SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  44
Télécharger pour lire hors ligne
คาชี้แจง



           แบบฝึ กทักษะการแต่งคําประพันธ์ เล่ม ๔ เรื่ อง ร่ ายสุภาพ ที่นกเรี ยนกําลังอ่านอยูในขณะนี้
                                                                        ั                   ่
เป็ นบทเรี ยนสนุก ๆ ที่นกเรี ยนสามารถเรี ยนรู้ดวยตนเองได้โดยวิธีง่าย ๆ ก่อนอื่นนักเรี ยนต้องปฏิบติ
                          ั                     ้                                               ั
ตามกติกาในการใช้แบบฝึ กทักษะดังนี้
            ๑. ให้เตรี ยมสมุด ปากกา เพื่อใช้สาหรับเขียนตอบกิจกรรมในแบบฝึ กทักษะ
                                              ํ
            ๒. ให้ทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนเพื่อตรวจสอบความรู้พ้ืนฐาน ห้ามดูเฉลยก่อนตอบ
                     ํ
            ๓. ให้ศึกษาเนื้อหาสาระและฝึ กปฏิบติตามที่แบบฝึ กกําหนดไปตามลําดับ ถ้าไม่เข้าใจหรื อ
                                                  ั
เกิดปัญหานักเรี ยนสามารถเปิ ดกลับไปศึกษาเนื้อหาที่ผานมาได้หรื อสอบถามครู ผสอน
                                                      ่                         ู้
            ๔. เมื่อเรี ยนครบทุกแบบฝึ กแล้วให้ทาแบบทดสอบหลังเรี ยนเพื่อประเมินความรู้ที่ได้ จาก
                                                    ํ
แบบฝึ กโดยที่ไม่เปิ ดดูเฉลยก่อนตอบ
            ๕. ในการเฉลยแบบฝึ กครู และนักเรี ยนร่ วมกันเฉลยตามภาคผนวก
            ๖. คะแนนทดสอบก่อนเรี ยน ๑๕ คะแนน คะแนนทดสอบหลังเรี ยน ๑๕ คะแนน
คะแนนแบบฝึ กจาก ๒๐๐ คะแนน เฉลี่ยเป็ นคะแนนจริ ง ๔๐ คะแนน
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ   ๒




  แบบทดสอบก่ อนเรียน แบบฝึ กทักษะการแต่งคาประพันธ์ เรื่อง ร่ ายสุ ภาพ
         วิชาวรรณศิลป์ ไทย ท ๓๒๒๐๒ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕

คาสั่ง จงเลือกตอบข้อที่เห็นว่าถูกต้องที่สุด โดยทําเครื่ องหมาย x ในช่องตัวอักษรของ
       กระดาษคําตอบ จํานวน ๑๕ ข้อ เวลา ๒๐ นาที คะแนนเต็ม ๑๕ คะแนน



 ๑. ข้อใดคือโคลงสองสุภาพ
   ก. ใครรานใครรุ กด้าว แดนไทย
   ข. หายากฝากผีไข้ ยากแท้จกหา
                           ั
   ค. ฝ่ ายพระนครรามัญ ขัณฑ์เขตด้าวอัสดง
   ง. พระพลันทรงเครื่ องต้น งามประเสริ ฐเลิศล้น แหล่งหล้าควรชม
  ๒. คําส่ง – รับ สัมผัสข้อใดผิดไปจากข้อบังคับของร่ ายสุภาพ
   ก. ข้า – ท่า
   ข. ไกล – ชัย
   ค. กราบ – ทราบ
   ง. เกลื่อน – เลื่อน
  ๓. ข้อใดคือรู ปแบบของร่ ายสุภาพ
    ก. วางเรี ยงวรรคเหมือนความเรี ยงร้อยแก้ว
    ข. วางบาทละ ๓ – ๔ วรรค
    ค. วางบาทละ ๒ วรรค
    ง. ทุกข้อ
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ       ๓


๔. ข้อบังคับใดที่เคร่ งครัดที่สุดในการแต่งร่ ายสุภาพ
  ก. ต้องมีวรรคละ ๕ คํา
  ข. ต้องลงจบด้วยโคลงสองสุภาพ
  ค. บทหนึ่ง ๆ ต้องมีไม่นอยกว่า ๑๐ วรรค
                         ้
  ง. ต้องส่งสัมผัสจากคําสุดท้ายวรรคไปยังคําที่ ๓ ของวรรคถัดไป
๕. ข้อใดคือความนิยมในการแต่งร่ าย
 ก. แต่งเป็ นเรื่ องยาว ๆ และแต่งคละกันไปกับโคลง
 ข. แต่งเป็ นเรื่ องสั้น ๆ และแต่งคละกันไปกับโคลง
  ค. แต่งเป็ นเรื่ องยาว ๆ และแต่งคละกันไปกับกลอนสุภาพ
  ง. แต่งเป็ นเรื่ องสั้น ๆ และแต่งคละกันไปกับกลอนสุภาพ
๖. ข้อใดคือการจัดวรรคแบบร่ ายสุภาพ
 ก. เอ็มพีสามสุดรัก ฟังไม่พกหูตึง เราพึงตรองการใช้
                           ั
 ข. วันนี้ นังเปิ ดอินเตอร์เน็ต เจอภาพเด็ดคลิปเรนเจอร์
             ่
 ค. แชทกันไปแชทกันมา ไม่เคยพบหน้า เสียท่าหมดตัว
 ง. เอ็มพีสี่สงได้ หนังสือเรี ยนเอาเก็บไว้ สอบตกอยูร่ ําไป อนิจจา
              ่ั                                   ่
๗. ข้อใดคือตอนจบบทของร่ ายสุภาพ
  ก.
   ข.
   ค.                                                                    (           )
   ง.                                                                                      (       )
๘. ข้อใดไม่ มี “สัมผัสใน”
   ก. กระดังงาเลื้อยซุม
                      ้
   ข. กระดุมทองถูกเด็ด
   ค. ดาวเรื องดอกโรยรา
   ง. สิ้นกลิ่นกุหลาบโชย
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ   ๔


๙. ข้อใดคือคําสุภาพทั้งหมด
  ก. ศรัทธา พาใจ
  ข. ค่าลํ้า นํ้าใจ
  ค. ยิงใคร จริ งใจ
       ่
  ง. เสื่อมใส เข้าใจ
๑๐. “สัมผัสใน” ของวรรคใดที่แตกต่างจากวรรคอื่น ๆ
 ก. ข้าศึกดูดาษเดียร
 ข. หงายงาเสยสารศึก
 ค. เรี่ ยวรณรงค์เริ งแรง
 ง. สองคชชนชาญเชี่ยว
๑๑. ข้อใดกล่าวถึงการใช้คาสัมผัสของร่ ายสุภาพได้ถูกต้อง
                        ํ
 ก. ต้องมีสมผัสในทุกวรรค
           ั
 ข. ต้องมีสมผัสเชื่อมวรรคทุกวรรค
           ั
 ค. มีการกําหนดตําแหน่งของคําสัมผัสอย่างเคร่ งครัด
 ง. นิยมใช้สมผัสในไปเป็ นสัมผัสสระมากกว่าสัมผัสอักษร
            ั
๑๒. ข้อใดกล่าวถึงร่ ายสุภาพผิดไป
 ก. รับสัมผัสได้ต้งแต่คาที่ ๑ – ๕
                  ั    ํ
 ข. สัมผัสต้องมีต่อเนื่องกันไปทุกวรรค
 ค. สัมผัสส่ง – รับ ต้องเป็ นคําสุภาพเท่านั้น
 ง. แต่ละวรรคต้องมีจานวนคํา ๕ คํา เพิ่มเป็ น ๖ คําได้เป็ นบางวรรค
                    ํ
๑๓. ข้อใดใช้คาดีเด่นด้านการให้ภาพจินตนาการ
             ํ
 ก. เม็ดนํ้าค้าง
 ข. หยดนํ้าค้าง
 ค. หยาดนํ้าค้าง
 ง. เพชรนํ้าค้าง
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ   ๕


๑๔. ข้อใดแต่งโดยใช้ศิลปะการสรรคํา สัมผัสในและโวหารภาพพจน์
    ก. พระคุณแม่มากมี จงทําดีเพื่อท่าน
    ข. พระคุณแม่มากล้น เป็ นล้นพ้นมากยิง
                                       ่
    ค. พระคุณแม่ยงลํ้า บุญคุณคํ้าเหนือเกล้า
                 ิ่
    ง. พระคุณแม่เทียบฟ้ า ทัวหล้าฟ้ ารายรอบ
                            ่
๑๕. ควรใช้วรรคใดต่อจากวรรคที่กาหนดให้ จึงจะถูกต้องตามข้อบังคับของร่ ายสุภาพ
                              ํ
“เพื่อนมอห้าทับห้า.......................................”
    ก. เราจะฝ่ าอุปสรรค
    ข. เรากล้าหาญชาญชัย
    ค. เรามาพัฒนาท้องถิ่น
    ง. เราอย่าเกียจคร้านเลย
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ   ๖




                          เฉลยแบบทดสอบก่ อนเรียน




     ๑. ง ๒. ก ๓. ง
๔. ข ๕. ก ๖.          ก
๗. ค ๘. ก ๙.          ก
๑๐. ค ๑๑. ข ๑๒. ค
          ๑๓. ง ๑๔. ค ๑๕. ข
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ   ๗




                                           ร่ ายสุ ภาพ


    ความหมาย

           มีผให้ความหมายของร่ ายไว้เหมือน ๆ กัน ดังนี้
               ู้
          วัฒนะ บุญจับ (๒๕๔๔ : ๓๗๐) ให้คาจํากัดความว่า ร่ าย คือคําประพันธ์ที่บงคับสัมผัส
                                                 ํ                                   ั
และการลงท้าย บางชนิดบังคับจํานวนคําในหนึ่งวรรค แต่บางชนิดไม่บงคับ ร่ ายต่างจากคําประพันธ์
                                                                      ั
ชนิดอื่น ๆ ตรงที่ไม่จากัดจํานวนวรรค หรื อจํานวนบาทในหนึ่งบทจะแต่งยาวเท่าไรก็ได้จนกว่าจะ
                       ํ
หมดเนื้อความ ลักษณะการส่งสัมผัสเป็ นพิเศษกว่าคําประพันธ์ชนิดอื่น ๆ โดยร่ ายจะส่งสัมผัสระหว่าง
วรรคต่อ ๆ กันไปทุกวรรค ไม่มสมผัสท้ายวรรค เว้นแต่ตอนจบจบด้วยร่ ายเท่านั้น
                                  ี ั
          พรทิพย์ แฟงสุด (๒๕๔๔ : ๒๘๑) กล่าวไว้ว่า ร่ าย คือ คําประพันธ์ชนิดหนึ่งที่มีสมผัสั
และการลงท้าย แต่ไม่มีกาหนดว่าจะต้องมีกี่บทหรื อกี่บาท จะแต่งยาวเท่าไรก็ได้จนกว่าจะจบ
                           ํ
เนื้อความ แต่ตองมีการเรี ยงคําให้คล้องจองกันตามข้อบังคับเท่านั้น
                  ้
          บุญเหลือ ใจมโน (๒๕๔๙ : ๑๓๑) ให้ความหมายของร่ ายว่า คือ คําประพันธ์ที่บรรยาย
เรื่ องราว จึงมีการแต่งง่ายกว่าคําประพันธ์อื่น ๆ มีการสัมผัสกันไปทุกวรรค ไม่กาหนดจํานวนบาท
                                                                                ํ
หรื อบท (ยกเว้นร่ ายโบราณ และร่ ายสุภาพ ที่กาหนดจํานวนคําในแต่ละวรรค วรรคละ ๕ คํา จบ
                                                   ํ
ด้วยโคลง ๒) เป็ นคําประพันธ์ที่มีลกษณะบังคับน้อยที่สุด และอาจเป็ นเพียงร้อยแก้วที่พฒนามาเป็ น
                                      ั                                                ั
ร้อยกรองโดยเชื่อมคําให้คล้องจองกันเท่านั้น
          วิเชียร เกษประทุม (๒๕๕๐ : ๙๓) ระบุคล้ายกันว่า ร่ าย หมายถึง คําประพันธ์ชนิดหนึ่ง ซึ่ง
ไม่กาหนดว่ามีบทหรื อบาทเท่านั้นเท่านี้ จะแต่งให้ยาวเท่าไรก็ได้ เป็ นแต่ตองเรี ยงคําให้สอดคล้องกัน
       ํ                                                                ้
ตามข้อบังคับเท่านั้น
          บรรจง ชาครัตพงศ์ (๒๕๕๑ : ๘๒) กล่าวว่า ร่ าย เป็ นคําประพันธ์ที่เก่าแก่พอกับโคลง ใช้
แต่งขึ้นต้นไหว้ครู หรื อบูชาเทวดา สดุดีพระมหากษัตริ ย ์ ชมความงามสิ่งต่าง ๆ และสามารถใช้แต่ง
เพื่อบรรยายความรวดเร็ วด้วย
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ       ๘




        จากคําจํากัดความที่กล่าวมาข้างต้นนั้น พอสรุ ปได้ว่า ร่ าย คือ คําประพันธ์ชนิดหนึ่งที่บงคับ
                                                                                              ั
สัมผัส และคําลงท้าย บางชนิดบังคับจํานวนคําในหนึ่งวรรค แต่บางชนิดไม่มีบงคับ ไม่กาหนด
                                                                             ั        ํ
จํานวนบาท และบท จะแต่งยาวเท่าไรก็ได้จนกว่าจะหมดเนื้อความ
                ข้อบังคับในการแต่งร่ ายสุภาพ มีดงนี้
                                                ั

