่มเท่าๆกัน แล้ให้นักเรียนศึกษา
ข้อมูล เรื่อง เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี ว่าเป็นอย่างไร หลัง
จากที่นักเรียนได้ศึกษาจากใบความรู้แล้ว พร้อมทั้งจดบันทึกมาส่งครูให้
เรียบร้อย
       5.นักเรียนครูร่วมกันสนทนาประเภทของวงเครื่องหมายและ
สัญลักษณ์ทางดนตรี โดยครูสอบถามนักเรียน หลังจากนั้นครูให้
นักเรียนที่เป็นตัวแทนของนักเรียนออกมารายงานหน้าชั้นเรียน และส่ง
รายงานให้เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำาปรึกษา
       6. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของเครื่องหมายและ
สัญลักษณ์ทางดนตรี ว่ามีส่วนสำาคัญต่อการเล่นดนตรีและปฏิบัติดนตรี
ไทยและสากลเป็นอย่างมาก เราจึงต้องศึกษาลักษณะของตัวโน้ตให้
เข้าใจก่อนนะนักเรียน ครูอธิบายหลักความสำาคัญของตัวโน้ตประเภท
ต่างๆ




กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ 6 เรื่อง แนวเพลงสากล (เวลา 1 ชั่วโมง)
                       ้
        1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
        2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของประเภทเครื่องดนตรี
สากล และลักษณะของวงดนตรีสากล และลักษณะของสัญลักษณ์ของ
โน้ตสากลและโน้ต และแนวเพลงของกนตรีสากล ว่ามีความแตกต่าง
จากแนวเพลงไทยอย่างไร ครูสุ่มนักเรียนออกมาอธิบายหน้าชั้นเรียน
ให้เพื่อนฟัง
        3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง แนวเพลงสากล
        4.ครูให้นักเรียนแต่ละคนไปศึกษาลักษณะของแนวเพลงไทย
และสากล พร้อมทั้งอธิบายมาให้เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำาปรึกษา
        5.นักเรียนครูร่วมกันสนทนาประเภทของวงเครื่องหมายและ
สัญลักษณ์ทางดนตรี และลักษณะของแนวเพลงที่นักเรียนศึกษาว่ามี
ลักษณะและรูปแบบเป็นอย่างไร จากนั้นครูสุ่มนักเรียนออกมาอธิบาย
หน้าชั้นเรียน โดยครูจะสุ่มตามเลขที่ โดยครูคอยให้คำาปรึกษา
        6. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของเครื่องหมายและ
สัญลักษณ์ทางดนตรี และลักษณะของเพลงทั้งไทยและสากล แตกต่าง
กันอย่างไร โดยครูอธิบายเพิ่มเติมจากที่นักเรียนได้ศึกษามา โดยครู
อธิบายวิธีการสังเกต และการวิเคราะห์ว่าทำาอย่างไร จากนั้นครูก็สรุป
บทเรียนโดยครูทบทวนบทเรียน

กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ ٧ เรื่อง ประเภทเพลงไทย (เวลา 1 ชั่วโมง)
                      ้
       1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
       2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของเพลงไทย ว่ามีรูป
แบบอย่างไร โดยครูได้สุ่มนักเรียนตอบภายในห้อง
       3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง ประเภทเพลงไทย
       4.ครูให้นักเรียนแต่ละคนไปศึกษาลักษณะของแนวเพลงไทย
และสากล พร้อมทั้งอธิบายมาให้เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำาปรึกษา
       5.นักเรียนครูร่วมกันสนทนาประเภทของเพลงไทยว่ามีรูปแบบ
และโครงสร้างอย่างไร และลักษณะของแนวเพลง จากนั้นครูสุ่ม
นักเรียนออกมาอธิบายหน้าชั้นเรียน โดยครูจะสุ่มตามเลขที่ โดยครู
คอยให้คำาปรึกษา
       6. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของ และลักษณะของ
เพลงทั้งไทยและสากล แตกต่างกันอย่างไร โดยครูอธิบายเพิ่มเติมจากที่
นักเรียนได้ศึกษามา โดยครูอธิบายวิธีการสังเกต และการวิเคราะห์ว่า
ทำาอย่างไร จากนั้นครูก็สรุปบทเรียนโดยครูทบทวนบทเรียน




กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ ٨ เรื่อง ประเภทเพลง ٢ ชั้น (เวลา 1
                      ้
ชั่วโมง)
       1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
       2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของเพลงไทยอัตรา
จังหวะ 2 ชั้น ว่ามีรูปแบบอย่างไร โดยครูได้สุ่มนักเรียนตอบภายใน
ห้อง
       3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง ประเภทเพลง 2 ชั้น
       4.ครูให้นักเรียนแต่ละคนไปศึกษาลักษณะของแนวเพลงไทย ใน
อัตราจังหวะ 2 ชั้น พร้อมทั้งอธิบายมาให้เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำา
ปรึกษา
       5.นักเรียนครูร่วมกันสนทนาประเภทของเพลงไทยว่ามีรูปแบบ
และโครงสร้างอย่างไร จากนั้นครูสุ่มนักเรียนออกมาอธิบายหน้าชั้น
เรียน โดยครูคอยให้คำาปรึกษา
6. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของ และลักษณะของ
เพลงทั้งไทยในอัตราจังหวะ 2 ชั้น โดยครูอธิบายเพิ่มเติมจากที่
นักเรียนได้ศึกษามา โดยครูอธิบายวิธีการสังเกต และการวิเคราะห์ว่า
ทำาอย่างไร จากนั้นครูก็สรุปบทเรียนโดยครูทบทวนบทเรียน

กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ ٩ เรื่อง ปฏิบัติเพลง ٢ ชั้น (เวลา 1 ชั่วโมง)
                      ้
       1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
       2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของเพลงไทยอัตรา
จังหวะ 2 ชั้น ว่ามีรูปแบบอย่างไร โดยครูได้สุ่มนักเรียนตอบภายใน
ห้อง
       3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้แล้วนักเรียนก็ได้ทราบ
ลักษณะของเพลงร้องที่มีอัตราจังหวะว่าเป็นอย่างไร
       4.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของเพลงลาวดวงเดือน
โดยครูอธิบายประวัติเพลงลาวดวงเดือน ลักษณะของโน้ตเพลงลาวดวง
เดือน ครูได้สาธิตการขับร้องเพลงลาวดวงเดือน เพื่อให้นักเรียนได้
ทราบจังหวะและเทคนิคการร้อง โดยครูสาธิตไปทีละขั้นตอน
       5.นักเรียนและครูร่วมกันขับร้องโน้ตเพลงลาวดวงเดือนอย่าง
สนุกสนาน โดยครคอยให้คำาปรึกษา
       6. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของ และลักษณะของ
เพลงทั้งไทยในอัตราจังหวะ 2 ชั้น โดยครูอธิบายเพิ่มเติมจากที่
นักเรียนได้ศึกษามา โดยครูอธิบายวิธีการสังเกต และการวิเคราะห์ว่า
ทำาอย่างไร จากนั้นครูก็สรุปบทเรียนโดยครูทบทวนบทเรียน




กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ ١٠ เรื่อง บรรทัด ٥ เส้น (เวลา 1 ชั่วโมง)
                      ้
       1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
       2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของประเภทเครื่องดนตรี
สากล และลักษณะของวงดนตรีสากล ว่าลักษณะการบันทึกของตัว
โน้ตดนตรีไทย และดนตรีสากล มีความแตกต่างกันอย่างไร ครูสุ่มถาม
นักเรียน
       3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง บรรทัด 5 เส้น
4.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่มเท่าๆกัน แล้ให้นักเรียนศึกษา
ข้อมูล เรื่อง บรรทัด 5 เส้น ว่ามีลักษณะเป็นอย่างไร โดยครูให้
นักเรียนจดบันทึกมาส่งครูให้เรียบร้อย
       5.นักเรียนครูร่วมกันสนทนาประเภทของการบันทึกตัวโน้ตลงใน
บรรทัด 5 เส้น หลังจากนั้นครูให้นักเรียนที่เป็นตัวแทนของนักเรียน
ออกมารายงานหน้าชั้นเรียน และส่งรายงานให้เรียบร้อย โดยครูคอย
ให้คำาปรึกษา
       6. ครูสาธิตการบันทึกตัวโน้ตลงในบรรทัด 5 เส้น โดยให้
นักเรียนดูทีละขั้นตอน หลังจากนั้นครูให้นักเรียนฝึกเขียนตัวโน้ต และ
บันทึกลงในบรรทัด 5 เส้น ให้เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำาปรึกษา
       7. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของบรรทัด 5 เส้น ว่า
มีส่วนสำาคัญต่อการเล่นดนตรีและปฏิบัติดนตรีไทยและสากลเป็นอย่าง
มาก เราจึงต้องศึกษาลักษณะของตัวโน้ตให้เข้าใจก่อน ก่อนที่นักเรียน
จะฝึกบันทึกตัวโน้ต ครูอธิบายหลักความสำาคัญของตัวโน้ตประเภท
ต่างๆ