        คณะ

                 ไม่บงคับจํานวนวรรคในบท บทหนึ่งมีกี่วรรคก็ได้ แต่วรรคหนึ่งๆ ให้ มีวรรคละ ๕
                     ั
        คํา อาจเกินไปบ้างได้เป็ นบางวรรค

      สัมผัส

                 สัมผัสบังคับหรื อสัมผัสเชื่อมวรรค คือคําสุดท้ายของวรรคแรกส่ง สัมผัสไปยังคําที่ ๑
        หรื อ ๒ หรื อ ๓ ของวรรคถัดไป และสัมผัสอย่างนี้ต่อเนื่องกันไปทุกวรรค ที่สาคัญอีกข้อหนึ่ง
                                                                                    ํ
        คือ ถ้าลงท้ายด้วย คําสุภาพ (คําที่ไม่มีรูปวรรณยุกต์) ก็ตองสัมผัสกับคําสุภาพด้วยกัน และถ้าลง
                                                                ้
        ท้ายวรรคด้วยคําที่มีรูปวรรณยุกต์ใด คํารับสัมผัสก็ตองมีรูปวรรณยุกต์เดียวกันเท่านั้น
                                                             ้
        นอกจากนี้ สามวรรคสุดท้ายของร่ ายสุภาพแต่ละบท ต้องลงจบด้วย โคลงสองสุภาพ

                                       แผนผังโคลงสองสุ ภาพ
                                     (ตอนจบบทของร่ ายสุภาพ)
     รู ปแบบที่ ๑
                                                                                      (            )

    รู ปแบบที่ ๒


                                                   (         )
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ       ๙



                                    แผนผังร่ ายสุ ภาพ


                         รูปแบบที่ ๑ เรี ยงแบบความเรี ยงร้อยแก้ว


                                                                                            ฯลฯ
                                                                                 (              )
 รูปแบบที่ ๑ จะเรี ยงโดยเว้นวรรคไปเรื่ อยๆ เมื่อหมดบรรทัดแล้วจะเขียนแยกหรื อฉีกวรรคได้



                        รูปแบบที่ ๒ เรี ยงรู ปแบบบาทละ ๒ วรรค




รูปแบบที่ ๒ จะเรี ยงเป็ น บาทละ ๓ หรื อ ๔ วรรค ก็ได้ สามวรรคสุดท้ายเป็ นโคลงสองสุภาพ


                                         ข้ อควรจา

           คํารับสัมผัสในวรรคถัดไป อนุโลมให้เลื่อนไปได้ถึงคําที่ ๔
           ส่วนคําที่ ๕ นั้นลงสัมผัสได้ แต่ไม่นิยม จะลงเมื่อจําเป็ นเท่านั้น
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ      ๑๐




                                 ตัวอย่ างร่ ายสุ ภาพ


   รู ปแบบที่ ๑

          พิศดูคางสระสม พิศศอกกลมกลกลึง สองไหล่พึงใจกาม อกงามเงื่อนไกรสร
   พระกรกลงวงคช นิ้วสลวยชดเล็บเลิศ ประเสริ ฐสรรพสรรพางค์ แต่บาทางค์สุดเกล้า
   พระเกตุงามล้วนเท้า พระบาทไท้งามสม สรรพนา
                                                    (จากลิลิตพระลอ อ้างใน สุ มาลี วีระวงศ์)




   รู ปแบบที่ ๒
                       ฝ่ าแฝกแขมแกมเรา ดงประเดาประดู่
                  หมู่ไม้ยางไม้ยง ตะเคียนสูงสุดหมอก
                                ู
พระยอมดอกมุงเมฆ อเนกไม้หลายพรรณ
                ่
มีวลย์เวียนเกี้ยวกิ่ง ไม้แมกมิ่งใบระบัด
   ั
ลมพานพัดระลอก ดอกดวงพวงเผล็ดช่อ
กระพุมห่อเกสร สลอนบุษบาบาน
      ่
ตระการกลิ่นหอมหื่น ชื่นซรุ กลูกเหลืองล้วน
ใบอ่อนต้นลําอ้วน กิ่งก้านแกมงาม
                                                   (จากลิลิตพระลอ อ้างใน สุ มาลี วีระวงศ์)
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ            ๑๑




                                     แบบฝึ กที่ ๑
                                     ฝึ กอ่านร่ าย


คาสั่ง ให้นกเรี ยนอ่านออกเสียงร่ ายสุภาพต่อไปนี้
           ั

   สองขัตติยายุรยาตร ยังเกรยราชหอทัพ ขุนคชขับช้างเทียบ ทวยหาญเพียบแผ่นภู
ดูมหิมาดาดาษ สระพราศพร้อมโดยขบวน องค์อดิศวรสองกษัตริ ย ์ คอยนฤขัตรพิชย       ั
บัดเดี๋ยวไททฤษฎี พระศรี สารี ริกบรมธาตุ ไขโอภาสโศภิต ช่วงชวลิตพ่างผล ส้มเกลี้ยงกล
กุก่องฟ่ องฟ้ าฝ่ ายทักษิณ ผินแวดวงตรงทัพ นับคํารบสามครา เป็ นทักษิณาวรรตเวียน
ว่ายฉวัดเฉวียนอําพร ผ่านไปอุดรโดยด้าว พลางบพิตรโทท้าว ท่านตั้งสดุดี อยูนา
                                                                        ่
                                            (จากลิลิตตะเลงพ่าย สํานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน)




                      ประเมินผล                            คะแนนเต็ม                 ได้
    อ่านถูกต้องตามเกณฑ์การประเมิน                               ๑๖
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ          ๑๒



๑. ให้นกเรี ยนทําเครื่ องหมาย / แทนการเว้นวรรคดังตัวอย่าง
       ั


       ตัวอย่าง
ข้าจะใช้ชาวในผูสนิท/ชิดชอบอัชฌาสัย/ไปซื้อขายวายล่อง/แล้วให้ท่องเที่ยวเดิน/สรรเสริ ญโฉม
               ้
สองศรี /ทัวบุรีพระลอ/ขับซอยอยศอ้าง/ฦๅลูกกษัตริ ยเ์ จ้าช้าง/ชื่นแท้ใครเทียม/เทียบนา
          ่
        (จากลิลิตพระลอ อ้างใน สุ มาลี วีระวงศ์)



๑.๑ ปู่ ไป่ ผายตอบถ้อยอยูนอยหนึ่งบมินานปู่ ก็ธิญาณเล็งดูกจะช่วยควรฤๅมิควรรู้ท้งมวลทุกอัน
                         ่ ้                             ู                    ั
ด้วยผลกรรม์เขาแต่ก่อนทําหย่อนหย่อนตึงตึงส่วนจะถึงบมิหยุดเท่าว่าพลันสุดพลันม้วยด้วยผล
กรรมเขาเองแต่เพรงเขาทั้งสองทําบุญปองจะไจ้ขอได้พ่ึงบุญตู
                                                            (จากลิลิตพระลอ อ้างใน สุ มาลี วีระวงศ์)



๑.๒ ชมไม้ไหล้สะอาดเหมือนปราสาทพิศาลคือพิมานมลเทียรอาเกียรณ์แกมดอกแดงแสงดุจ
ปัทมราคภาคใบเขียวสรดคือมรกตรุ่ งเรื องดอกเหลืองเพียงทองสุกขาวดุจมุกดาดาษโอภาสพรรณ
พิจิตรพิพิธภูมิลาเนางามเอาใจใช่นอยคล้อยลงถึงดินตํ่า
                ํ               ้
           (จากลิลิตพระลอ อ้างใน สุ มาลี วีระวงศ์)




                     ประเมินผล                        คะแนนเต็ม                   ได้
ทําถูกทั้งหมด ข้อละ ๖ คะแนน                                 ๑๒
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ                         ๑๓


๒. เขียนข้อความนี้โดยเว้นวรรคให้อยูในรู ปแบบของร่ ายสุภาพด้วยลายมือที่สวยงาม
                                   ่
      เป็ นระเบียบ ถูกต้องและอ่านง่าย
        ส่วนสาวเจ้ากํานัลนั้นครั้นจะอยูทาว ธ จะมิหลับขับกันลงเล่นไหล้ชมดอกไม้วลย์
                                       ่ ้                                    ั
เครื อแต่สองเผือนี้จะเฝ้ าสองท้าวเจ้าจอมราชครั้นฝูงนางคลาดคลาลงแล้วสองพระพี่เลี้ยงแก้ว
หับถี่ถวนทุกทวาร
       ้
                                                                                                  (จากลิลิตพระลอ อ้างใน สุ มาลี วีระวงศ์)


๒.๑ เรี ยงคําจัดวรรคตามรูปแบบที่ ๑

................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................


๒.๒ เรี ยงคําจัดวรรคตามรูปแบบที่ ๒
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................



                                  ประเมินผล                                                คะแนนเต็ม                         ได้
    ทําถูกทั้งหมด ข้อละ ๕ คะแนน                                                                  ๑๐
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ   ๑๔




                                         แบบฝึ กที่ ๒
                                         สัมผัสบังคับ


        สัมผัสบังคับของร่ ายสุภาพมีดงต่อไปนี้
                                    ั
        ๑. ใน ๑ บทมีต้งแต่ ๕ วรรคขึ้นไป จัดเป็ นวรรคละ ๕ คํา หรื อจะเกิน ๕ คํา บ้างก็ได้
                      ั
แต่ไม่ควรเกิน ๕ จังหวะในการอ่าน จะแต่งยาวกี่วรรคก็ได้ แต่ตอนจบต้องเป็ นโคลงสองสุภาพเสมอ
        ๒. สัมผัส คําสุดท้ายของวรรคหน้า ต้องสัมผัสกับคําที่ ๑ หรื อ ๒ หรื อ ๓ ของวรรคถัดไป
ทุกวรรค นอกจากตอนจบจะต้องสัมผัสแบบโคลงสองสุภาพ
        ๓. เอกโท มีบงคับคําเอก ๓ แห่ง คําโท ๓ แห่ง ตามแบบของโคลงสองสุภาพ
                    ั
        ๔. ถ้าคําสัมผัสเป็ นคําเป็ น หรื อคําตาย คํารับสัมผัสต้องเป็ นคําเป็ น หรื อคําตายด้วย และคํา
สุดท้ายของบทห้ามเป็ นตําตาย
        ๕. เติมสร้อยในตอนสุดท้ายของบทได้อีก ๒ คํา หรื อจะเติมทุก ๆ วรรคก็ได้ แต่พอถึง
โคลงสองงดเว้นใช้แต่สร้อยของโคลงสองเอง สร้อยชนิดนี้จะต้องให้เหมือนกันทุกวรรค เรี ยกว่า
สร้อยสลับวรรค

     ตัวอย่าง (คําว่า นะพี่ เป็ นคําสร้อยสลับวรรค คําว่า หนึ่งรา เป็ นคําสร้อยของโคลงสอง )

         เจ็บเผือเหลือแผ่นดิน นะพี่ หลากระบิลในแหล่งหล้า นะพี่ บอกแล้วจะไว้หน้าแห่งใด


นะพี่ ความอายใครช่วยได้ นะพี่ อายแก่คนไสร้ท่านหัว นะพี่ แหนงตัวตายดีกว่า นะพี่



สองพี่อย่าถามเผือ นะพี่ เจ็บเผือเหลือแห่งพร้อง โอ้เอ็นดูรักน้อง อย่าซํ้าจําตาย หนึ่งรา
                                                       (จากลิลิตพระลอ อ้างใน สุ มาลี วีระวงศ์)
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ   ๑๕



คาสั่ง จงขีดเส้นโยงคําสัมผัสที่ต่อเนื่องกันไปทุกวรรค ตามตัวอย่าง


๑. ประทบประทะอลวน สองคชชนชาญเชี่ยว เรี่ ยวรณรงค์เริ งแรง แทงถีบฉัดตะลุมบอน
พม่ามอญตายกลาด ข้าศึกสาดปื นโซรม โรมกุทณฑ์ธนู ดูดงพรรษาซ้อง ไป่ ตกต้องคนสาร
                                           ั           ั่
ธุมาการเกิดกระลบ อบอลเวงฟากฟ้ า ดูบ่รู้จกหน้า หนึ่งสิ้นแสงไถง แลนา
                                        ั
   (จากลิลิตตะเลงพ่าย สํานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน)



๒. เคลื่อนพลตามเกล็ดนาค ตากเต็มท่งแถวเถื่อน


     เกลือนกล่นแสนยาทัพ ถับปะทะไพริ นทร์
         ่


     ส่วนหัสดินอุภย เจ้าพระยาไชยานุภาพ
                  ั


     เจ้าพระยาปราบไตรจักร ตรับตระหนักสําเนียง


     เสียงฆ้องกลองปื นศึก อึกเอิกก้องกาหล
  (จากลิลิตตะเลงพ่าย สํานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน)




                         ประเมินผล                              คะแนนเต็ม                ได้
โยงเส้ นถูกต้อง เส้ นละ ๑ คะแนน                                      ๒๐
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ            ๑๖




                                         แบบฝึ กที่ ๓
                                          ฝึ กเติมคา



  คาสั่ง ให้นกเรี ยนเติมคําลงในช่องว่างให้ถกต้อง เหมาะสมและได้ใจความ
             ั                             ู


          ประเพณี ...............   มีสืบสาน..................         เป็ นเวลานมนาน
เกี่ยวกับงานขึ้นปี ใหม่                ...............ปัจจุบน
                                                            ั            ................นี้ ได้เปลี่ยนแปลง
ทัวทุกแห่งเป็ นสากล
  ่                                   .................ยังคงไว้         ให้คนรุ่ นหลังยึดถือ
ว่านี้คือวิถี                         สิ่งดีงามควร..............        ให้เป็ นหลักเป็ นฐาน
ทานปล่อยนกปล่อยปลา                    ....................ขนทราย       ไปถวายวัดวา
ทั้งบูชาสรงนํ้า                       คุณค่าลํ้ากุศล                    บันดลให้เป็ นสุข
ปราศจากทุกข์................        รดนํ้าผูใหญ่ใกล้ไกล
                                               ้                        ท่านให้ชยอวยพร
                                                                                ั
พร้อมคําสอนปฏิบติ
               ั                    .................ความดีงาม          ตามแบบอย่าง...................
เป็ นศรี ควรต่อตั้ง                   เพื่อมิให้พลาดพลั้ง               อยูได้เจริ ญเทอญ
                                                                           ่

                                                                                 (ลิขิต ภิระบัน)




                          ประเมินผล                                 คะแนนเต็ม                  ได้
 เติมถูกช่องว่างละ ๑ คะแนน                                               ๑๐
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ    ๑๗




                                แบบฝึ กที่ ๔
                                ความไพเราะ



การแต่งร่ ายให้ไพเราะงดงามขึ้น ควรใช้ศิลปะการแต่งตามแบบฉบับของร่ าย ดังต่อไปนี้
          ๑. สรรคา เลือกใช้คาที่มีเสียงไพเราะและให้ความหมายดีเด่น ได้แก่ ความหมาย
                            ํ
กินใจ ให้รส อารมณ์ ความรู้สึกแก่ผอ่าน ลองเปรี ยบเทียบดูจะเกิดภาพในจินตนาการที่
                                     ู้
ต่างกัน
          ๒. สัมผัสใน ร่ ายเป็ นคําประพันธ์ที่นิยมเพิ่มสัมผัสในทั้งสัมผัสสระและสัมผัส
อักษร ยิงมากยิงดี แต่ก็ควรระวังอาจเพิมจนสื่อความหมายไม่ได้หรื อไม่ชดเจนหรื อผิด
        ่       ่                         ่                              ั
ความหมาย
          ๓. สานวนโวหาร เลือกใช้สานวนโวหารแบบต่างๆ แทนการกล่าวตรงๆ เรี ยกว่า
                                        ํ
กวีโวหารหรื อโวหารภาพพจน์ เช่น อุปมา อุปลักษณ์ อติพจน์ สัญลักษณ์และบุคคล
สมมุติ หรื อบุคลาธิษฐาน
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ   ๑๘


๑.ให้นกเรี ยนโยงเส้น สัมผัสใน (คําสัมผัสภายในวรรคเดียวกันที่เป็ น สัมผัสอักษร
      ั
  หรื อเรี ยกว่า สัมผัสพยัญชนะ ของแต่ละวรรค ตามตัวอย่าง ในวรรคที่ ๑ และ ๒)


จริ วจราวซุกจรจรัล           บรู้กี่พรรณปูปลา           นกหกดาดาษอยู่


หงส์เหินสู่สระสรง                     เป็ นนํ้าลงลอยล่อง            ทุงทองท่องจรจรัล


จากพรากพรรค์ฟมฟอง
             ู                          คับแคครองคู่ไหว้              ดอกบัวผ้ายจับบัว


ภมรมัวเมาซาบ                      อาบละอองเกสร                สลอนบุษบาบาน
                                       (จากลิลิตพระลอ อ้างใน สุ มาลี วีระวงศ์)



                            ประเมินผล                                คะแนนเต็ม                 ได้
       ตอบถูก วรรคละ ๑ คะแนน                                              ๑๐


๒.ให้นกเรี ยนเขียนคําสัมผัสในที่เป็ นสัมผัสอักษร
      ั
   ๒.๑ สัตว์จตุบาทเนืองนอง สัมผัสอักษร คือ............................................
   ๒.๒ กวางทองท่องเล็มเกรี ยง สัมผัสอักษร คือ............................................
   ๒.๓ หมีเม่นเมียงตามระมาด สัมผัสอักษร คือ............................................
   ๒.๔ กาสรกาจกําเลาะ สัมผัสอักษร คือ............................................
   ๒.๕ พระบอกจงจริ งให้ สัมผัสอักษร คือ............................................



                          ประเมินผล                                คะแนนเต็ม                 ได้
     ตอบถูกข้อละ ๑ คะแนน                                                 ๕
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ               ๑๙


๓. ให้นกเรี ยนเขียนคําสัมผัสสระในร่ ายต่อไปนี้
       ั


              ตัวอย่าง
 แรดร้ายกีดหนามกรอบ                          ชะมดฉมัดหมอบมองเมิน
 สัมผัสสระ คือ กรอบ                                         – หมอบ
                                                  ...............................................................................



  ๓.๑ กระทิงเกริ่ นเตร็ จคู่                   ผีโป่ งกู่กองดง
                                                          ้
 สัมผัสสระ คือ................................................................................................
   ๓.๒ กระจงหลงกระเจิง                          ทรายลองเชิงเล่นฉาว
 สัมผัสสระ คือ...............................................................................................
   ๓.๓ ศรี สวัสดิเดชะ                    ชนะราชอริ นทร์
 สัมผัสสระ คือ...............................................................................................
   ๓.๔ ยินพระยศเกริ กเกรี ยง                        เพียงพกแผ่นลาญใจแกล้วบมิกล้า
 สัมผัสสระ คือ...............................................................................................
   ๓.๕ บค้าอาตม์ออกรงค์                         บคงอาตม์ออกฤทธิ์
 สัมผัสสระ คือ...............................................................................................




                              ประเมินผล                                             คะแนนเต็ม                          ได้
   ตอบถูกข้อละ ๑ คะแนน                                                                     ๕
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ   ๒๐




๔. ให้นกเรี ยนนําตัวอักษรหน้าโวหารภาพพจน์ต่อไปนี้ ไปเติมหน้าข้อที่เห็นว่าใช้
       ั
   โวหารภาพพจน์ตรงกัน
ก. อุปมา             คือ การเปรี ยบสิ่งหนึ่งเหมือนอีกสิ่งหนึ่ง
ข. อุปลักษณ์            คือ การเปรี ยบสิ่งหนึ่งเป็ นอีกสิ่งหนึ่ง
ค. สัญลักษณ์           คือ การใช้สิ่งหนึ่งแทนอีกสิ่งหนึ่ง
ง. อติพจน์            คือ การกล่าวเกินจริ ง
จ. บุคลาธิษฐาน คือ การทําให้สิ่งต่าง ๆ มีกิริยาอาการเหมือนมนุษย์


...................๑. เมฆหมอกขุ่นเคืองโกรธ สายฟ้ าพิโรธแรง แทงรัศมีพุ่งใส่
คนหยาบใหญ่ไหม้เกรี ยม
...................๒. เขาว่าอย่าเทียมเทียบ      ซีว่าเทพสิเปรี ยบไป่ ปาน หนุ่มสะคราญงามนัก
น่าใคร่ รักแห่งพราหมณ์
...................๓. พิศดูครางสระสม            พิศศอกกลมกลกลึง               สองไหล่พึงใจกาม
                   อกงามเงื่อนไกรสร
....................๔. แม่ยนครู เอ๋ ยเอื้อน
                           ิ                    ใบหน้าเปื้ อนนํ้าตา ลูกติดยาหนีเรี ยน
   ใจแม่เจียนขาดแล้ว
....................๕. นักเรี ยนรักการอ่าน ฝ่ าด่านอวิชาชา ปี นบันใดไต่ฟ้า
   เอื้อมมือคว้าดวงดาว




                      ประเมินผล                             คะแนนเต็ม                   ได้
ตอบถูก ข้อละ ๒ คะแนน                                               ๑๐
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ                 ๒๑




                                                      แบบฝึ กที่ ๕
                                                      ฝึ กแต่ งร่ าย


 ๑. ให้นกเรี ยนเติมคําให้ครบ ๑ วรรคของร่ ายสุภาพ (วรรคละ ๕ คํา) โดยให้มีคาสัมผัส
        ั                                                                   ํ
    อักษรเพื่อเพิ่มความไพเราะของเสียง ซึ่งไม่บงคับว่าจะอยูตาแหน่งคําที่เท่าไร
                                              ั           ่ ํ

       ตัวอย่าง มดแดง                  ขยันขันแข็ง

      ๑.๑ นํ้า..................................................................................................................
      ๑.๒ ฟ้ า.................................................................................................................
      ๑.๓ ดาว...............................................................................................................
      ๑.๔ เดือน..............................................................................................................
      ๑.๕ ดิน..................................................................................................................
                           ประเมินผล                                                        คะแนนเต็ม                           ได้
ทําถูกต้อง ข้อละ ๑ คะแนน                                                                            ๕


 ๒. ให้นกเรี ยนแต่งร่ ายต่อจากที่กาหนดไว้ ข้อละ ๑ วรรค (๕ คํา) ให้ถกต้องและไพเราะ
        ั                            ํ                                                         ู
    ๒.๑ ฝนตกไม่ทวฟ้ า .........................................................................
                      ั่
    ๒.๒ ทุ่งรวงทองมองงาม .........................................................................
    ๒.๓ ต่อต้านสารเสพติด .........................................................................
    ๒.๔ วัยรุ่ นไม่วุ่นรัก .........................................................................
    ๒.๕ อ่านเขียนเพียรอุตส่าห์ .........................................................................

                               ประเมินผล                                                     คะแนนเต็ม                         ได้
ทําถูกต้อง ข้อละ ๒ คะแนน                                                                           ๑๐
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ            ๒๒




        ๓. ให้นกเรี ยนแต่งร่ ายสุภาพต่อจากที่กาหนดให้ไม่นอยกว่า ๑๐ วรรค (วรรคละ ๕ คํา อาจ
               ั                              ํ          ้
               มีบางวรรคที่ใช้ ๖คํา) ให้ถกต้องตามข้อบังคับของการแต่งร่ ายสุภาพ และ ให้มีคุณค่า
                                         ู
               ความไพเราะรวมทั้งได้ใจความ


                        ผูประพันธ์...............................................................ชั้น.............เลขที่.........
                          ้


                                                                   ตานก๋ วยสลาก


รี ตรอยคนโบราณ ................................ .....................................

............................... ................................    .....................................

............................... ................................    .....................................

............................... ................................    .....................................

............................... ................................    .....................................

............................... ................................     .....................................




                                                ประเมินผล                                                    คะแนนเต็ม              ได้
       แต่งถูกต้อง ไพเราะ และได้ ใจความดี                                                                       ๒๐
       ครบ ๑๐ วรรค วรรคละ ๒ คะแนน
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ     ๒๓




                                      แบบฝึ กที่ ๖
                            จบด้ วยโคลงสองสุ ภาพ


     เมื่อแต่งร่ ายสุภาพหลายวรรคเชื่อมสัมผัสต่อกันจนจบความแล้ว ต้องลงจบด้วย
    โคลงสองสุภาพ เสมอ


แผนผังโคลงสองสุ ภาพ




                                               (       )

       ตัวอย่าง
                            มิตรดีมีแต่เอื้อ           แม้บ่ใช่ชาติเชื้อ
                      ก่อให้สมพันธ์
                             ั                         ทวีนา
                                                       (ลิขิต ภิระบัน)




    ๑. ให้นกเรี ยนโยงเส้นคําสัมผัสของโคลงสองสุภาพต่อไปนี้
           ั
                ๑.๑ บอกอาการถี่ถอย้       เขาว่าอย่าแคลนน้อย             หนึ่งไว้งานตู
                ๑.๒ สวนใครหนอใคร่ รู้     สวนสมเด็จท้าวชู้                ท่านแล้พระทอง
                                                     (จากลิลิตพระลอ อ้างใน สุ มาลี วีระวงศ์)
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ       ๒๔




 ๒. นักเรี ยนเติมรู ปวรรคยุกต์เอก และโทในโคลงสองสุภาพต่อไปนี้
       ๒.๑ จึ่งจํานองโคลงอาง      ถวายแดบพิตรเจ้าชาง           ทานผูมีบุญ แลนา
       ๒.๒ ข้ากระไดอยูเฝา         บอกขาวพระลอเวา               สูสรอยสวนขวัญ
       ๒.๓ ข่าวบพิตรเจาหลา        เร็ วพีบอกอย่าชา             ทานทาวเสด็จมา แม่นฤๅ
       ๒.๔ มองหนหาตาแหง           เห็นแตไกลกล้องแกลง           ไตเตาตามกัน
       ๒.๕ พรางตัวเองดังนี         หน้าใชหน้าสับปลี             มาไขวถอยเอาเผือ
                                               (จากลิลิตพระลอ อ้างใน สุ มาลี วีระวงศ์)




                 ประเมินผล                         คะแนนเต็ม                     ได้
ข้อ ๑ ทําถูกต้อง ข้อละ ๑ คะแนน                          ๑๒
ข้อ ๒ ทําถูกต้อง ข้อละ ๒ คะแนน



๓. ให้นกเรี ยนแต่งโคลงสองสุภาพ (ตอนจบของร่ ายสุภาพ) ต่อจากที่กาหนดให้ ให้ครบบท
          ั                                                   ํ
   (ใช้คาตายแทนตําแหน่งคําเอกได้)
            ํ
    ๓.๑ หมอกควันคลุมปกไว้ มองไม่เห็นไกลใกล้
      ...................................
    ๓.๒ วินยควรเริ่ มสร้าง ................................
                 ั
    ....................................