     6. สื่ออุปกรณ์และแหล่งเรียนรู้
           1. ใบความรู้
           2. ใบงาน
           3. แผนภาพ
           4. คำาถาม
           5. สถานการณ์/ เหตุการณ์
           6. ของจริง/เครื่องดนตรี
           7. อุปกรณ์การเล่นดนตรี
           8. อุปกรณ์ในการจัดบอร์ด
           9. อินเทอร์เน็ต เว็บไซต์
           10. หนังสือเรียน เอกสารความรู้




7. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
     7.1 วิธีการวัดและเครื่องมือวัด
เป้าหมายการเรียนรู้             วิธีการวัด      เครื่องมือวัด
สาระสำาคัญ
       ดนตรีไทยซึ่งได้จัดรวบรวม       1. ทดสอบ          1. แบบ
เป็นวงบรรเลงที่ถือว่าเป็นแบบแผนมี     ประเมินผลก่อน     ทดสอบประเมิน
อยู่ ๓ อย่าง คือ วงปี่พาทย์           เรียน             ผลก่อนเรียน
วงเครื่องสาย วงมโหรี แต่ละวงมี        2. ตรวจใบงาน      2. แบบ
ขนาดซึ่งถือตามจำานวนเครื่องดนตรี      3. การนำาเสนอ     ประเมินใบงาน
และผู้บรรเลงมากน้อยกว่ากันเป็นชื่อ    ผลงาน             3. แบบ
วง ดังจะจำาแนกต่อไปนี้ ส่วนหน้าที่                      ประเมินการนำา
ของเครื่องดนตรีแต่ละสิ่งนั้นจะกล่าว                     เสนอผลงาน
ไว้ในวงเครื่องใหญ่แห่งเดียวเพื่อมิ
ให้ตองซำ้าซากกัน
     ้
ศ 2.1 ม.2/1 เปรียบเทียบการใช้         1.ใบความรู้       – แบบประเมิน
องค์ประกอบดนตรีที่มาจาก               เรื่อง ประเภท     ใบงาน
วัฒนธรรมต่างกัน                       เครื่องดนตรี      – แบบประเมิน
                                      ไทย               การปฏิบัติงาน
                                      2. แบบทดสอบ       กลุ่ม
                                      เรื่อง ประเภท
                                      เครื่องดนตรี
                                      ไทย
                                      3.ใบความรู้
                                      เรื่อง ประเภทวง
                                      ดนตรีไทย
                                      4. แบบทดสอบ
                                      เรื่อง ประเภทวง
                                      ดนตรีไทย
                                      5.ใบความรู้
                                      เรื่อง ประวัติ
                                      ดนตรีสากล
                                      6. แบบทดสอบ
                                      เรื่อง ประวัติ
                                      ดนตรีสากล
                                      7.ใบความรู้
                                      เรื่อง ลักษณะ
                                      ของวงดนตรี
                                      สากล
                                      8. ใบงาน เรื่อง
                                      ลักษณะของวง
                                      ดนตรีสากล
ศ 2.1 ม.2/2 อ่าน เขียนร้องโน้ต        1.ใบความรู้       – แบบประเมิน
ไทย และโน้ตสากลที่มีเครื่องหมาย       เรื่อง            ใบงาน
แปลงเสียง                             เครื่องหมายและ    – แบบประเมิน
7.2 เกณฑ์การวัด
   7.2.1 ข้อสอบปรนัย เลือกคำาตอบได้ถูกข้อละ 1 คะแนน
   7.2.2 แบบประเมินการปฏิบัติงานกลุ่ม
     1. การกำาหนด / เป้าหมายร่วมกัน
     2. การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
     3. การปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
     4. การประเมินและปรับปรุงผลงาน
   7.2.3 แบบประเมินก่อนนำาเสนอผลงาน
     1. เนื้อหา
     2. กลวิธีนำาเสนอ
     3. ขั้นตอนการนำาเสนอ
     4. การใช้ภาษา
     5. ตอบคำาถาม / เวลา
   7.2.4 แบบตรวจผลงานเขียนแผนผังความคิด
     1. ความคิดรวบยอด
     2. ความคิดรอง
     3. ความคิดย่อย
     4. การเชื่อมโยงความคิด
     5. ความสวยงาม
   7.2.5 แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
     1. ความตั้งใจ
     2. ความร่วมมือ
     3. ความมีวินัย
     4. คุณภาพของผลงาน
     5. การนำาเสนอผลงาน
   7.2.6 แบบประเมินใบงาน
     1. การสรุปเป็นองค์ความรู้
     2. เนื้อหาถูกต้อง ครบถ้วน
     3. การบันทึกข้อมูล
     4. การอภิปราย
     5. การสนทนาซักถาม

   7.2.7 แบบประเมินผลงาน / ชิ้นงาน
     1. ความคิดสร้างสรรค์
2. ความประณีตสวยงาม
           3. ความสะอาด
           4. ความแข็งแรงคงทน
           5. ทำางานเสร็จทันเวลา
         7.2.8 การสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับการวิเคราะห์แผนภาพ
           1. คำาตอบเป็นคำาตอบในเชิงบวกได้ 1 คะแนน
           2. คำาตอบเป็นคำาตอบในเชิงลบได้ 0 คะแนน
         7.2.9 แบบประเมินพฤติกรรมด้านการปฏิบัติตน
           1. ความกระตือรือร้น
           2. ความร่วมมือ
           3. ความรับผิดชอบ
           4. การเคารพกติกา
           5. ความกล้าแสดงออก
         7.2.10 แบบประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรมพื้นฐาน
           1. ความขยัน
           2. ความมีวินัย
           3. ความสะอาด
           4. ความสามัคคี
           5. ความมีนำ้าใจ




8. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
      8.1 ผลการจัดการเรียนรู้ ( นักเรียนทั้งหมด 40 คน )
              นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดี........คน คิดเป็นร้อย
ละ...........
นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปานกลาง.......คน คิด
เป็นร้อยละ.................
               นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปรับปรุง........คน
คิดเป็นร้อยละ.............
       8.2 ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................
            8.3 ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอน
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................
            8.4 การปรับปรุงและพัฒนา
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................


                                                 ลงชื่อ…………………………………………

(.................................................................)
                                                           ครู วิทยฐานะครูชำานาญ
การ
9. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................



                                            ลงชื่อ........................................
...ผูตรวจสอบ
     ้

           (......................................................)
                                            หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ




       10. ความเห็นของผู้บริหารโรงเรียน
..................
………………………………………………………………………....................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.....................................................................................
ลงชื่อ.................................................. ผูตรวจสอบ
                                                                     ้

( ..............................................)
                                          ผู้อำานวยการ
โรงเรียน.................................