                 ประเมินผล                        คะแนนเต็ม                     ได้
ข้อ ๓.๑ และ๓.๒                                         ๑๐
แต่งถูกต้อง ได้ใจความดี ข้อละ ๕ คะแนน
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ         ๒๕




       ๔. ให้นกเรี ยนแต่งโคลงสองสุภาพต่อจากร่ ายที่ยงไม่จบบทนี้ให้ถกต้อง ไพเราะและได้ใจความดี
              ั                                     ั              ู

 ชาวนาไทยลําบาก จนยากเรื่ องทรัพย์สิน
ที่ทากินไม่มี ต้องเช่าที่ทานา
      ํ                                ํ
ปุ๋ ยและยาฆ่าแมลง ก็มาแพงยิงนัก               ่
บางครั้งมักขาดแคลน แสนสุดจะลําบาก
นํ้ามามากข้าวตาย ทุนหายกําไรหด
รันทดแท้ราคา สินค้าพี่นองไทย             ้
............................ ................................
............................ (................................)



                                              ประเมินผล                                    คะแนนเต็ม           ได้
  แต่งถูกต้องตามข้ องบังคับ                                       ๑๐ คะแนน                      ๑๕
  มีคณค่าและความไพเราะ
     ุ                                                            ๓ คะแนน
  ลายมือสวยงาม ถูกรูปแบบ อ่านง่ าย                                ๒ คะแนน
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ           ๒๖




                                                                     แบบฝึ กที่ ๗
                                                               แต่ งร่ ายเป็ นเรื่อง


        คาสั่ง ให้นกเรี ยนแต่งร่ ายสุภาพเรื่ อง วัยรุ่ น ความยาวไม่นอยกว่า ๑๐ วรรค
                    ั                                               ้
                (นับรวมโคลงสองสุภาพตอนจบบท)

        ผูประพันธ์ ชื่อ...............................................................................ชั้น...............เลขที่...........
          ้


          วัยรุ่น
                         ............................................. ................................................
............................................. ................................................
 ............................................. ................................................
............................................. ................................................
............................................. ................................................
............................................. ................................................
............................................. ................................................
............................................. ................................................



                                            ประเมินผล                                                           คะแนนเต็ม            ได้
  แต่งถูกต้อง ได้ใจความดี                                              ๒๐ คะแนน                                           ๓๐
  มีคุณค่าความไพเราะ / สร้างสรรค์                                         ๕ คะแนน
  เขียน หรื อ พิมพ์ถกต้อง สวยงาม
                    ู                                                     ๕ คะแนน
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ       ๒๗




แบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึ กทักษะการแต่งคาประพันธ์ เรื่อง ร่ ายสุ ภาพ
      วิชาวรรณศิลป์ ไทย ท ๓๒๒๐๒ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕

คาสั่ง จงเลือกตอบข้อที่เห็นว่าถูกต้องที่สุด โดยทําเครื่ องหมาย x ในช่องตัวอักษรของ
       กระดาษคําตอบ จํานวน ๑๕ เวลา ๒๐ นาที คะแนนเต็ม ๑๕ คะแนน



๑. ข้อใดคือตอนจบบทของร่ ายสุภาพ
ก.
     ข.
ค.                                                                          (         )
ง.                                                                                    (        )
     ๒. คําส่ง – รับ สัมผัสข้อใดผิดไปจากข้อบังคับของร่ ายสุภาพ
ก. ข้า       – ท่า
ข. ไกล        – ชัย
ค. เกลื่อน       – เลื่อน
ง. กราบ        – ทราบ
     ๓. ข้อใดคือรู ปแบบของร่ ายสุภาพ
ก. วางเรี ยงวรรคเหมือนความเรี ยงร้อยแก้ว
ข. วางบาทละ ๓           – ๔ วรรค
ค. วางบาทละ ๒ วรรค
ง. ทุกข้อ
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ   ๒๘


๔. ข้อใดคือคําสุภาพทั้งหมด
ก. เสื่อมใส เข้าใจ
ข. ศรัทธา พาใจ
ค. ค่าลํ้า นํ้าใจ
ง. ยิงใคร จริ งใจ
     ่

๕. ข้อใดคือความนิยมในการแต่งร่ าย
      ก. แต่งเป็ นเรื่ องยาว ๆ และแต่งคละกันไปกับโคลง
      ข. แต่งเป็ นเรื่ องสั้น ๆ และแต่งคละกันไปกับโคลง
      ค. แต่งเป็ นเรื่ องยาว ๆ และแต่งคละกันไปกับกลอนสุภาพ
      ง. แต่งเป็ นเรื่ องสั้น ๆ และแต่งคละกันไปกับกลอนสุภาพ
๖. ข้อใดคือการจัดวรรคแบบร่ ายสุภาพ
      ก. วันนี้ นังเปิ ดอินเตอร์เน็ต เจอภาพเด็ดคลิปเรนเจอร์
                  ่
      ข. แชทกันไปแชทกันมา ไม่เคยพบหน้า เสียท่าหมดตัว
      ค. เอ็มพีสามสุดรัก ฟังไม่พกหูตึง เราพึงตรองการใช้
                                ั
      ง. เอ็มพีสี่สงได้ หนังสือเรี ยนเอาเก็บไว้ สอบตกอยูร่ ําไป อนิจจา
                   ั่                                   ่
๗. ข้อใดคือโคลงสองสุภาพ
      ก. ใครรานใครรุ กด้าว แดนไทย
      ข. หายากฝากผีไข้ ยากแท้จกหา
                              ั
      ค. ฝ่ ายพระนครรามัญ ขัณฑ์เขตด้าวอัสดง
      ง. พระพลันทรงเครื่ องต้น งามประเสริ ฐเลิศล้น แหล่งหล้าควรชม
๘. ข้อใดไม่ มี “สัมผัสใน”
      ก. กระดังงาเลื้อยซุม
                         ้
      ข. ดาวเรื องดอกโรยรา
      ค. สิ้นกลิ่นกุหลาบโชย
      ง. กระดุมทองถูกเด็ด
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ   ๒๙




๙. ข้อบังคับใดที่เคร่ งครัดที่สุดในการแต่งร่ ายสุภาพ
             ก. ต้องมีวรรคละ ๕ คํา
             ข. ต้องลงจบด้วยโคลงสองสุภาพ
             ค. บทหนึ่ง ๆ ต้องมีไม่นอยกว่า ๑๐ วรรค
                                    ้
             ง. ต้องส่งสัมผัสจากคําสุดท้ายวรรคไปยังคําที่ ๓ ของวรรคถัดไป
        ๑๐. “สัมผัสใน” ของวรรคใดที่แตกต่างจากวรรคอื่น ๆ
        ก. สองคชชนชาญเชี่ยว
        ข. หงายงาเสยสารศึก
        ค. เรี่ ยวรณรงค์เริ งแรง
        ง. ข้าศึกดูดาษเดียร
        ๑๑. ข้อใดกล่าวถึงการใช้คาสัมผัสของร่ ายสุภาพได้ถูกต้อง
                                ํ
        ก. ต้องมีสมผัสในทุกวรรค
                  ั
        ข. ต้องมีสมผัสเชื่อมวรรคทุกวรรค
                  ั
        ค. มีการกําหนดตําแหน่งของคําสัมผัสอย่างเคร่ งครัด
        ง. นิยมใช้สมผัสในไปเป็ นสัมผัสสระมากกว่าสัมผัสอักษร
                   ั
        ๑๒. ข้อใดกล่าวถึงร่ ายสุภาพผิดไป
        ก. แต่ละวรรคต้องมีจานวนคํา ๕ คํา เพิ่มเป็ น ๖ คําได้เป็ นบางวรรค
                           ํ
        ข. สัมผัสส่ง      – รับ ต้องเป็ นคําสุภาพเท่านั้น
        ค. สัมผัสต้องมีต่อเนื่องกันไปทุกวรรค
        ง. รับสัมผัสได้ต้งแต่คาที่ ๑
                         ั    ํ          –๕
        ๑๓. ข้อใดใช้คาดีเด่นด้านการให้ภาพจินตนาการ
                     ํ
        ก. หยดนํ้าค้าง
        ข. หยาดนํ้าค้าง
        ค. เพชรนํ้าค้าง
        ง. เม็ดนํ้าค้าง
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ   ๓๐




๑๔. ข้อใดแต่งโดยใช้ศิลปะการสรรคํา สัมผัสในและโวหารภาพพจน์
ก. พระคุณแม่เทียบฟ้ า ทัวหล้าฟ้ ารายรอบ
                        ่
ข. พระคุณแม่ยงลํ้า บุญคุณคํ้าเหนือเกล้า
             ่ิ
ค. พระคุณแม่มากล้น                เป็ นล้นพ้นมากยิง
                                                  ่
ง. พระคุณแม่มากมี จงทําดีเพื่อท่าน
๑๕. ควรใช้วรรคใดต่อจากวรรคที่กาหนดให้ จึงจะถูกต้องตามข้อบังคับของร่ ายสุภาพ
                              ํ
    “เพื่อนมอห้าทับห้า.......................................”
ก. เรามาพัฒนาท้องถิ่น
ข. เราอย่าเกียจคร้านเลย
ค. เราจะฝ่ าอุปสรรค
ง. เรากล้าหาญชาญชัย
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ   ๓๑




            เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน




๑. ค ๒. ก ๓. ง
๔. ข ๕. ก ๖. ค
๗. ง ๘. ก ๙. ข
๑๐. ค ๑๑. ข ๑๒. ข
๑๓. ค ๑๔. ข ๑๕. ง
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ   ๓๒




                                บรรณานุกรม


บรรจง ชาครัตพงศ์. เคล็ดลับการแต่งคาประพันธ์ . กรุ งเทพมหานคร : ดอกหญ้าวิชาการ,
           ๒๕๕๑.
บุญเหลือ ใจมโน. การแต่งคาประพันธ์ . กรุ งเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ,
           ๒๕๔๙.
บารมี ถาวระ. ลักษณะคาประพันธ์ ไทย. กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์ไทม์พริ้ นติ้ง, ๒๕๔๑.
พรทิพย์ แฟงสุด. ฉันทลักษณ์ไทย. กรุ งเทพมหานคร : ฟิ สิกส์เซ็นเตอร์ , ๒๕๔๔.
วัฒนะ บุญจับ. ร้ อยกรองไทย. กรุ งเทพมหานคร : บริ ษทเอดิสนเพรส โพรดักส์ จํากัด,
                                                   ั      ั
           ๒๕๔๔.
วิเชียร เกษประทุม. ลักษณะคาประพันธ์ ไทย. กรุ งเทพมหานคร : พัฒนาศึกษา, ๒๕๕๐.
เสนีย ์ วิลาวรรณ. การเขียน ๑. กรุ งเทพมหานคร : วัฒนาพานิช, ๒๕๔๗.
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือเรียนรายวิชา
          พืนฐานภาษาไทย วรรณคดีวจกษ์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕. กรุ งเทพมหานคร :
            ้                       ิั
          สํานักงานฯ, ๒๕๕๔.
สุมาลี วีระวงศ์. วิถีไทยในลิลตพระลอ. กรุ งเทพมหานคร : สถาพรบุ๊คส์, ๒๕๔๙.
                             ิ
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ   ๓๓




ภาคผนวก
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ    ๓๔




เฉลยแบบฝึ ก


แบบฝึ กที่ ๑ (แนวการตอบ)



   ๑. ให้นกเรี ยนทําเครื่ องหมาย / แทนการเว้นวรรคดังตัวอย่าง
          ั

   ๑.๑ ปู่ ไป่ ผายตอบถ้อย / อยูนอยหนึ่งบมินาน / ปู่ ก็ธิญาณเล็งดู / กูจะช่วยควรฤๅมิควร /
                               ่ ้

   รู้ท้งมวลทุกอัน / ด้วยผลกรรม์เขาแต่ก่อน / ทําหย่อนหย่อนตึงตึง / ส่วนจะถึงบมิหยุด /
        ั

   เท่าว่าพลันสุดพลันม้วย / วยผลกรรมเขาเอง / แต่เพรงเขาทั้งสอง / ทําบุญปองจะไจ้ /

   ขอได้พ่งบุญตู
          ึ


   ๑.๒     ชมไม้ไหล้สะอาด /เหมือนปราสาทพิศาล / คือพิมานมลเทียร /
   อาเกียรณ์แกมดอกแดง / แสงดุจปัทมราค / ภาคใบเขียวสรด / คือมรกตรุ่ งเรื อง /
   ดอกเหลืองเพียงทองสุก / ขาวดุจมุกดาดาษ / โอภาสพรรณพิจิตร / พิพิธภูมิลาเนา /
                                                                       ํ
   งามเอาใจใช่นอย / คล้อยลงถึงดินตํ่า
               ้
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ   ๓๕




๒. เขียนข้อความนี้โดยเว้นวรรคให้อยูในรู ปแบบของร่ ายสุภาพด้วยลายมือที สวยงามเป็ น
                                   ่
    ระเบียบ ถูกต้องและอ่านง่าย


๒.๑ เรี ยงคําจัดวรรคตามรูปแบบที่ ๑

      ส่วนสาวเจ้ากํานัลนั้น ครั้นจะอยูทาว ธ จะมิหลับ ขับกันลงเล่นไหล้
                                        ่ ้
ชมดอกไม้วลย์เครื อ แต่สองเผือนี้จะเฝ้ า สองท้าวเจ้าจอมราช
         ั
ครั้นฝูงนางคลาดคลาลงแล้ว สองพระพี่เลี้ยงแก้ว หับถี่ถวนทุกทวาร
                                                    ้



๒.๒ เรี ยงคําจัดวรรคตามรูปแบบที่ ๒


       ส่วนสาวเจ้ากํานัลนั้น ครั้นจะอยูทาว ธ จะมิหลับ
                                       ่ ้
ขับกันลงเล่นไหล้ ชมดอกไม้วลย์เครื อ
                          ั
แต่สองเผือนี้จะเฝ้ า สองท้าวเจ้าจอมราช
ครั้นฝูงนางคลาดคลาลงแล้ว สองพระพี่เลี้ยงแก้ว
หับถี่ถวนทุกทวาร
       ้
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ   ๓๖



แบบฝึ กที่ ๒ (แนวการตอบ)


    คาสั่ง จงขีดเส้นโยงคําสัมผัสที่ต่อเนื่องกันไปทุกวรรค ตามตัวอย่าง


    ๑. ประทบประทะอลวน สองคชชนชาญเชี่ยว เรี่ ยวรณรงค์เริ งแรง แทงถีบฉัดตะลุมบอน


    พม่ามอญตายกลาด ข้าศึกสาดปื นโซรม โรมกุทณฑ์ธนู ดูดงพรรษาซ้อง ไป่ ตกต้องคนสาร
                                           ั         ั่


    ธุมาการเกิดกระลบ อบอลเวงฟากฟ้ า ดูบ่รู้จกหน้า หนึ่งสิ้นแสงไถง แลนา
                                            ั




    ๒. เคลื่อนพลตามเกล็ดนาค ตากเต็มท่งแถวเถื่อน


        เกลือนกล่นแสนยาทัพ ถับปะทะไพริ นทร์
            ่


        ส่วนหัสดินอุภย เจ้าพระยาไชยานุภาพ
                     ั


        เจ้าพระยาปราบไตรจักร ตรับตระหนักสําเนียง


        เสียงฆ้องกลองปื นศึก อึกเอิกก้องกาหล
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ   ๓๗



แบบฝึ กที่ ๓ (แนวการตอบ อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)


     คาสั่ง ให้นกเรี ยนเติมคําลงในช่องว่างให้ถกต้อง เหมาะสมและได้ใจความ
                ั                             ู


    ประเพณี              สงกรานต์         มีสืบสานกันมา               เป็ นเวลานมนาน
   เกี่ยวกับงานขึ้นปี ใหม่                 มิใช่ ปัจจุบน
                                                       ั              ได้แปรผันเปลี่ยนแปลง
   ทัวทุกแห่งเป็ นสากล
     ่                                    แต่ทุกคนยังคงไว้               ให้คนรุ่ นหลังยึดถือ
   ว่านี้คือวิถี         สิ่งดีงามควร                      อนุรักษ์        ให้เป็ นหลักเป็ นฐาน
   ทานปล่อยนกปล่อยปลา                      ชวนกันมาขนทราย                  ไปถวายวัดวา
   ทั้งบูชาสรงนํ้า           คุณค่าลํ้ากุศล บันดลให้เป็ นสุข
   ปราศจากทุกข์เภทภัย              รดนํ้าผูใหญ่ใกล้ไกล
                                           ้                     ท่านให้ชยอวยพร
                                                                         ั
   พร้อมคําสอนปฏิบติ
                  ั                        เคร่ งครัดความดีงาม              ตามแบบอย่างอันดี
   เป็ นศรี ควรต่อตั้ง         เพื่อมิให้พลาดพลั้ง         อยูได้เจริ ญเทอญ
                                                              ่
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ      ๓๘



แบบฝึ กที่ ๔ (แนวการตอบ)


  ๑.ให้นกเรี ยนโยงเส้น สัมผัสใน (คําสัมผัสภายในวรรคเดียวกันที่เป็ น สัมผัสอักษร
        ั
    หรื อเรี ยกว่า สัมผัสพยัญชนะ ของแต่ละวรรค ตามตัวอย่าง ในวรรคที่ ๑ และ ๒)


   จริ วจราวซุกจรจรัล       บรู้กี่พรรณปูปลา         นกหกดาดาษอยู่


            หงส์เหินสู่สระสรง        เป็ นนํ้าลงลอยล่อง       ทุงทองท่องจรจรัล


            จากพรากพรรค์ฟมฟอง
                         ู               คับแคครองคู่ไหว้          ดอกบัวผ้ายจับบัว


            ภมรมัวเมาซาบ          อาบละอองเกสร            สลอนบุษบาบาน



  ๒.ให้นกเรี ยนเขียนคําสัมผัสในที่เป็ นสัมผัสอักษร
        ั


     ๒.๑ สัตว์จตุบาทเนืองนอง สัมผัสอักษร คือ                     เนือง – นอง
     ๒.๒ กวางทองท่องเล็มเกรี ยง สัมผัสอักษร คือ                  ทอง – ท่อง
     ๒.๓ หมีเม่นเมียงตามระมาด สัมผัสอักษร คือ                    หมี – เม่น – เมียง –(ระ)มาด
     ๒.๔ กาสรกาจกําเลาะ สัมผัสอักษร คือ                          กา – กาจ – กํา
     ๒.๕ พระบอกจงจริ งให้ สัมผัสอักษร คือ                        จง – จริ ง
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ   ๓๙




๓. ให้นกเรี ยนเขียนคําสัมผัสสระในร่ ายต่อไปนี้
       ั

    ๓.๑ กระทิงเกริ่ นเตร็ จคู่        ผีโป่ งกู่กองดง
                                                 ้
 สัมผัสสระ คือ             คู่ – กู่
   ๓.๒ กระจงหลงกระเจิง               ทรายลองเชิงเล่นฉาว
 สัมผัสสระ คือ             เจิง – เชิง
   ๓.๓ ศรี สวัสดิเดชะ          ชนะราชอริ นทร์
 สัมผัสสระ คือ             (เด)ชะ – (ช)นะ
   ๓.๔ ยินพระยศเกริ กเกรี ยง            เพียงพกแผ่นลาญใจแกล้วบมิกล้า
 สัมผัสสระ คือ             เกรี ยง – เพียง
   ๓.๕ บค้าอาตม์ออกรงค์              บคงอาตม์ออกฤทธิ์
 สัมผัสสระ คือ             รงค์ – คง

๔. ให้นกเรี ยนนําตัวอักษรหน้าโวหารภาพพจน์ต่อไปนี้ ไปเติมหน้าข้อที่เห็นว่าใช้โวหาร
       ั
    ภาพพจน์ตรงกัน

 ก. อุปมา ข. อุปลักษณ์ ค. สัญลักษณ์
 ง. อติพจน์ จ. บุคลาธิษฐาน

         จ
................... ๑. เมฆหมอกขุ่นเคืองโกรธ สายฟ้ าพิโรธแรง แทงรัศมีพุ่งใส่
                      คนหยาบใหญ่ไหม้เกรี ยม
         ก
................... ๒. เขาว่าอย่าเทียมเทียบ        ซีว่าเทพสิเปรี ยบไป่ ปาน หนุ่มสะคราญงามนัก
                      น่าใคร่ รักแห่งพราหมณ์
         ข ๓. พิศดูครางสระสม
...................                             พิศศอกกลมกลกลึง            สองไหล่พึงใจกาม
                        อกงามเงื่อนไกรสร
         ง
................... ๔. แม่ยนครู เอ๋ ยเอื้อน ใบหน้าเปื้ อนนํ้าตา ลูกติดยาหนีเรี ยน
                              ิ
                       ใจแม่เจียนขาดแล้ว
         ค
.................... ๕. นักเรี ยนรักการอ่าน ฝ่ าด่านอวิชาชา ปี นบันใดไต่ฟ้า
                        เอื้อมมือคว้าดวงดาว
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ   ๔๐



แบบฝึ กที่ ๕ (แนวการตอบ อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)



   ๑. ให้นกเรี ยนเติมคําให้ครบ ๑ วรรคของร่ ายสุภาพ (วรรคละ ๕ คํา) โดยให้มีคาสัมผัส
          ั                                                                ํ
      อักษรเพื่อเพิ่มความไพเราะของเสียง ซึ่งไม่บงคับว่าจะอยูตาแหน่งคําที่เท่าไร
                                                ั           ่ ํ


      ๑.๑ นํ้า       ท่ วมทั่วทุ่งไทย
      ๑.๒ ฟ้ า        สางเริ่มสดใส
      ๑.๓ ดาว         ดับมืดมิดหมด
      ๑.๔ เดือน         เด่ นเพ็ญโพยม
      ๑.๕ ดิน         แห้ งให้ ห่อเหี่ยว


   ๒. ให้นกเรี ยนแต่งร่ ายต่อจากที่กาหนดไว้ ข้อละ ๑ วรรค (๕ คํา) ให้ถกต้องและไพเราะ
          ั                         ํ                                ู


    ๒.๑ ฝนตกไม่ทวฟ้ า
                ั่                           ไม่ถ้วนหน้ าทั่วถึง
       ๒.๒ ทุ่งรวงทองมองงาม                  ในยามหน้ าเก็บเกียว
                                                              ่
       ๒.๓ ต่อต้านสารเสพติด                  พิษภัยของสังคม
       ๒.๔ วัยรุ่ นไม่วุ่นรัก                แต่ฉันฝักไฝ่ เรียน
       ๒.๕ อ่านเขียนเพียรอุตส่าห์            อย่าปล่อยเวลาเปล่า
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ          ๔๑




 ๓. ให้นกเรี ยนแต่งร่ ายสุภาพต่อจากที่กาหนดให้ไม่นอยกว่า ๑๐ วรรค (วรรคละ ๕ คํา อาจ
        ั                              ํ          ้
     มีบางวรรคที่ใช้ ๖คํา) ให้ถกต้องตามข้อบังคับของการแต่งร่ ายสุภาพและ ให้มีคุณค่า
                               ู
     ความไพเราะ รวมทั้งได้ใจความ



     ผูประพันธ์.........................................................................ชั้น.............เลขที่.........
       ้


                                                  ตานก๋ วยสลาก
            รี ตรอยคนโบราณ มีมานานเกินทบ
นบทานให้คนตาย ที่ดบหายวายลับ
                          ั
                  ดับเป็ นเปรตเป็ นผี ต่างมีความสงสาร
เกิดเป็ นตานก๋ วยสลาก พระเณรมากมาโปรด
ต่างปราโมทย์ยนดี เพราะได้พลีแทนทด
                ิ
ไม่กาหนดพระรู ปใด พระเสี่ยงไปจับสลาก
     ํ
คนภาคเหนือมากหน้า ตกแต่งดาอย่าช้า
พรั่งพร้อมการทําบุญ ใหญ่นา
แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ   ๔๒



แบบฝึ กที่ ๖ (แนวการตอบตอบ ข้ อ ๓, ๔ อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)


    ๑. ให้นกเรี ยนโยงเส้นคําสัมผัสของโคลงสองสุภาพต่อไปนี้
           ั



       ๑.๑ บอกอาการถี่ถอย
                       ้        เขาว่าอย่าแคลนน้อย        หนึ่งไว้งานตู
       ๑.๒ สวนใครหนอใคร่ รู้       สวนสมเด็จท้าวชู้      ท่านแล้พระทอง


     ๒. นักเรี ยนเติมรู ปวรรคยุกต์เอก และโทในโคลงสองสุภาพต่อไปนี้


          ๒.๑ จึ่งจํานองโคลงอ้าง    ถวายแด่บพิตรเจ้าช้าง     ท่านผูมีบุญ แลนา
                                                                   ้
        ๒.๒ ข้ากระไดอยูเ่ ฝ้ า   บอกข่าวพระลอเว้า        สู่สร้อยสวนขวัญ
         ๒.๓ ข่าวบพิตรเจ้าหล้า    เร็ วพี่บอกอย่าช้า      ท่านท้าวเสด็จมา แม่นฤๅ
         ๒.๔ มองหนหาตาแห้ง        เห็นแต่ไกลกล้องแกล้ง ไต่เต้าตามกัน
         ๒.๕ พรางตัวเองดังนี้
                            ่     หน้าใช่หน้าสับปลี้        มาไขว่ถอยเอาเผือ
                                                                     ้


    ๓. ให้นกเรี ยนแต่งโคลงสองสุภาพ (ตอนจบของร่ ายสุภาพ) ต่อจากที่กาหนดให้ ให้ครบบท
            ั                                                     ํ
       (ใช้คาตายแทนตําแหน่งคําเอกได้)
              ํ

       ๓.๑ หมอกควันคลุมปกไว้ มองไม่เห็นไกลใกล้
               ทั่วทั้งตัวเมือง              หมดนา
       ๓.๒ วินยควรเริ่ มสร้าง
               ั                             ให้ เด็กเล็กค่อนข้ าง
        จะได้ ผลดี                           แน่ นา
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ

Contenu connexe

Tendances

การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพการแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
พัน พัน
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
khorntee
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
พัน พัน
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
พัน พัน
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
Sivagon Soontong
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
นิตยา ทองดียิ่ง
 
สรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทองสรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทอง
kanchana13
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
พัน พัน
 

Tendances (20)

ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพการแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
สรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทองสรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทอง
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 

En vedette

ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
Suriyawaranya Asatthasonthi
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
Nongkran Jarurnphong
 
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญแผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
kruprang
 
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
banlangkhao
 
เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ดเทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
sornblog2u
 
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
Thidarat Termphon
 

En vedette (20)

ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
โวหาร
โวหารโวหาร
โวหาร
 
Inthawong
InthawongInthawong
Inthawong
 
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญแผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
 
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
 
เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ดเทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
 
Sar 2556
Sar 2556Sar 2556
Sar 2556
 
การสะกดคำ
การสะกดคำการสะกดคำ
การสะกดคำ
 
Manawakachan
ManawakachanManawakachan
Manawakachan
 
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
 
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการแบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
 

Similaire à ร่ายสุภาพ

บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
baicha1006
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..
phornphan1111
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
krudow14
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
panneem
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
panneem
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
Kalasom Mad-adam
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
Kalasom Mad-adam
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
Mong Chawdon
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
Pairor Singwong
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
Nimnoi Kamkiew
 

Similaire à ร่ายสุภาพ (20)

บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
 
การแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรองการแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรอง
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 