Contenu connexe

Tendances

คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4 อำนาจ ศรีทิม
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะBoonlert Aroonpiboon
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6อำนาจ ศรีทิม
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2Yatphirun Phuangsuwan
 
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...Kruthai Kidsdee
 
6. หลักสูตรศิลปะ
6. หลักสูตรศิลปะ6. หลักสูตรศิลปะ
6. หลักสูตรศิลปะnang_phy29
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรีเอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรีครูเย็นจิตร บุญศรี
 
แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 10898230029
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะพิพัฒน์ ตะภา
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
กำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะกำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะYatphirun Phuangsuwan
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคนบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคนฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทยฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศYatphirun Phuangsuwan
 
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้Yatphirun Phuangsuwan
 
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003Thidarat Termphon
 

Tendances (20)

คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
 
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
 
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลายหลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
 
6. หลักสูตรศิลปะ
6. หลักสูตรศิลปะ6. หลักสูตรศิลปะ
6. หลักสูตรศิลปะ
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรีเอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
 
แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
 
กำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะกำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะ
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคนบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคน
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
 
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
 
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
 

Similaire à สาระที่ 2 หน่วยที่ 6

การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนKruanchalee
 
กิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐานกิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐานwara
 
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ Sasithon AnnAnn
 
เทคนิตการสอนดนตรี.pptx
เทคนิตการสอนดนตรี.pptxเทคนิตการสอนดนตรี.pptx
เทคนิตการสอนดนตรี.pptxNaphatwarunAinsuwan1
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e soundpantiluck
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yaiแผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yaijutatip3059
 
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1kruruttika
 
Clil pad ครั้งที่ 2
Clil pad ครั้งที่ 2Clil pad ครั้งที่ 2
Clil pad ครั้งที่ 2Praew Kavintra
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u soundpantiluck
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้10871885581
 

Similaire à สาระที่ 2 หน่วยที่ 6 (20)

Asean Lesson Plan
Asean Lesson PlanAsean Lesson Plan
Asean Lesson Plan
 
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
กิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐานกิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐาน
 
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
 
เทคนิตการสอนดนตรี.pptx
เทคนิตการสอนดนตรี.pptxเทคนิตการสอนดนตรี.pptx
เทคนิตการสอนดนตรี.pptx
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yaiแผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
 
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
 
Eis science lesson plan grade 1
Eis science lesson plan grade 1Eis science lesson plan grade 1
Eis science lesson plan grade 1
 
Clil pad ครั้งที่ 2
Clil pad ครั้งที่ 2Clil pad ครั้งที่ 2
Clil pad ครั้งที่ 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u sound
 
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
 
ค่าย
ค่ายค่าย
ค่าย
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
Sci 2009 03
Sci 2009 03Sci 2009 03
Sci 2009 03
 
00000618 0 20130711-103701 (1)
00000618 0 20130711-103701 (1)00000618 0 20130711-103701 (1)
00000618 0 20130711-103701 (1)
 