ร่ายสุภาพ

  • 1. คาชี้แจง แบบฝึ กทักษะการแต่งคําประพันธ์ เล่ม ๔ เรื่ อง ร่ ายสุภาพ ที่นกเรี ยนกําลังอ่านอยูในขณะนี้ ั ่ เป็ นบทเรี ยนสนุก ๆ ที่นกเรี ยนสามารถเรี ยนรู้ดวยตนเองได้โดยวิธีง่าย ๆ ก่อนอื่นนักเรี ยนต้องปฏิบติ ั ้ ั ตามกติกาในการใช้แบบฝึ กทักษะดังนี้ ๑. ให้เตรี ยมสมุด ปากกา เพื่อใช้สาหรับเขียนตอบกิจกรรมในแบบฝึ กทักษะ ํ ๒. ให้ทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนเพื่อตรวจสอบความรู้พ้ืนฐาน ห้ามดูเฉลยก่อนตอบ ํ ๓. ให้ศึกษาเนื้อหาสาระและฝึ กปฏิบติตามที่แบบฝึ กกําหนดไปตามลําดับ ถ้าไม่เข้าใจหรื อ ั เกิดปัญหานักเรี ยนสามารถเปิ ดกลับไปศึกษาเนื้อหาที่ผานมาได้หรื อสอบถามครู ผสอน ่ ู้ ๔. เมื่อเรี ยนครบทุกแบบฝึ กแล้วให้ทาแบบทดสอบหลังเรี ยนเพื่อประเมินความรู้ที่ได้ จาก ํ แบบฝึ กโดยที่ไม่เปิ ดดูเฉลยก่อนตอบ ๕. ในการเฉลยแบบฝึ กครู และนักเรี ยนร่ วมกันเฉลยตามภาคผนวก ๖. คะแนนทดสอบก่อนเรี ยน ๑๕ คะแนน คะแนนทดสอบหลังเรี ยน ๑๕ คะแนน คะแนนแบบฝึ กจาก ๒๐๐ คะแนน เฉลี่ยเป็ นคะแนนจริ ง ๔๐ คะแนน
  • 2. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๒ แบบทดสอบก่ อนเรียน แบบฝึ กทักษะการแต่งคาประพันธ์ เรื่อง ร่ ายสุ ภาพ วิชาวรรณศิลป์ ไทย ท ๓๒๒๐๒ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕ คาสั่ง จงเลือกตอบข้อที่เห็นว่าถูกต้องที่สุด โดยทําเครื่ องหมาย x ในช่องตัวอักษรของ กระดาษคําตอบ จํานวน ๑๕ ข้อ เวลา ๒๐ นาที คะแนนเต็ม ๑๕ คะแนน ๑. ข้อใดคือโคลงสองสุภาพ ก. ใครรานใครรุ กด้าว แดนไทย ข. หายากฝากผีไข้ ยากแท้จกหา ั ค. ฝ่ ายพระนครรามัญ ขัณฑ์เขตด้าวอัสดง ง. พระพลันทรงเครื่ องต้น งามประเสริ ฐเลิศล้น แหล่งหล้าควรชม ๒. คําส่ง – รับ สัมผัสข้อใดผิดไปจากข้อบังคับของร่ ายสุภาพ ก. ข้า – ท่า ข. ไกล – ชัย ค. กราบ – ทราบ ง. เกลื่อน – เลื่อน ๓. ข้อใดคือรู ปแบบของร่ ายสุภาพ ก. วางเรี ยงวรรคเหมือนความเรี ยงร้อยแก้ว ข. วางบาทละ ๓ – ๔ วรรค ค. วางบาทละ ๒ วรรค ง. ทุกข้อ
  • 3. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๓ ๔. ข้อบังคับใดที่เคร่ งครัดที่สุดในการแต่งร่ ายสุภาพ ก. ต้องมีวรรคละ ๕ คํา ข. ต้องลงจบด้วยโคลงสองสุภาพ ค. บทหนึ่ง ๆ ต้องมีไม่นอยกว่า ๑๐ วรรค ้ ง. ต้องส่งสัมผัสจากคําสุดท้ายวรรคไปยังคําที่ ๓ ของวรรคถัดไป ๕. ข้อใดคือความนิยมในการแต่งร่ าย ก. แต่งเป็ นเรื่ องยาว ๆ และแต่งคละกันไปกับโคลง ข. แต่งเป็ นเรื่ องสั้น ๆ และแต่งคละกันไปกับโคลง ค. แต่งเป็ นเรื่ องยาว ๆ และแต่งคละกันไปกับกลอนสุภาพ ง. แต่งเป็ นเรื่ องสั้น ๆ และแต่งคละกันไปกับกลอนสุภาพ ๖. ข้อใดคือการจัดวรรคแบบร่ ายสุภาพ ก. เอ็มพีสามสุดรัก ฟังไม่พกหูตึง เราพึงตรองการใช้ ั ข. วันนี้ นังเปิ ดอินเตอร์เน็ต เจอภาพเด็ดคลิปเรนเจอร์ ่ ค. แชทกันไปแชทกันมา ไม่เคยพบหน้า เสียท่าหมดตัว ง. เอ็มพีสี่สงได้ หนังสือเรี ยนเอาเก็บไว้ สอบตกอยูร่ ําไป อนิจจา ่ั ่ ๗. ข้อใดคือตอนจบบทของร่ ายสุภาพ ก. ข. ค. ( ) ง. ( ) ๘. ข้อใดไม่ มี “สัมผัสใน” ก. กระดังงาเลื้อยซุม ้ ข. กระดุมทองถูกเด็ด ค. ดาวเรื องดอกโรยรา ง. สิ้นกลิ่นกุหลาบโชย
  • 4. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๔ ๙. ข้อใดคือคําสุภาพทั้งหมด ก. ศรัทธา พาใจ ข. ค่าลํ้า นํ้าใจ ค. ยิงใคร จริ งใจ ่ ง. เสื่อมใส เข้าใจ ๑๐. “สัมผัสใน” ของวรรคใดที่แตกต่างจากวรรคอื่น ๆ ก. ข้าศึกดูดาษเดียร ข. หงายงาเสยสารศึก ค. เรี่ ยวรณรงค์เริ งแรง ง. สองคชชนชาญเชี่ยว ๑๑. ข้อใดกล่าวถึงการใช้คาสัมผัสของร่ ายสุภาพได้ถูกต้อง ํ ก. ต้องมีสมผัสในทุกวรรค ั ข. ต้องมีสมผัสเชื่อมวรรคทุกวรรค ั ค. มีการกําหนดตําแหน่งของคําสัมผัสอย่างเคร่ งครัด ง. นิยมใช้สมผัสในไปเป็ นสัมผัสสระมากกว่าสัมผัสอักษร ั ๑๒. ข้อใดกล่าวถึงร่ ายสุภาพผิดไป ก. รับสัมผัสได้ต้งแต่คาที่ ๑ – ๕ ั ํ ข. สัมผัสต้องมีต่อเนื่องกันไปทุกวรรค ค. สัมผัสส่ง – รับ ต้องเป็ นคําสุภาพเท่านั้น ง. แต่ละวรรคต้องมีจานวนคํา ๕ คํา เพิ่มเป็ น ๖ คําได้เป็ นบางวรรค ํ ๑๓. ข้อใดใช้คาดีเด่นด้านการให้ภาพจินตนาการ ํ ก. เม็ดนํ้าค้าง ข. หยดนํ้าค้าง ค. หยาดนํ้าค้าง ง. เพชรนํ้าค้าง
  • 5. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๕ ๑๔. ข้อใดแต่งโดยใช้ศิลปะการสรรคํา สัมผัสในและโวหารภาพพจน์ ก. พระคุณแม่มากมี จงทําดีเพื่อท่าน ข. พระคุณแม่มากล้น เป็ นล้นพ้นมากยิง ่ ค. พระคุณแม่ยงลํ้า บุญคุณคํ้าเหนือเกล้า ิ่ ง. พระคุณแม่เทียบฟ้ า ทัวหล้าฟ้ ารายรอบ ่ ๑๕. ควรใช้วรรคใดต่อจากวรรคที่กาหนดให้ จึงจะถูกต้องตามข้อบังคับของร่ ายสุภาพ ํ “เพื่อนมอห้าทับห้า.......................................” ก. เราจะฝ่ าอุปสรรค ข. เรากล้าหาญชาญชัย ค. เรามาพัฒนาท้องถิ่น ง. เราอย่าเกียจคร้านเลย
  • 6. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๖ เฉลยแบบทดสอบก่ อนเรียน ๑. ง ๒. ก ๓. ง ๔. ข ๕. ก ๖. ก ๗. ค ๘. ก ๙. ก ๑๐. ค ๑๑. ข ๑๒. ค ๑๓. ง ๑๔. ค ๑๕. ข
  • 7. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๗ ร่ ายสุ ภาพ ความหมาย มีผให้ความหมายของร่ ายไว้เหมือน ๆ กัน ดังนี้ ู้ วัฒนะ บุญจับ (๒๕๔๔ : ๓๗๐) ให้คาจํากัดความว่า ร่ าย คือคําประพันธ์ที่บงคับสัมผัส ํ ั และการลงท้าย บางชนิดบังคับจํานวนคําในหนึ่งวรรค แต่บางชนิดไม่บงคับ ร่ ายต่างจากคําประพันธ์ ั ชนิดอื่น ๆ ตรงที่ไม่จากัดจํานวนวรรค หรื อจํานวนบาทในหนึ่งบทจะแต่งยาวเท่าไรก็ได้จนกว่าจะ ํ หมดเนื้อความ ลักษณะการส่งสัมผัสเป็ นพิเศษกว่าคําประพันธ์ชนิดอื่น ๆ โดยร่ ายจะส่งสัมผัสระหว่าง วรรคต่อ ๆ กันไปทุกวรรค ไม่มสมผัสท้ายวรรค เว้นแต่ตอนจบจบด้วยร่ ายเท่านั้น ี ั พรทิพย์ แฟงสุด (๒๕๔๔ : ๒๘๑) กล่าวไว้ว่า ร่ าย คือ คําประพันธ์ชนิดหนึ่งที่มีสมผัสั และการลงท้าย แต่ไม่มีกาหนดว่าจะต้องมีกี่บทหรื อกี่บาท จะแต่งยาวเท่าไรก็ได้จนกว่าจะจบ ํ เนื้อความ แต่ตองมีการเรี ยงคําให้คล้องจองกันตามข้อบังคับเท่านั้น ้ บุญเหลือ ใจมโน (๒๕๔๙ : ๑๓๑) ให้ความหมายของร่ ายว่า คือ คําประพันธ์ที่บรรยาย เรื่ องราว จึงมีการแต่งง่ายกว่าคําประพันธ์อื่น ๆ มีการสัมผัสกันไปทุกวรรค ไม่กาหนดจํานวนบาท ํ หรื อบท (ยกเว้นร่ ายโบราณ และร่ ายสุภาพ ที่กาหนดจํานวนคําในแต่ละวรรค วรรคละ ๕ คํา จบ ํ ด้วยโคลง ๒) เป็ นคําประพันธ์ที่มีลกษณะบังคับน้อยที่สุด และอาจเป็ นเพียงร้อยแก้วที่พฒนามาเป็ น ั ั ร้อยกรองโดยเชื่อมคําให้คล้องจองกันเท่านั้น วิเชียร เกษประทุม (๒๕๕๐ : ๙๓) ระบุคล้ายกันว่า ร่ าย หมายถึง คําประพันธ์ชนิดหนึ่ง ซึ่ง ไม่กาหนดว่ามีบทหรื อบาทเท่านั้นเท่านี้ จะแต่งให้ยาวเท่าไรก็ได้ เป็ นแต่ตองเรี ยงคําให้สอดคล้องกัน ํ ้ ตามข้อบังคับเท่านั้น บรรจง ชาครัตพงศ์ (๒๕๕๑ : ๘๒) กล่าวว่า ร่ าย เป็ นคําประพันธ์ที่เก่าแก่พอกับโคลง ใช้ แต่งขึ้นต้นไหว้ครู หรื อบูชาเทวดา สดุดีพระมหากษัตริ ย ์ ชมความงามสิ่งต่าง ๆ และสามารถใช้แต่ง เพื่อบรรยายความรวดเร็ วด้วย
  • 8. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๘ จากคําจํากัดความที่กล่าวมาข้างต้นนั้น พอสรุ ปได้ว่า ร่ าย คือ คําประพันธ์ชนิดหนึ่งที่บงคับ ั สัมผัส และคําลงท้าย บางชนิดบังคับจํานวนคําในหนึ่งวรรค แต่บางชนิดไม่มีบงคับ ไม่กาหนด ั ํ จํานวนบาท และบท จะแต่งยาวเท่าไรก็ได้จนกว่าจะหมดเนื้อความ ข้อบังคับในการแต่งร่ ายสุภาพ มีดงนี้ ั คณะ ไม่บงคับจํานวนวรรคในบท บทหนึ่งมีกี่วรรคก็ได้ แต่วรรคหนึ่งๆ ให้ มีวรรคละ ๕ ั คํา อาจเกินไปบ้างได้เป็ นบางวรรค สัมผัส สัมผัสบังคับหรื อสัมผัสเชื่อมวรรค คือคําสุดท้ายของวรรคแรกส่ง สัมผัสไปยังคําที่ ๑ หรื อ ๒ หรื อ ๓ ของวรรคถัดไป และสัมผัสอย่างนี้ต่อเนื่องกันไปทุกวรรค ที่สาคัญอีกข้อหนึ่ง ํ คือ ถ้าลงท้ายด้วย คําสุภาพ (คําที่ไม่มีรูปวรรณยุกต์) ก็ตองสัมผัสกับคําสุภาพด้วยกัน และถ้าลง ้ ท้ายวรรคด้วยคําที่มีรูปวรรณยุกต์ใด คํารับสัมผัสก็ตองมีรูปวรรณยุกต์เดียวกันเท่านั้น ้ นอกจากนี้ สามวรรคสุดท้ายของร่ ายสุภาพแต่ละบท ต้องลงจบด้วย โคลงสองสุภาพ แผนผังโคลงสองสุ ภาพ (ตอนจบบทของร่ ายสุภาพ) รู ปแบบที่ ๑ ( ) รู ปแบบที่ ๒ ( )
  • 9. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๙ แผนผังร่ ายสุ ภาพ รูปแบบที่ ๑ เรี ยงแบบความเรี ยงร้อยแก้ว ฯลฯ ( ) รูปแบบที่ ๑ จะเรี ยงโดยเว้นวรรคไปเรื่ อยๆ เมื่อหมดบรรทัดแล้วจะเขียนแยกหรื อฉีกวรรคได้ รูปแบบที่ ๒ เรี ยงรู ปแบบบาทละ ๒ วรรค รูปแบบที่ ๒ จะเรี ยงเป็ น บาทละ ๓ หรื อ ๔ วรรค ก็ได้ สามวรรคสุดท้ายเป็ นโคลงสองสุภาพ ข้ อควรจา คํารับสัมผัสในวรรคถัดไป อนุโลมให้เลื่อนไปได้ถึงคําที่ ๔ ส่วนคําที่ ๕ นั้นลงสัมผัสได้ แต่ไม่นิยม จะลงเมื่อจําเป็ นเท่านั้น
  • 10. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๑๐ ตัวอย่ างร่ ายสุ ภาพ รู ปแบบที่ ๑ พิศดูคางสระสม พิศศอกกลมกลกลึง สองไหล่พึงใจกาม อกงามเงื่อนไกรสร พระกรกลงวงคช นิ้วสลวยชดเล็บเลิศ ประเสริ ฐสรรพสรรพางค์ แต่บาทางค์สุดเกล้า พระเกตุงามล้วนเท้า พระบาทไท้งามสม สรรพนา (จากลิลิตพระลอ อ้างใน สุ มาลี วีระวงศ์) รู ปแบบที่ ๒ ฝ่ าแฝกแขมแกมเรา ดงประเดาประดู่ หมู่ไม้ยางไม้ยง ตะเคียนสูงสุดหมอก ู พระยอมดอกมุงเมฆ อเนกไม้หลายพรรณ ่ มีวลย์เวียนเกี้ยวกิ่ง ไม้แมกมิ่งใบระบัด ั ลมพานพัดระลอก ดอกดวงพวงเผล็ดช่อ กระพุมห่อเกสร สลอนบุษบาบาน ่ ตระการกลิ่นหอมหื่น ชื่นซรุ กลูกเหลืองล้วน ใบอ่อนต้นลําอ้วน กิ่งก้านแกมงาม (จากลิลิตพระลอ อ้างใน สุ มาลี วีระวงศ์)