Reading
ReadingReading
Reading
 

สาระที่ 2 หน่วยที่ 6

  • 1. การจัดทำาหน่วยการเรียนรู้ รายวิชาศิลปะ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ٢ สาระที่ 2 ดนตรี ชื่อหน่วยการเรียนรู้ที่ ٦ วงดนตรี เป้าหมายการเรียนรู้ สาระสำาคัญ ดนตรีไทยซึ่งได้จัดรวบรวมเป็นวงบรรเลงที่ถือว่าเป็นแบบแผนมี อยู่ ๓ อย่าง คือ วงปี่พาทย์ วงเครื่องสาย วงมโหรี แต่ละวงมีขนาดซึ่งถือตามจำานวนเครื่อง ดนตรี และผู้บรรเลงมากน้อยกว่ากันเป็นชื่อวง ดังจะจำาแนกต่อไปนี้ ส่วนหน้าที่ของเครื่องดนตรีแต่ละสิ่งนั้นจะกล่าวไว้ในวงเครื่องใหญ่แห่ง เดียวเพื่อมิให้ต้องซำ้าซากกัน ตัวชี้วัด ศ 2.1 ม.2/1 เปรียบเทียบการใช้องค์ประกอบดนตรีที่มาจาก วัฒนธรรมต่างกัน ศ 2.1 ม.2/2 อ่าน เขียนร้องโน้ตไทย และโน้ตสากลที่มี เครื่องหมายแปลงเสียง คุณลักษณะ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินย ั 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำางาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ
  • 2. หลักฐานที่เป็นผลการเรียนรู้ เป้าหมาย หลักฐานที่เป็นผลการ เรียนรู้ สาระสำาคัญ ดนตรีไทยซึ่งได้จัดรวบรวมเป็นวง 1. ทดสอบประเมิน บรรเลงที่ถือว่าเป็นแบบแผนมีอยู่ ๓ อย่าง คือ ผลก่อนเรียน วงปี่พาทย์ วงเครื่องสาย วงมโหรี แต่ละวงมี 2. ทำาใบงาน ขนาดซึ่งถือตามจำานวนเครื่องดนตรี และผู้ 3. การนำาเสนอผล บรรเลงมากน้อยกว่ากันเป็นชื่อวง ดังจะ งาน จำาแนกต่อไปนี้ ส่วนหน้าที่ของเครื่องดนตรี 4. การแสดงความ แต่ละสิ่งนั้นจะกล่าวไว้ในวงเครื่องใหญ่แห่ง คิดเห็น เดียวเพื่อมิให้ตองซำ้าซากกัน ้ ศ 2.1 ม.2/1 เปรียบเทียบการใช้องค์ประกอบ 1. ใบความรู้ ดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่างกัน 2. ใบงาน ศ 2.1 ม.2/2 อ่าน เขียนร้องโน้ตไทย และโน้ต 3. ซักถามปัญหา สากลที่มีเครื่องหมายแปลงเสียง 4. สรุปความรู้ คุณลักษณะ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1. รายงานการสังเกต 2. ซื่อสัตย์สุจริต พฤติกรรม 3. มีวินัย 2. สังเกตพฤติกรรม 4. ใฝ่เรียนรู้ ด้านคุณธรรมพื้นฐาน 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุงมั่นในการทำางาน ่ 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ
  • 3. การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ ٦ สาระที่ 2 ดนตรี การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
  • 4. หน่วยการเรียนรู้ที่ ٦ เรื่อง วงดนตรี หลักฐาน กิจกรรม สือ/อุปกรณ์ ่ ชั่วโ มง ١.ศึกษาจาก 1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ - ใบความรู้ 1 ใบความรู้ ٢.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา เรื่อง ประเภท เรื่อง ลักษณะของประเภทเครื่องดนตรี เครื่องดนตรี ประเภท ว่าเราสามารถแบ่งประเภทของ ไทย เครื่องดนตรี เครื่องดนตรีออกได้กี่ประเภท - แบบ ไทย ใครรู้บ้าง ครูสุ่มถามนักเรียน ทดสอบ เรื่อง ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบ ประเภทเครื่อง ความรู้ เรื่อง ประเภทเครื่องดนตรี ดนตรีไทย ไทย - V.C.D ٤.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่ม ลักษณะของ เท่าๆกัน แล้ให้นักเรียนศึกษา วงดนตรีไทย ข้อมูล เรื่อง ประเภทเครื่องดนตรี - ภาพเครื่อง ไทยโดยให้แต่ละกลุ่มจดบันทึกให้ ดนตรีไทย เรียบร้อย พร้อมส่งครูให้ เรียบร้อย ٥.นักเรียนครูร่วมกันสนทนา ประเภทของวงดนตรี และลักษณะ ของเครื่องดนตรีว่ามีการแบ่ง ประเภทอย่างไร โดยครูสอบถาม นักเรียน หลังจากนั้นครูให้ นักเรียนที่เป็นตัวแทนของ นักเรียนออกมารายงานหน้าชั้น เรียน โดยครูคอยให้คำาปรึกษา ٦.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา ลักษณะองค์ประกอบดนตรี และ การแบ่งประเภทของเครื่องดนตรี และรูปแบบการสังเกตของเครื่อง ดนตรีว่ามีลักษณะการสังเกต อย่างไร โดยครูอธิบายเพิ่มเติม เพื่อให้นักเรียนเข้าใจยิ่งขึ้น
  • 5. หลักฐาน กิจกรรม สื่อ/อุปกรณ์ ชั่วโ มง 1.ศึกษาจาก ١.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 1.ใบความ 1 ใบความรู้ ٢.นักเรียนและครูร่วมกัน รู้ เรื่อง ประเภท เรื่อง สนทนาลักษณะของประเภท วงดนตรีไทย ประเภทวง เครื่องดนตรี ว่าเราสามารถ 2. แบบ ดนตรีไทย แบ่งประเภทของวงดนตรีออก ทดสอบ เรื่อง ได้กี่ประเภท ใครรู้บ้าง ครูสุ่ม ประเภทวงดนตรี ถามนักเรียน ไทย ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบ 3. V.C.D ความรู้ เรื่อง ประเภทวงดนตรี ลักษณะของวง ไทย ดนตรีไทย ٤.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 4. ภาพ กลุ่มเท่าๆกัน แล้ให้นักเรียน เครื่องดนตรีไทย ศึกษาข้อมูล เรื่อง ประเภทวง ดนตรีไทยโดยให้แต่ละกลุ่มจด บันทึกให้เรียบร้อย พร้อมส่ง ครูให้เรียบร้อย ٥.นักเรียนครูร่วมกันสนทนา ประเภทของวงดนตรีไทย และ ลักษณะของเครื่องดนตรีว่ามี การแบ่งประเภทอย่างไร โดย ครูสอบถามนักเรียน หลังจาก นั้นครูให้นักเรียนที่เป็นตัวแทน ของนักเรียนออกมารายงาน หน้าชั้นเรียน โดยครูคอยให้ คำาปรึกษา ٦.นักเรียนและครูร่วมกัน สนทนาลักษณะของวงดนตรี
  • 6. ไทยประกอบด้วยอะไรบ้าง ลักษณะของการตั้งวง รูปแบบ การเลือกใช้เครื่องดนตรี โดย ครูอธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้ นักเรียนเข้าใจ หลักฐาน กิจกรรม สื่อ/อุปกรณ์ ชั่วโ มง 1.ศึกษาจาก 1.นักเรียนและครูรวมกัน ่ - ใบความรู้ ใบความรู้ สนทนาลักษณะของเพลงไทย เรื่อง เครื่อง เรื่อง เครื่อง และลักษณะของเครื่องดนตรีที่ ดนตรี 4 ภาค ดนตรี 4 มีหลากหลาย และสามารถ - CD เพลง ภาค แยกได้ 4 ภาคใหญ่ มีภาค บรรเลงดนตรี ไหนบ้างนักเรียน ครูสุ่มถาม ไทย 4 ภาค
  • 7. 2.นำาเสนอ นักเรียนในห้อง - ฉิ่ง กรับ ผลการ 2.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบ ฉาบ ศึกษา ความรู้ เรื่อง เครื่องดนตรี 4 ค้นคว้าต่อ ภาค สมาชิกหน้า 3.นักเรียนและครูรวมกัน ่ ชั้นเรียน สนทนาลักษณะเครื่องดนตรี แต่ละภาค มีความแตกต่างกัน อย่างไร และมีลักษณะเป็น อย่างไร โดยให้นักเรียน สังเกตจากใบความรู้ 4.ครูให้นักเรียนแบ่ง 4 กลุ่ม เท่าๆกัน แล้วให้แต่ละกลุ่ม ไปศึกษาลักษณะของวงดนตรี พื้นเมือง 4 ภาคว่ามีลักษณะ เป็นอย่างไร และให้แต่ละกลุ่ม ทำาเป็นรายงานมาส่งให้ เรียบร้อย 5. นักเรียนและครูรวมกัน ่ สนทนาหลังจากที่นักเรียนได้ ไปศึกษาลักษณะของเครื่อง ดนตรี 4 ภาคแล้ว นักเรียน แต่ละกลุมก็ได้ทราบแล้ว จาก ่ นั้นครูให้ตัวแทนนักเรียนแต่ละ กลุ่มออกมารายงานหน้าชั้น เรียน โดยให้แต่ละกลุมส่ง ่ แบบรายงาน 5. นักเรียนและครูรวมกัน ่ สนทนาลักษณะองค์ประกอบ ของวงดนตรี และลักษณะ ของการบรรเลงว่าแต่ละภาคมี ความเป็นเอกลักษณ์อย่างไร และลักษณะของเครื่องดนตรี เป็นอย่างไร
  • 8. หลักฐาน กิจกรรม สื่อ/อุปกรณ์ ชั่วโ มง 1.ศึกษาจาก 1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ - ใบความรู้ 1 ใบความรู้ ٢.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา เรื่อง ประวัติ เรื่อง ประวัติ ลักษณะของประเภทเครื่องดนตรี ดนตรีสากล ดนตรีสากล สากล ว่าเราสามารถแบ่งประเภท - แบบทดสอบ ของวงดนตรีสากล ออกได้กี่ เรื่อง ประวัติ ประเภท ใครรู้บ้าง ครูสุ่มถาม ดนตรีสากล นักเรียน - V.C.D ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบ ลักษณะของวง ความรู้ เรื่อง ประวัติดนตรีสากล ดนตรีสากล ٤.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่ม - ภาพเครื่อง เท่าๆกัน แล้ให้นักเรียนศึกษา ดนตรีสากล ข้อมูล เรื่อง ประวัติดนตรีสากล โดยให้แต่ละกลุ่มจดบันทึกให้ เรียบร้อย พร้อมส่งครูให้ เรียบร้อย ٥.นักเรียนครูร่วมกันสนทนา ประเภทของวงดนตรีสากล และ ลักษณะของเครื่องดนตรีว่ามีการ แบ่งประเภทอย่างไร โดยครู สอบถามนักเรียน หลังจากนั้นครู ให้นักเรียนที่เป็นตัวแทนของ นักเรียนออกมารายงานหน้าชั้น เรียน และส่งรายงานให้ เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำา ปรึกษา ٦.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา ลักษณะของวงดนตรีสากล ประกอบด้วยอะไรบ้าง ลักษณะ ของการตั้งวง รูปแบบการเลือก ใช้เครื่องดนตรีสากล โดยครู อธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียน
  • 9. เข้าใจ หลักฐาน กิจกรรม สื่อ/อุปกรณ์ ชั่วโ มง 1.ศึกษาจาก ١.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ - ใบความรู้ 1 ใบความรู้ ٢.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา เรื่อง ลักษณะ เรื่อง ลักษณะของประเภทเครื่องดนตรี ของวงดนตรี ลักษณะของ สากล และลักษณะของวงดนตรี สากล วงดนตรี สากล แบ่งออกได้กี่ประเภท ใคร - ใบงาน สากล รู้บ้าง ครูสุ่มถามนักเรียน เรื่อง ลักษณะ ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบ ของวงดนตรี ความรู้ เรื่อง ลักษณะของวง สากล ดนตรีสากล - V.C.D ٤.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่ม ลักษณะของวง เท่าๆกัน แล้ให้นักเรียนศึกษา ดนตรีสากล ข้อมูล เรื่อง ลักษณะของวง - ภาพเครื่อง ดนตรีสากล โดยให้แต่ละกลุ่มจด ดนตรีสากล บันทึกให้เรียบร้อย พร้อมส่งครู ให้เรียบร้อย ٥.นักเรียนครูร่วมกันสนทนา ประเภทของวงดนตรีสากล และ ลักษณะของเครื่องดนตรีว่ามีการ แบ่งประเภทอย่างไร โดยครู สอบถามนักเรียน หลังจากนั้นครู ให้นักเรียนที่เป็นตัวแทนของ นักเรียนออกมารายงานหน้าชั้น
  • 10. เรียน และส่งรายงานให้ เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำา ปรึกษา ٦.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา ลักษณะของวงดนตรีสากล ประกอบด้วยอะไรบ้าง ลักษณะ ของการตั้งวง รูปแบบการเลือก ใช้เครื่องดนตรีสากล โดยครู อธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียน เข้าใจ หลักฐาน กิจกรรม สือ/อุปกรณ์ ่ ชั่วโม ง 1.ศึกษา 1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ - ใบความรู้ 1 จากใบ ٢.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา เรื่อง ความรู้ ลักษณะของประเภทเครื่องดนตรี เครื่องหมาย เรื่อง สากล และลักษณะของวงดนตรี และ เครื่องหมา สากล และลักษณะของสัญลักษณ์ สัญลักษณ์ ยและ ของโน้ตสากลและโน้ต แตกต่าง ทางดนตรี สัญลักษณ์ กันอย่างไร ครูถามนักเรียนใน - ใบงาน ทางดนตรี ห้อง เรื่อง ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบ เครื่องหมาย ความรู้ เรื่อง เครื่องหมายและ และ สัญลักษณ์ทางดนตรี สัญลักษณ์ ٤.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 5 กลุ่ม ทางดนตรี เท่าๆกัน แล้ให้นักเรียนศึกษา - V.C.D
  • 11. ข้อมูล เรื่อง เครื่องหมายและ ลักษณะของ สัญลักษณ์ทางดนตรี ว่าเป็น วงดนตรี อย่างไร หลังจากที่นักเรียนได้ สากล ศึกษาจากใบความรู้แล้ว พร้อมทั้ง - ภาพเครื่อง จดบันทึกมาส่งครูให้เรียบร้อย ดนตรีสากล ٥.นักเรียนครูร่วมกันสนทนา ประเภทของวงเครื่องหมายและ สัญลักษณ์ทางดนตรี โดยครู สอบถามนักเรียน หลังจากนั้นครู ให้นักเรียนที่เป็นตัวแทนของ นักเรียนออกมารายงานหน้าชั้น เรียน และส่งรายงานให้เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำาปรึกษา ٦.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา ลักษณะของเครื่องหมายและ สัญลักษณ์ทางดนตรี ว่ามีส่วน สำาคัญต่อการเล่นดนตรีและปฏิบัติ ดนตรีไทยและสากลเป็นอย่างมาก เราจึงต้องศึกษาลักษณะของตัว โน้ตให้เข้าใจก่อนนะนักเรียน ครู อธิบายหลักความสำาคัญของตัว โน้ตประเภทต่างๆ หลักฐาน กิจกรรม สือ/ ่ ชั่วโม อุปกรณ์ ง 1.ศึกษา 1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ - ใบความ 1 จากใบ ٢.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา รู้ เรื่อง ความรู้ ลักษณะของประเภทเครื่องดนตรี แนวเพลง เรื่อง แนว สากล และลักษณะของวงดนตรีสากล สากล เพลง และลักษณะของสัญลักษณ์ของโน้ต - ใบงาน
  • 12. สากล สากลและโน้ต และแนวเพลงของกน เรื่อง แนว ตรีสากล ว่ามีความแตกต่างจากแนว เพลงสากล เพลงไทยอย่างไร ครูสุ่มนักเรียนออก - V.C.D มาอธิบายหน้าชั้นเรียนให้เพื่อนฟัง ลักษณะ ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ ของวง เรื่อง แนวเพลงสากล ดนตรีสากล ٤.ครูให้นักเรียนแต่ละคนไปศึกษา - ภาพ ลักษณะของแนวเพลงไทย และสากล เครื่อง พร้อมทั้งอธิบายมาให้เรียบร้อย โดย ดนตรีสากล ครูคอยให้คำาปรึกษา ٥.นักเรียนครูร่วมกันสนทนาประเภท ของวงเครื่องหมายและสัญลักษณ์ทาง ดนตรี และลักษณะของแนวเพลงที่ นักเรียนศึกษาว่ามีลักษณะและรูป แบบเป็นอย่างไร จากนั้นครูสุ่ม นักเรียนออกมาอธิบายหน้าชั้นเรียน โดยครูจะสุ่มตามเลขที่ โดยครูคอย ให้คำาปรึกษา ٦.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา ลักษณะของเครื่องหมายและ สัญลักษณ์ทางดนตรี และลักษณะ ของเพลงทั้งไทยและสากล แตกต่าง กันอย่างไร โดยครูอธิบายเพิ่มเติม จากที่นักเรียนได้ศึกษามา โดยครู อธิบายวิธีการสังเกต และการ วิเคราะห์ว่าทำาอย่างไร จากนั้นครูก็ สรุปบทเรียนโดยครูทบทวนบทเรียน
  • 13. หลักฐาน กิจกรรม สือ/ ่ ชั่วโม อุปกรณ์ ง 1.ศึกษา 1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ - ใบความ 1 จากใบ ٢.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา รู้ เรื่อง ความรู้ ลักษณะของเพลงไทย ว่ามีรูปแบบ ประเภท เรื่อง อย่างไร โดยครูได้สุ่มนักเรียนตอบ เพลงไทย ประเภท ภายในห้อง - ใบงาน เพลงไทย ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง เรื่อง ประเภทเพลงไทย ประเภท ٤.ครูให้นักเรียนแต่ละคนไปศึกษา เพลงไทย ลักษณะของแนวเพลงไทย และสากล - V.C.D พร้อมทั้งอธิบายมาให้เรียบร้อย โดย ลักษณะ ครูคอยให้คำาปรึกษา ของวง ٥.นักเรียนครูร่วมกันสนทนาประเภท ดนตรีสากล ของเพลงไทยว่ามีรูปแบบและ - ภาพ โครงสร้างอย่างไร และลักษณะของ เครื่อง แนวเพลง จากนั้นครูสุ่มนักเรียนออก ดนตรีสากล มาอธิบายหน้าชั้นเรียน โดยครูจะสุ่ม ตามเลขที่ โดยครูคอยให้คำาปรึกษา ٦.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา ลักษณะของ และลักษณะของเพลงทั้ง ไทยและสากล แตกต่างกันอย่างไร โดยครูอธิบายเพิ่มเติมจากที่นักเรียน ได้ศึกษามา โดยครูอธิบายวิธีการ สังเกต และการวิเคราะห์ว่าทำา อย่างไร จากนั้นครูก็สรุปบทเรียน โดยครูทบทวนบทเรียน
  • 14. หลักฐาน กิจกรรม สื่อ/ ชั่วโม อุปกรณ์ ง 1.ศึกษา ١.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ - ใบ 1 จากใบ ٢.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา ความรู้ ความรู้ ลักษณะของเพลงไทยอัตราจังหวะ 2 เรื่อง เรื่อง ชั้น ว่ามีรูปแบบอย่างไร โดยครูได้สุ่ม ประเภท ประเภท นักเรียนตอบภายในห้อง เพลง 2 เพลง 2 ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ ชั้น ชั้น เรื่อง ประเภทเพลง 2 ชั้น - ใบงาน ٤.ครูให้นักเรียนแต่ละคนไปศึกษา เรื่อง ลักษณะของแนวเพลงไทย ในอัตรา ประเภท จังหวะ 2 ชั้น พร้อมทั้งอธิบายมาให้ เพลง 2 เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำาปรึกษา ชั้น ٥.นักเรียนครูร่วมกันสนทนาประเภท - V.C.D ของเพลงไทยว่ามีรูปแบบและ ลักษณะ โครงสร้างอย่างไร จากนั้นครูสุ่ม ของวง นักเรียนออกมาอธิบายหน้าชั้นเรียน ดนตรี โดยครูคอยให้คำาปรึกษา สากล ٦.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา - ภาพ ลักษณะของ และลักษณะของเพลงทั้ง เครื่อง ไทยในอัตราจังหวะ 2 ชั้น โดยครู ดนตรี อธิบายเพิ่มเติมจากที่นักเรียนได้ศึกษา สากล มา โดยครูอธิบายวิธีการสังเกต และ การวิเคราะห์ว่าทำาอย่างไร จากนั้นครู ก็สรุปบทเรียนโดยครูทบทวนบทเรียน