  • 11. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๑๑ แบบฝึ กที่ ๑ ฝึ กอ่านร่ าย คาสั่ง ให้นกเรี ยนอ่านออกเสียงร่ ายสุภาพต่อไปนี้ ั สองขัตติยายุรยาตร ยังเกรยราชหอทัพ ขุนคชขับช้างเทียบ ทวยหาญเพียบแผ่นภู ดูมหิมาดาดาษ สระพราศพร้อมโดยขบวน องค์อดิศวรสองกษัตริ ย ์ คอยนฤขัตรพิชย ั บัดเดี๋ยวไททฤษฎี พระศรี สารี ริกบรมธาตุ ไขโอภาสโศภิต ช่วงชวลิตพ่างผล ส้มเกลี้ยงกล กุก่องฟ่ องฟ้ าฝ่ ายทักษิณ ผินแวดวงตรงทัพ นับคํารบสามครา เป็ นทักษิณาวรรตเวียน ว่ายฉวัดเฉวียนอําพร ผ่านไปอุดรโดยด้าว พลางบพิตรโทท้าว ท่านตั้งสดุดี อยูนา ่ (จากลิลิตตะเลงพ่าย สํานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ประเมินผล คะแนนเต็ม ได้ อ่านถูกต้องตามเกณฑ์การประเมิน ๑๖
  • 12. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๑๒ ๑. ให้นกเรี ยนทําเครื่ องหมาย / แทนการเว้นวรรคดังตัวอย่าง ั ตัวอย่าง ข้าจะใช้ชาวในผูสนิท/ชิดชอบอัชฌาสัย/ไปซื้อขายวายล่อง/แล้วให้ท่องเที่ยวเดิน/สรรเสริ ญโฉม ้ สองศรี /ทัวบุรีพระลอ/ขับซอยอยศอ้าง/ฦๅลูกกษัตริ ยเ์ จ้าช้าง/ชื่นแท้ใครเทียม/เทียบนา ่ (จากลิลิตพระลอ อ้างใน สุ มาลี วีระวงศ์) ๑.๑ ปู่ ไป่ ผายตอบถ้อยอยูนอยหนึ่งบมินานปู่ ก็ธิญาณเล็งดูกจะช่วยควรฤๅมิควรรู้ท้งมวลทุกอัน ่ ้ ู ั ด้วยผลกรรม์เขาแต่ก่อนทําหย่อนหย่อนตึงตึงส่วนจะถึงบมิหยุดเท่าว่าพลันสุดพลันม้วยด้วยผล กรรมเขาเองแต่เพรงเขาทั้งสองทําบุญปองจะไจ้ขอได้พ่ึงบุญตู (จากลิลิตพระลอ อ้างใน สุ มาลี วีระวงศ์) ๑.๒ ชมไม้ไหล้สะอาดเหมือนปราสาทพิศาลคือพิมานมลเทียรอาเกียรณ์แกมดอกแดงแสงดุจ ปัทมราคภาคใบเขียวสรดคือมรกตรุ่ งเรื องดอกเหลืองเพียงทองสุกขาวดุจมุกดาดาษโอภาสพรรณ พิจิตรพิพิธภูมิลาเนางามเอาใจใช่นอยคล้อยลงถึงดินตํ่า ํ ้ (จากลิลิตพระลอ อ้างใน สุ มาลี วีระวงศ์) ประเมินผล คะแนนเต็ม ได้ ทําถูกทั้งหมด ข้อละ ๖ คะแนน ๑๒
  • 13. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๑๓ ๒. เขียนข้อความนี้โดยเว้นวรรคให้อยูในรู ปแบบของร่ ายสุภาพด้วยลายมือที่สวยงาม ่ เป็ นระเบียบ ถูกต้องและอ่านง่าย ส่วนสาวเจ้ากํานัลนั้นครั้นจะอยูทาว ธ จะมิหลับขับกันลงเล่นไหล้ชมดอกไม้วลย์ ่ ้ ั เครื อแต่สองเผือนี้จะเฝ้ าสองท้าวเจ้าจอมราชครั้นฝูงนางคลาดคลาลงแล้วสองพระพี่เลี้ยงแก้ว หับถี่ถวนทุกทวาร ้ (จากลิลิตพระลอ อ้างใน สุ มาลี วีระวงศ์) ๒.๑ เรี ยงคําจัดวรรคตามรูปแบบที่ ๑ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ๒.๒ เรี ยงคําจัดวรรคตามรูปแบบที่ ๒ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ประเมินผล คะแนนเต็ม ได้ ทําถูกทั้งหมด ข้อละ ๕ คะแนน ๑๐
  • 14. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๑๔ แบบฝึ กที่ ๒ สัมผัสบังคับ สัมผัสบังคับของร่ ายสุภาพมีดงต่อไปนี้ ั ๑. ใน ๑ บทมีต้งแต่ ๕ วรรคขึ้นไป จัดเป็ นวรรคละ ๕ คํา หรื อจะเกิน ๕ คํา บ้างก็ได้ ั แต่ไม่ควรเกิน ๕ จังหวะในการอ่าน จะแต่งยาวกี่วรรคก็ได้ แต่ตอนจบต้องเป็ นโคลงสองสุภาพเสมอ ๒. สัมผัส คําสุดท้ายของวรรคหน้า ต้องสัมผัสกับคําที่ ๑ หรื อ ๒ หรื อ ๓ ของวรรคถัดไป ทุกวรรค นอกจากตอนจบจะต้องสัมผัสแบบโคลงสองสุภาพ ๓. เอกโท มีบงคับคําเอก ๓ แห่ง คําโท ๓ แห่ง ตามแบบของโคลงสองสุภาพ ั ๔. ถ้าคําสัมผัสเป็ นคําเป็ น หรื อคําตาย คํารับสัมผัสต้องเป็ นคําเป็ น หรื อคําตายด้วย และคํา สุดท้ายของบทห้ามเป็ นตําตาย ๕. เติมสร้อยในตอนสุดท้ายของบทได้อีก ๒ คํา หรื อจะเติมทุก ๆ วรรคก็ได้ แต่พอถึง โคลงสองงดเว้นใช้แต่สร้อยของโคลงสองเอง สร้อยชนิดนี้จะต้องให้เหมือนกันทุกวรรค เรี ยกว่า สร้อยสลับวรรค ตัวอย่าง (คําว่า นะพี่ เป็ นคําสร้อยสลับวรรค คําว่า หนึ่งรา เป็ นคําสร้อยของโคลงสอง ) เจ็บเผือเหลือแผ่นดิน นะพี่ หลากระบิลในแหล่งหล้า นะพี่ บอกแล้วจะไว้หน้าแห่งใด นะพี่ ความอายใครช่วยได้ นะพี่ อายแก่คนไสร้ท่านหัว นะพี่ แหนงตัวตายดีกว่า นะพี่ สองพี่อย่าถามเผือ นะพี่ เจ็บเผือเหลือแห่งพร้อง โอ้เอ็นดูรักน้อง อย่าซํ้าจําตาย หนึ่งรา (จากลิลิตพระลอ อ้างใน สุ มาลี วีระวงศ์)
  • 15. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๑๕ คาสั่ง จงขีดเส้นโยงคําสัมผัสที่ต่อเนื่องกันไปทุกวรรค ตามตัวอย่าง ๑. ประทบประทะอลวน สองคชชนชาญเชี่ยว เรี่ ยวรณรงค์เริ งแรง แทงถีบฉัดตะลุมบอน พม่ามอญตายกลาด ข้าศึกสาดปื นโซรม โรมกุทณฑ์ธนู ดูดงพรรษาซ้อง ไป่ ตกต้องคนสาร ั ั่ ธุมาการเกิดกระลบ อบอลเวงฟากฟ้ า ดูบ่รู้จกหน้า หนึ่งสิ้นแสงไถง แลนา ั (จากลิลิตตะเลงพ่าย สํานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ๒. เคลื่อนพลตามเกล็ดนาค ตากเต็มท่งแถวเถื่อน เกลือนกล่นแสนยาทัพ ถับปะทะไพริ นทร์ ่ ส่วนหัสดินอุภย เจ้าพระยาไชยานุภาพ ั เจ้าพระยาปราบไตรจักร ตรับตระหนักสําเนียง เสียงฆ้องกลองปื นศึก อึกเอิกก้องกาหล (จากลิลิตตะเลงพ่าย สํานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ประเมินผล คะแนนเต็ม ได้ โยงเส้ นถูกต้อง เส้ นละ ๑ คะแนน ๒๐
  • 16. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๑๖ แบบฝึ กที่ ๓ ฝึ กเติมคา คาสั่ง ให้นกเรี ยนเติมคําลงในช่องว่างให้ถกต้อง เหมาะสมและได้ใจความ ั ู ประเพณี ............... มีสืบสาน.................. เป็ นเวลานมนาน เกี่ยวกับงานขึ้นปี ใหม่ ...............ปัจจุบน ั ................นี้ ได้เปลี่ยนแปลง ทัวทุกแห่งเป็ นสากล ่ .................ยังคงไว้ ให้คนรุ่ นหลังยึดถือ ว่านี้คือวิถี สิ่งดีงามควร.............. ให้เป็ นหลักเป็ นฐาน ทานปล่อยนกปล่อยปลา ....................ขนทราย ไปถวายวัดวา ทั้งบูชาสรงนํ้า คุณค่าลํ้ากุศล บันดลให้เป็ นสุข ปราศจากทุกข์................ รดนํ้าผูใหญ่ใกล้ไกล ้ ท่านให้ชยอวยพร ั พร้อมคําสอนปฏิบติ ั .................ความดีงาม ตามแบบอย่าง................... เป็ นศรี ควรต่อตั้ง เพื่อมิให้พลาดพลั้ง อยูได้เจริ ญเทอญ ่ (ลิขิต ภิระบัน) ประเมินผล คะแนนเต็ม ได้ เติมถูกช่องว่างละ ๑ คะแนน ๑๐
  • 17. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๑๗ แบบฝึ กที่ ๔ ความไพเราะ การแต่งร่ ายให้ไพเราะงดงามขึ้น ควรใช้ศิลปะการแต่งตามแบบฉบับของร่ าย ดังต่อไปนี้ ๑. สรรคา เลือกใช้คาที่มีเสียงไพเราะและให้ความหมายดีเด่น ได้แก่ ความหมาย ํ กินใจ ให้รส อารมณ์ ความรู้สึกแก่ผอ่าน ลองเปรี ยบเทียบดูจะเกิดภาพในจินตนาการที่ ู้ ต่างกัน ๒. สัมผัสใน ร่ ายเป็ นคําประพันธ์ที่นิยมเพิ่มสัมผัสในทั้งสัมผัสสระและสัมผัส อักษร ยิงมากยิงดี แต่ก็ควรระวังอาจเพิมจนสื่อความหมายไม่ได้หรื อไม่ชดเจนหรื อผิด ่ ่ ่ ั ความหมาย ๓. สานวนโวหาร เลือกใช้สานวนโวหารแบบต่างๆ แทนการกล่าวตรงๆ เรี ยกว่า ํ กวีโวหารหรื อโวหารภาพพจน์ เช่น อุปมา อุปลักษณ์ อติพจน์ สัญลักษณ์และบุคคล สมมุติ หรื อบุคลาธิษฐาน
  • 18. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๑๘ ๑.ให้นกเรี ยนโยงเส้น สัมผัสใน (คําสัมผัสภายในวรรคเดียวกันที่เป็ น สัมผัสอักษร ั หรื อเรี ยกว่า สัมผัสพยัญชนะ ของแต่ละวรรค ตามตัวอย่าง ในวรรคที่ ๑ และ ๒) จริ วจราวซุกจรจรัล บรู้กี่พรรณปูปลา นกหกดาดาษอยู่ หงส์เหินสู่สระสรง เป็ นนํ้าลงลอยล่อง ทุงทองท่องจรจรัล จากพรากพรรค์ฟมฟอง ู คับแคครองคู่ไหว้ ดอกบัวผ้ายจับบัว ภมรมัวเมาซาบ อาบละอองเกสร สลอนบุษบาบาน (จากลิลิตพระลอ อ้างใน สุ มาลี วีระวงศ์) ประเมินผล คะแนนเต็ม ได้ ตอบถูก วรรคละ ๑ คะแนน ๑๐ ๒.ให้นกเรี ยนเขียนคําสัมผัสในที่เป็ นสัมผัสอักษร ั ๒.๑ สัตว์จตุบาทเนืองนอง สัมผัสอักษร คือ............................................ ๒.๒ กวางทองท่องเล็มเกรี ยง สัมผัสอักษร คือ............................................ ๒.๓ หมีเม่นเมียงตามระมาด สัมผัสอักษร คือ............................................ ๒.๔ กาสรกาจกําเลาะ สัมผัสอักษร คือ............................................ ๒.๕ พระบอกจงจริ งให้ สัมผัสอักษร คือ............................................ ประเมินผล คะแนนเต็ม ได้ ตอบถูกข้อละ ๑ คะแนน ๕
  • 19. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๑๙ ๓. ให้นกเรี ยนเขียนคําสัมผัสสระในร่ ายต่อไปนี้ ั ตัวอย่าง แรดร้ายกีดหนามกรอบ ชะมดฉมัดหมอบมองเมิน สัมผัสสระ คือ กรอบ – หมอบ ............................................................................... ๓.๑ กระทิงเกริ่ นเตร็ จคู่ ผีโป่ งกู่กองดง ้ สัมผัสสระ คือ................................................................................................ ๓.๒ กระจงหลงกระเจิง ทรายลองเชิงเล่นฉาว สัมผัสสระ คือ............................................................................................... ๓.๓ ศรี สวัสดิเดชะ ชนะราชอริ นทร์ สัมผัสสระ คือ............................................................................................... ๓.๔ ยินพระยศเกริ กเกรี ยง เพียงพกแผ่นลาญใจแกล้วบมิกล้า สัมผัสสระ คือ............................................................................................... ๓.๕ บค้าอาตม์ออกรงค์ บคงอาตม์ออกฤทธิ์ สัมผัสสระ คือ............................................................................................... ประเมินผล คะแนนเต็ม ได้ ตอบถูกข้อละ ๑ คะแนน ๕