  • 15. หลักฐาน กิจกรรม สื่อ/ ชั่วโม อุปกรณ์ ง 1.ศึกษา 1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ - ใบ 1 จากใบ ٢.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา ความรู้ ความรู้ ลักษณะของเพลงไทยอัตราจังหวะ 2 เรื่อง เรื่อง ชั้น ว่ามีรูปแบบอย่างไร โดยครูได้สุ่ม ประเภท ประเภท นักเรียนตอบภายในห้อง เพลง 2 เพลง 2 ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ ชั้น ชั้น แล้วนักเรียนก็ได้ทราบลักษณะของ - V.C.D เพลงร้องที่มีอัตราจังหวะว่าเป็น เพลงไทย อย่างไร เดิม 4.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา - ภาพ ลักษณะของเพลงลาวดวงเดือน โดย เครื่อง ครูอธิบายประวัติเพลงลาวดวงเดือน ดนตรีไทย ลักษณะของโน้ตเพลงลาวดวงเดือน ครูได้สาธิตการขับร้องเพลงลาวดวง เดือน เพื่อให้นักเรียนได้ทราบจังหวะ และเทคนิคการร้อง โดยครูสาธิตไปที ละขั้นตอน ٥.นักเรียนและครูร่วมกันขับร้องโน้ต เพลงลาวดวงเดือนอย่างสนุกสนาน โดยครคอยให้คำาปรึกษา ٦.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา ลักษณะของ และลักษณะของเพลงทั้ง ไทยในอัตราจังหวะ 2 ชั้น โดยครู อธิบายเพิ่มเติมจากที่นักเรียนได้ศึกษา
  • 16. มา โดยครูอธิบายวิธีการสังเกต และ การวิเคราะห์ว่าทำาอย่างไร จากนั้นครู ก็สรุปบทเรียนโดยครูทบทวนบทเรียน หลักฐาน กิจกรรม สื่อ/ ชั่วโม อุปกรณ์ ง 1.ศึกษา ١.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ - ใบ 1 จากใบ ٢.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา ความรู้ ความรู้ ลักษณะของประเภทเครื่องดนตรีสากล เรื่อง เรื่อง และลักษณะของวงดนตรีสากล ว่า บรรทัด 5 บรรทัด ลักษณะการบันทึกของตัวโน้ตดนตรี เส้น 5 เส้น ไทย และดนตรีสากล มีความแตกต่าง - แบบ กันอย่างไร ครูสุ่มถามนักเรียน ทดสอบ ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง เรื่อง บรรทัด 5 เส้น บรรทัด 5 ٤.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่มเท่าๆ เส้น กัน แล้ให้นักเรียนศึกษาข้อมูล เรื่อง - V.C.D บรรทัด 5 เส้น ว่ามีลักษณะเป็น ลักษณะ อย่างไร โดยครูให้นักเรียนจดบันทึกมา ของวง ส่งครูให้เรียบร้อย ดนตรี ٥.นักเรียนครูร่วมกันสนทนาประเภท สากล ของการบันทึกตัวโน้ตลงในบรรทัด 5 - ภาพ เส้น หลังจากนั้นครูให้นักเรียนที่เป็น เครื่อง
  • 17. ตัวแทนของนักเรียนออกมารายงาน ดนตรี หน้าชั้นเรียน และส่งรายงานให้ สากล เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำาปรึกษา 6.ครูสาธิตการบันทึกตัวโน้ตลงใน บรรทัด 5 เส้น โดยให้นักเรียนดูทีละ ขันตอน หลังจากนั้นครูให้นักเรียนฝึก ้ เขียนตัวโน้ต และบันทึกลงในบรรทัด 5 เส้น ให้เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำา ปรึกษา ٧.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา ลักษณะของบรรทัด 5 เส้น ว่ามีส่วน สำาคัญต่อการเล่นดนตรีและปฏิบัติดนตรี ไทยและสากลเป็นอย่างมาก เราจึงต้อง ศึกษาลักษณะของตัวโน้ตให้เข้าใจก่อน ก่อนที่นักเรียนจะฝึกบันทึกตัวโน้ต ครู อธิบายหลักความสำาคัญของตัวโน้ต ประเภทต่าง แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ ٦ เรื่อง วงดนตรี กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปศึกษา ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ٢ วิชา ศิลปะ เวลาเรียน ١٠ ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ ٦ วงดนตรี ปีการ ศึกษา .........
  • 18. 1. สาระที่ 2 ดนตรี 2. มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่าง อิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน 3. ตัวชี้วัด ศ 2.1 ม.2/1 เปรียบเทียบการใช้องค์ประกอบดนตรีที่มาจาก วัฒนธรรมต่างกัน ศ 2.1 ม.2/2 อ่าน เขียนร้องโน้ตไทย และโน้ตสากลที่มี เครื่องหมายแปลงเสียง 4. สาระสำาคัญ ดนตรีไทยซึ่งได้จัดรวบรวมเป็นวงบรรเลงที่ถือว่าเป็นแบบแผนมี อยู่ ๓ อย่าง คือ วงปี่พาทย์ วงเครื่องสาย วงมโหรี แต่ละวงมีขนาดซึ่งถือตามจำานวนเครื่องดนตรี และผู้บรรเลงมากน้อยกว่ากันเป็นชื่อวง ดังจะจำาแนกต่อไปนี้ ส่วน หน้าที่ของเครื่องดนตรีแต่ละสิ่งนั้นจะกล่าวไว้ในวงเครื่องใหญ่แห่งเดียว เพื่อมิให้ต้องซำ้าซากกัน 1.1ความรู้ 1. องค์ประกอบของดนตรีไทย 2. ประเภทของวงดนตรีไทย 3. อ่าน เขียนโน้ตสากล 4. อ่านเขียนโน้ตไทย 5. ลักษณะของเครื่องหมายของโน้ต 1.2ทักษะกระบวนการ 1. กระบวนความรู้ และความเข้าใจ 2. กระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ 3. กระบวนการกลุ่ม
  • 19. 4. กระบวนการแก้ปัญหา 1.3คุณลักษณะ 1. ใฝ่รู้ใฝ่เรียน 2. รักความเป็นไทย 3. มุ่งมั่นในการทำางาน 4. มีคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ 5. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ 1 เรื่อง ประเภทเครื่องดนตรีไทย (เวลาเรียน 1 ้ ชั่วโมง) 1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของประเภทเครื่องดนตรี ว่าเราสามารถแบ่งประเภทของเครื่องดนตรีออกได้กี่ประเภท ใครรู้บ้าง ครูสุ่มถามนักเรียน 3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง ประเภทเครื่องดนตรี ไทย 4.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่มเท่าๆกัน แล้ให้นักเรียนศึกษา ข้อมูล เรื่อง ประเภทเครื่องดนตรีไทยโดยให้แต่ละกลุ่มจดบันทึกให้ เรียบร้อย พร้อมส่งครูให้เรียบร้อย 5.นักเรียนครูร่วมกันสนทนาประเภทของวงดนตรี และลักษณะ ของเครื่องดนตรีว่ามีการแบ่งประเภทอย่างไร โดยครูสอบถามนักเรียน หลังจากนั้นครูให้นักเรียนที่เป็นตัวแทนของนักเรียนออกมารายงาน หน้าชั้นเรียน โดยครูคอยให้คำาปรึกษา 6. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะองค์ประกอบดนตรี และการแบ่งประเภทของเครื่องดนตรีและรูปแบบการสังเกตของเครื่อง ดนตรีว่ามีลักษณะการสังเกตอย่างไร โดยครูอธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้ นักเรียนเข้าใจยิ่งขึ้น
  • 20. กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ 2 เรื่อง ประเภทวงดนตรีไทย (เวลาเรียน 1 ้ ชั่วโมง) 1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของประเภทเครื่องดนตรี ว่าเราสามารถแบ่งประเภทของวงดนตรีออกได้กี่ประเภท ใครรู้บ้าง ครู สุ่มถามนักเรียน 3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง ประเภทวงดนตรีไทย 4.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่มเท่าๆกัน แล้ให้นักเรียนศึกษา ข้อมูล เรื่อง ประเภทวงดนตรีไทยโดยให้แต่ละกลุ่มจดบันทึกให้ เรียบร้อย พร้อมส่งครูให้เรียบร้อย 5.นักเรียนครูร่วมกันสนทนาประเภทของวงดนตรีไทย และ ลักษณะของเครื่องดนตรีว่ามีการแบ่งประเภทอย่างไร โดยครูสอบถาม นักเรียน หลังจากนั้นครูให้นักเรียนที่เป็นตัวแทนของนักเรียนออกมา รายงานหน้าชั้นเรียน โดยครูคอยให้คำาปรึกษา 6. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของวงดนตรีไทย ประกอบด้วยอะไรบ้าง ลักษณะของการตั้งวง รูปแบบการเลือกใช้ เครื่องดนตรี โดยครูอธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนเข้าใจ กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ 3 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล (เวลา 1 ชั่วโมง) ้ 1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของประเภทเครื่องดนตรี สากล ว่าเราสามารถแบ่งประเภทของวงดนตรีสากล ออกได้กี่ประเภท ใครรู้บ้าง ครูสุ่มถามนักเรียน 3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง ประวัติดนตรีสากล 4.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่มเท่าๆกัน แล้ให้นักเรียนศึกษา ข้อมูล เรื่อง ประวัติดนตรีสากล โดยให้แต่ละกลุ่มจดบันทึกให้เรียบร้อย พร้อมส่งครูให้เรียบร้อย 5.นักเรียนครูร่วมกันสนทนาประเภทของวงดนตรีสากล และ ลักษณะของเครื่องดนตรีว่ามีการแบ่งประเภทอย่างไร โดยครูสอบถาม นักเรียน หลังจากนั้นครูให้นักเรียนที่เป็นตัวแทนของนักเรียนออกมา รายงานหน้าชั้นเรียน และส่งรายงานให้เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำา ปรึกษา 6. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของวงดนตรีสากล ประกอบด้วยอะไรบ้าง ลักษณะของการตั้งวง รูปแบบการเลือกใช้ เครื่องดนตรีสากล โดยครูอธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนเข้าใจ
  • 21. กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ 4 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล (เวลา 1 ้ ชั่วโมง) 1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของประเภทเครื่องดนตรี สากล และลักษณะของวงดนตรีสากล แบ่งออกได้กี่ประเภท ใครรู้บ้าง ครูสุ่มถามนักเรียน 3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง ลักษณะของวงดนตรี สากล 4.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่มเท่าๆกัน แล้ให้นักเรียนศึกษา ข้อมูล เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล โดยให้แต่ละกลุ่มจดบันทึกให้ เรียบร้อย พร้อมส่งครูให้เรียบร้อย 5.นักเรียนครูร่วมกันสนทนาประเภทของวงดนตรีสากล และ ลักษณะของเครื่องดนตรีว่ามีการแบ่งประเภทอย่างไร โดยครูสอบถาม นักเรียน หลังจากนั้นครูให้นักเรียนที่เป็นตัวแทนของนักเรียนออกมา รายงานหน้าชั้นเรียน และส่งรายงานให้เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำา ปรึกษา 6. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของวงดนตรีสากล ประกอบด้วยอะไรบ้าง ลักษณะของการตั้งวง รูปแบบการเลือกใช้ เครื่องดนตรีสากล โดยครูอธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนเข้าใจ กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ 5 เรื่อง เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี ้ (เวลา 1 ชั่วโมง) 1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของประเภทเครื่องดนตรี สากล และลักษณะของวงดนตรีสากล และลักษณะของสัญลักษณ์ของ โน้ตสากลและโน้ต แตกต่างกันอย่างไร ครูถามนักเรียนในห้อง 3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง เครื่องหมายและ สัญลักษณ์ทางดนตรี
  • 22. 4.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 5 กลุ่มเท่าๆกัน แล้ให้นักเรียนศึกษา ข้อมูล เรื่อง เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี ว่าเป็นอย่างไร หลัง จากที่นักเรียนได้ศึกษาจากใบความรู้แล้ว พร้อมทั้งจดบันทึกมาส่งครูให้ เรียบร้อย 5.นักเรียนครูร่วมกันสนทนาประเภทของวงเครื่องหมายและ สัญลักษณ์ทางดนตรี โดยครูสอบถามนักเรียน หลังจากนั้นครูให้ นักเรียนที่เป็นตัวแทนของนักเรียนออกมารายงานหน้าชั้นเรียน และส่ง รายงานให้เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำาปรึกษา 6. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของเครื่องหมายและ สัญลักษณ์ทางดนตรี ว่ามีส่วนสำาคัญต่อการเล่นดนตรีและปฏิบัติดนตรี ไทยและสากลเป็นอย่างมาก เราจึงต้องศึกษาลักษณะของตัวโน้ตให้ เข้าใจก่อนนะนักเรียน ครูอธิบายหลักความสำาคัญของตัวโน้ตประเภท ต่างๆ กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ 6 เรื่อง แนวเพลงสากล (เวลา 1 ชั่วโมง) ้ 1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของประเภทเครื่องดนตรี สากล และลักษณะของวงดนตรีสากล และลักษณะของสัญลักษณ์ของ โน้ตสากลและโน้ต และแนวเพลงของกนตรีสากล ว่ามีความแตกต่าง จากแนวเพลงไทยอย่างไร ครูสุ่มนักเรียนออกมาอธิบายหน้าชั้นเรียน ให้เพื่อนฟัง 3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง แนวเพลงสากล 4.ครูให้นักเรียนแต่ละคนไปศึกษาลักษณะของแนวเพลงไทย และสากล พร้อมทั้งอธิบายมาให้เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำาปรึกษา 5.นักเรียนครูร่วมกันสนทนาประเภทของวงเครื่องหมายและ สัญลักษณ์ทางดนตรี และลักษณะของแนวเพลงที่นักเรียนศึกษาว่ามี ลักษณะและรูปแบบเป็นอย่างไร จากนั้นครูสุ่มนักเรียนออกมาอธิบาย หน้าชั้นเรียน โดยครูจะสุ่มตามเลขที่ โดยครูคอยให้คำาปรึกษา 6. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของเครื่องหมายและ สัญลักษณ์ทางดนตรี และลักษณะของเพลงทั้งไทยและสากล แตกต่าง กันอย่างไร โดยครูอธิบายเพิ่มเติมจากที่นักเรียนได้ศึกษามา โดยครู
  • 23. อธิบายวิธีการสังเกต และการวิเคราะห์ว่าทำาอย่างไร จากนั้นครูก็สรุป บทเรียนโดยครูทบทวนบทเรียน กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ ٧ เรื่อง ประเภทเพลงไทย (เวลา 1 ชั่วโมง) ้ 1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของเพลงไทย ว่ามีรูป แบบอย่างไร โดยครูได้สุ่มนักเรียนตอบภายในห้อง 3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง ประเภทเพลงไทย 4.ครูให้นักเรียนแต่ละคนไปศึกษาลักษณะของแนวเพลงไทย และสากล พร้อมทั้งอธิบายมาให้เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำาปรึกษา 5.นักเรียนครูร่วมกันสนทนาประเภทของเพลงไทยว่ามีรูปแบบ และโครงสร้างอย่างไร และลักษณะของแนวเพลง จากนั้นครูสุ่ม นักเรียนออกมาอธิบายหน้าชั้นเรียน โดยครูจะสุ่มตามเลขที่ โดยครู คอยให้คำาปรึกษา 6. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของ และลักษณะของ เพลงทั้งไทยและสากล แตกต่างกันอย่างไร โดยครูอธิบายเพิ่มเติมจากที่ นักเรียนได้ศึกษามา โดยครูอธิบายวิธีการสังเกต และการวิเคราะห์ว่า ทำาอย่างไร จากนั้นครูก็สรุปบทเรียนโดยครูทบทวนบทเรียน กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ ٨ เรื่อง ประเภทเพลง ٢ ชั้น (เวลา 1 ้ ชั่วโมง) 1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของเพลงไทยอัตรา จังหวะ 2 ชั้น ว่ามีรูปแบบอย่างไร โดยครูได้สุ่มนักเรียนตอบภายใน ห้อง 3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง ประเภทเพลง 2 ชั้น 4.ครูให้นักเรียนแต่ละคนไปศึกษาลักษณะของแนวเพลงไทย ใน อัตราจังหวะ 2 ชั้น พร้อมทั้งอธิบายมาให้เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำา ปรึกษา 5.นักเรียนครูร่วมกันสนทนาประเภทของเพลงไทยว่ามีรูปแบบ และโครงสร้างอย่างไร จากนั้นครูสุ่มนักเรียนออกมาอธิบายหน้าชั้น เรียน โดยครูคอยให้คำาปรึกษา
  • 24. 6. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของ และลักษณะของ เพลงทั้งไทยในอัตราจังหวะ 2 ชั้น โดยครูอธิบายเพิ่มเติมจากที่ นักเรียนได้ศึกษามา โดยครูอธิบายวิธีการสังเกต และการวิเคราะห์ว่า ทำาอย่างไร จากนั้นครูก็สรุปบทเรียนโดยครูทบทวนบทเรียน กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ ٩ เรื่อง ปฏิบัติเพลง ٢ ชั้น (เวลา 1 ชั่วโมง) ้ 1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของเพลงไทยอัตรา จังหวะ 2 ชั้น ว่ามีรูปแบบอย่างไร โดยครูได้สุ่มนักเรียนตอบภายใน ห้อง 3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้แล้วนักเรียนก็ได้ทราบ ลักษณะของเพลงร้องที่มีอัตราจังหวะว่าเป็นอย่างไร 4.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของเพลงลาวดวงเดือน โดยครูอธิบายประวัติเพลงลาวดวงเดือน ลักษณะของโน้ตเพลงลาวดวง เดือน ครูได้สาธิตการขับร้องเพลงลาวดวงเดือน เพื่อให้นักเรียนได้ ทราบจังหวะและเทคนิคการร้อง โดยครูสาธิตไปทีละขั้นตอน 5.นักเรียนและครูร่วมกันขับร้องโน้ตเพลงลาวดวงเดือนอย่าง สนุกสนาน โดยครคอยให้คำาปรึกษา 6. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของ และลักษณะของ เพลงทั้งไทยในอัตราจังหวะ 2 ชั้น โดยครูอธิบายเพิ่มเติมจากที่ นักเรียนได้ศึกษามา โดยครูอธิบายวิธีการสังเกต และการวิเคราะห์ว่า ทำาอย่างไร จากนั้นครูก็สรุปบทเรียนโดยครูทบทวนบทเรียน กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ ١٠ เรื่อง บรรทัด ٥ เส้น (เวลา 1 ชั่วโมง) ้ 1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของประเภทเครื่องดนตรี สากล และลักษณะของวงดนตรีสากล ว่าลักษณะการบันทึกของตัว โน้ตดนตรีไทย และดนตรีสากล มีความแตกต่างกันอย่างไร ครูสุ่มถาม นักเรียน 3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง บรรทัด 5 เส้น
  • 25. 4.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่มเท่าๆกัน แล้ให้นักเรียนศึกษา ข้อมูล เรื่อง บรรทัด 5 เส้น ว่ามีลักษณะเป็นอย่างไร โดยครูให้ นักเรียนจดบันทึกมาส่งครูให้เรียบร้อย 5.นักเรียนครูร่วมกันสนทนาประเภทของการบันทึกตัวโน้ตลงใน บรรทัด 5 เส้น หลังจากนั้นครูให้นักเรียนที่เป็นตัวแทนของนักเรียน ออกมารายงานหน้าชั้นเรียน และส่งรายงานให้เรียบร้อย โดยครูคอย ให้คำาปรึกษา 6. ครูสาธิตการบันทึกตัวโน้ตลงในบรรทัด 5 เส้น โดยให้ นักเรียนดูทีละขั้นตอน หลังจากนั้นครูให้นักเรียนฝึกเขียนตัวโน้ต และ บันทึกลงในบรรทัด 5 เส้น ให้เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำาปรึกษา 7. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของบรรทัด 5 เส้น ว่า มีส่วนสำาคัญต่อการเล่นดนตรีและปฏิบัติดนตรีไทยและสากลเป็นอย่าง มาก เราจึงต้องศึกษาลักษณะของตัวโน้ตให้เข้าใจก่อน ก่อนที่นักเรียน จะฝึกบันทึกตัวโน้ต ครูอธิบายหลักความสำาคัญของตัวโน้ตประเภท ต่างๆ 6. สื่ออุปกรณ์และแหล่งเรียนรู้ 1. ใบความรู้ 2. ใบงาน 3. แผนภาพ 4. คำาถาม 5. สถานการณ์/ เหตุการณ์ 6. ของจริง/เครื่องดนตรี 7. อุปกรณ์การเล่นดนตรี 8. อุปกรณ์ในการจัดบอร์ด 9. อินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ 10. หนังสือเรียน เอกสารความรู้ 7. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 7.1 วิธีการวัดและเครื่องมือวัด
  • 26. เป้าหมายการเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือวัด สาระสำาคัญ ดนตรีไทยซึ่งได้จัดรวบรวม 1. ทดสอบ 1. แบบ เป็นวงบรรเลงที่ถือว่าเป็นแบบแผนมี ประเมินผลก่อน ทดสอบประเมิน อยู่ ๓ อย่าง คือ วงปี่พาทย์ เรียน ผลก่อนเรียน วงเครื่องสาย วงมโหรี แต่ละวงมี 2. ตรวจใบงาน 2. แบบ ขนาดซึ่งถือตามจำานวนเครื่องดนตรี 3. การนำาเสนอ ประเมินใบงาน และผู้บรรเลงมากน้อยกว่ากันเป็นชื่อ ผลงาน 3. แบบ วง ดังจะจำาแนกต่อไปนี้ ส่วนหน้าที่ ประเมินการนำา ของเครื่องดนตรีแต่ละสิ่งนั้นจะกล่าว เสนอผลงาน ไว้ในวงเครื่องใหญ่แห่งเดียวเพื่อมิ ให้ตองซำ้าซากกัน ้ ศ 2.1 ม.2/1 เปรียบเทียบการใช้ 1.ใบความรู้ – แบบประเมิน องค์ประกอบดนตรีที่มาจาก เรื่อง ประเภท ใบงาน วัฒนธรรมต่างกัน เครื่องดนตรี – แบบประเมิน ไทย การปฏิบัติงาน 2. แบบทดสอบ กลุ่ม เรื่อง ประเภท เครื่องดนตรี ไทย 3.ใบความรู้ เรื่อง ประเภทวง ดนตรีไทย 4. แบบทดสอบ เรื่อง ประเภทวง ดนตรีไทย 5.ใบความรู้ เรื่อง ประวัติ ดนตรีสากล 6. แบบทดสอบ เรื่อง ประวัติ ดนตรีสากล 7.ใบความรู้ เรื่อง ลักษณะ ของวงดนตรี สากล 8. ใบงาน เรื่อง ลักษณะของวง ดนตรีสากล ศ 2.1 ม.2/2 อ่าน เขียนร้องโน้ต 1.ใบความรู้ – แบบประเมิน ไทย และโน้ตสากลที่มีเครื่องหมาย เรื่อง ใบงาน แปลงเสียง เครื่องหมายและ – แบบประเมิน
  • 27. 7.2 เกณฑ์การวัด 7.2.1 ข้อสอบปรนัย เลือกคำาตอบได้ถูกข้อละ 1 คะแนน 7.2.2 แบบประเมินการปฏิบัติงานกลุ่ม 1. การกำาหนด / เป้าหมายร่วมกัน 2. การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ 3. การปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 4. การประเมินและปรับปรุงผลงาน 7.2.3 แบบประเมินก่อนนำาเสนอผลงาน 1. เนื้อหา 2. กลวิธีนำาเสนอ 3. ขั้นตอนการนำาเสนอ 4. การใช้ภาษา 5. ตอบคำาถาม / เวลา 7.2.4 แบบตรวจผลงานเขียนแผนผังความคิด 1. ความคิดรวบยอด 2. ความคิดรอง 3. ความคิดย่อย 4. การเชื่อมโยงความคิด 5. ความสวยงาม 7.2.5 แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 1. ความตั้งใจ 2. ความร่วมมือ 3. ความมีวินัย 4. คุณภาพของผลงาน 5. การนำาเสนอผลงาน 7.2.6 แบบประเมินใบงาน 1. การสรุปเป็นองค์ความรู้ 2. เนื้อหาถูกต้อง ครบถ้วน 3. การบันทึกข้อมูล 4. การอภิปราย 5. การสนทนาซักถาม 7.2.7 แบบประเมินผลงาน / ชิ้นงาน 1. ความคิดสร้างสรรค์
  • 28. 2. ความประณีตสวยงาม 3. ความสะอาด 4. ความแข็งแรงคงทน 5. ทำางานเสร็จทันเวลา 7.2.8 การสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับการวิเคราะห์แผนภาพ 1. คำาตอบเป็นคำาตอบในเชิงบวกได้ 1 คะแนน 2. คำาตอบเป็นคำาตอบในเชิงลบได้ 0 คะแนน 7.2.9 แบบประเมินพฤติกรรมด้านการปฏิบัติตน 1. ความกระตือรือร้น 2. ความร่วมมือ 3. ความรับผิดชอบ 4. การเคารพกติกา 5. ความกล้าแสดงออก 7.2.10 แบบประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรมพื้นฐาน 1. ความขยัน 2. ความมีวินัย 3. ความสะอาด 4. ความสามัคคี 5. ความมีนำ้าใจ 8. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 8.1 ผลการจัดการเรียนรู้ ( นักเรียนทั้งหมด 40 คน ) นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดี........คน คิดเป็นร้อย ละ...........
  • 29. นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปานกลาง.......คน คิด เป็นร้อยละ................. นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปรับปรุง........คน คิดเป็นร้อยละ............. 8.2 ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................. 8.3 ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอน ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................. 8.4 การปรับปรุงและพัฒนา ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................. ลงชื่อ………………………………………… (.................................................................) ครู วิทยฐานะครูชำานาญ การ
  • 30. 9. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................. ลงชื่อ........................................ ...ผูตรวจสอบ ้ (......................................................) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 10. ความเห็นของผู้บริหารโรงเรียน .................. ……………………………………………………………………….................... ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. .....................................................................................
  • 31. ลงชื่อ.................................................. ผูตรวจสอบ ้ ( ..............................................) ผู้อำานวยการ โรงเรียน.................................