  • 20. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๒๐ ๔. ให้นกเรี ยนนําตัวอักษรหน้าโวหารภาพพจน์ต่อไปนี้ ไปเติมหน้าข้อที่เห็นว่าใช้ ั โวหารภาพพจน์ตรงกัน ก. อุปมา คือ การเปรี ยบสิ่งหนึ่งเหมือนอีกสิ่งหนึ่ง ข. อุปลักษณ์ คือ การเปรี ยบสิ่งหนึ่งเป็ นอีกสิ่งหนึ่ง ค. สัญลักษณ์ คือ การใช้สิ่งหนึ่งแทนอีกสิ่งหนึ่ง ง. อติพจน์ คือ การกล่าวเกินจริ ง จ. บุคลาธิษฐาน คือ การทําให้สิ่งต่าง ๆ มีกิริยาอาการเหมือนมนุษย์ ...................๑. เมฆหมอกขุ่นเคืองโกรธ สายฟ้ าพิโรธแรง แทงรัศมีพุ่งใส่ คนหยาบใหญ่ไหม้เกรี ยม ...................๒. เขาว่าอย่าเทียมเทียบ ซีว่าเทพสิเปรี ยบไป่ ปาน หนุ่มสะคราญงามนัก น่าใคร่ รักแห่งพราหมณ์ ...................๓. พิศดูครางสระสม พิศศอกกลมกลกลึง สองไหล่พึงใจกาม อกงามเงื่อนไกรสร ....................๔. แม่ยนครู เอ๋ ยเอื้อน ิ ใบหน้าเปื้ อนนํ้าตา ลูกติดยาหนีเรี ยน ใจแม่เจียนขาดแล้ว ....................๕. นักเรี ยนรักการอ่าน ฝ่ าด่านอวิชาชา ปี นบันใดไต่ฟ้า เอื้อมมือคว้าดวงดาว ประเมินผล คะแนนเต็ม ได้ ตอบถูก ข้อละ ๒ คะแนน ๑๐
  • 21. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๒๑ แบบฝึ กที่ ๕ ฝึ กแต่ งร่ าย ๑. ให้นกเรี ยนเติมคําให้ครบ ๑ วรรคของร่ ายสุภาพ (วรรคละ ๕ คํา) โดยให้มีคาสัมผัส ั ํ อักษรเพื่อเพิ่มความไพเราะของเสียง ซึ่งไม่บงคับว่าจะอยูตาแหน่งคําที่เท่าไร ั ่ ํ ตัวอย่าง มดแดง ขยันขันแข็ง ๑.๑ นํ้า.................................................................................................................. ๑.๒ ฟ้ า................................................................................................................. ๑.๓ ดาว............................................................................................................... ๑.๔ เดือน.............................................................................................................. ๑.๕ ดิน.................................................................................................................. ประเมินผล คะแนนเต็ม ได้ ทําถูกต้อง ข้อละ ๑ คะแนน ๕ ๒. ให้นกเรี ยนแต่งร่ ายต่อจากที่กาหนดไว้ ข้อละ ๑ วรรค (๕ คํา) ให้ถกต้องและไพเราะ ั ํ ู ๒.๑ ฝนตกไม่ทวฟ้ า ......................................................................... ั่ ๒.๒ ทุ่งรวงทองมองงาม ......................................................................... ๒.๓ ต่อต้านสารเสพติด ......................................................................... ๒.๔ วัยรุ่ นไม่วุ่นรัก ......................................................................... ๒.๕ อ่านเขียนเพียรอุตส่าห์ ......................................................................... ประเมินผล คะแนนเต็ม ได้ ทําถูกต้อง ข้อละ ๒ คะแนน ๑๐
  • 22. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๒๒ ๓. ให้นกเรี ยนแต่งร่ ายสุภาพต่อจากที่กาหนดให้ไม่นอยกว่า ๑๐ วรรค (วรรคละ ๕ คํา อาจ ั ํ ้ มีบางวรรคที่ใช้ ๖คํา) ให้ถกต้องตามข้อบังคับของการแต่งร่ ายสุภาพ และ ให้มีคุณค่า ู ความไพเราะรวมทั้งได้ใจความ ผูประพันธ์...............................................................ชั้น.............เลขที่......... ้ ตานก๋ วยสลาก รี ตรอยคนโบราณ ................................ ..................................... ............................... ................................ ..................................... ............................... ................................ ..................................... ............................... ................................ ..................................... ............................... ................................ ..................................... ............................... ................................ ..................................... ประเมินผล คะแนนเต็ม ได้ แต่งถูกต้อง ไพเราะ และได้ ใจความดี ๒๐ ครบ ๑๐ วรรค วรรคละ ๒ คะแนน
  • 23. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๒๓ แบบฝึ กที่ ๖ จบด้ วยโคลงสองสุ ภาพ เมื่อแต่งร่ ายสุภาพหลายวรรคเชื่อมสัมผัสต่อกันจนจบความแล้ว ต้องลงจบด้วย โคลงสองสุภาพ เสมอ แผนผังโคลงสองสุ ภาพ ( ) ตัวอย่าง มิตรดีมีแต่เอื้อ แม้บ่ใช่ชาติเชื้อ ก่อให้สมพันธ์ ั ทวีนา (ลิขิต ภิระบัน) ๑. ให้นกเรี ยนโยงเส้นคําสัมผัสของโคลงสองสุภาพต่อไปนี้ ั ๑.๑ บอกอาการถี่ถอย้ เขาว่าอย่าแคลนน้อย หนึ่งไว้งานตู ๑.๒ สวนใครหนอใคร่ รู้ สวนสมเด็จท้าวชู้ ท่านแล้พระทอง (จากลิลิตพระลอ อ้างใน สุ มาลี วีระวงศ์)
  • 24. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๒๔ ๒. นักเรี ยนเติมรู ปวรรคยุกต์เอก และโทในโคลงสองสุภาพต่อไปนี้ ๒.๑ จึ่งจํานองโคลงอาง ถวายแดบพิตรเจ้าชาง ทานผูมีบุญ แลนา ๒.๒ ข้ากระไดอยูเฝา บอกขาวพระลอเวา สูสรอยสวนขวัญ ๒.๓ ข่าวบพิตรเจาหลา เร็ วพีบอกอย่าชา ทานทาวเสด็จมา แม่นฤๅ ๒.๔ มองหนหาตาแหง เห็นแตไกลกล้องแกลง ไตเตาตามกัน ๒.๕ พรางตัวเองดังนี หน้าใชหน้าสับปลี มาไขวถอยเอาเผือ (จากลิลิตพระลอ อ้างใน สุ มาลี วีระวงศ์) ประเมินผล คะแนนเต็ม ได้ ข้อ ๑ ทําถูกต้อง ข้อละ ๑ คะแนน ๑๒ ข้อ ๒ ทําถูกต้อง ข้อละ ๒ คะแนน ๓. ให้นกเรี ยนแต่งโคลงสองสุภาพ (ตอนจบของร่ ายสุภาพ) ต่อจากที่กาหนดให้ ให้ครบบท ั ํ (ใช้คาตายแทนตําแหน่งคําเอกได้) ํ ๓.๑ หมอกควันคลุมปกไว้ มองไม่เห็นไกลใกล้ ................................... ๓.๒ วินยควรเริ่ มสร้าง ................................ ั .................................... ประเมินผล คะแนนเต็ม ได้ ข้อ ๓.๑ และ๓.๒ ๑๐ แต่งถูกต้อง ได้ใจความดี ข้อละ ๕ คะแนน
  • 25. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๒๕ ๔. ให้นกเรี ยนแต่งโคลงสองสุภาพต่อจากร่ ายที่ยงไม่จบบทนี้ให้ถกต้อง ไพเราะและได้ใจความดี ั ั ู ชาวนาไทยลําบาก จนยากเรื่ องทรัพย์สิน ที่ทากินไม่มี ต้องเช่าที่ทานา ํ ํ ปุ๋ ยและยาฆ่าแมลง ก็มาแพงยิงนัก ่ บางครั้งมักขาดแคลน แสนสุดจะลําบาก นํ้ามามากข้าวตาย ทุนหายกําไรหด รันทดแท้ราคา สินค้าพี่นองไทย ้ ............................ ................................ ............................ (................................) ประเมินผล คะแนนเต็ม ได้ แต่งถูกต้องตามข้ องบังคับ ๑๐ คะแนน ๑๕ มีคณค่าและความไพเราะ ุ ๓ คะแนน ลายมือสวยงาม ถูกรูปแบบ อ่านง่ าย ๒ คะแนน
  • 26. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๒๖ แบบฝึ กที่ ๗ แต่ งร่ ายเป็ นเรื่อง คาสั่ง ให้นกเรี ยนแต่งร่ ายสุภาพเรื่ อง วัยรุ่ น ความยาวไม่นอยกว่า ๑๐ วรรค ั ้ (นับรวมโคลงสองสุภาพตอนจบบท) ผูประพันธ์ ชื่อ...............................................................................ชั้น...............เลขที่........... ้ วัยรุ่น ............................................. ................................................ ............................................. ................................................ ............................................. ................................................ ............................................. ................................................ ............................................. ................................................ ............................................. ................................................ ............................................. ................................................ ............................................. ................................................ ประเมินผล คะแนนเต็ม ได้ แต่งถูกต้อง ได้ใจความดี ๒๐ คะแนน ๓๐ มีคุณค่าความไพเราะ / สร้างสรรค์ ๕ คะแนน เขียน หรื อ พิมพ์ถกต้อง สวยงาม ู ๕ คะแนน
  • 27. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๒๗ แบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึ กทักษะการแต่งคาประพันธ์ เรื่อง ร่ ายสุ ภาพ วิชาวรรณศิลป์ ไทย ท ๓๒๒๐๒ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕ คาสั่ง จงเลือกตอบข้อที่เห็นว่าถูกต้องที่สุด โดยทําเครื่ องหมาย x ในช่องตัวอักษรของ กระดาษคําตอบ จํานวน ๑๕ เวลา ๒๐ นาที คะแนนเต็ม ๑๕ คะแนน ๑. ข้อใดคือตอนจบบทของร่ ายสุภาพ ก. ข. ค. ( ) ง. ( ) ๒. คําส่ง – รับ สัมผัสข้อใดผิดไปจากข้อบังคับของร่ ายสุภาพ ก. ข้า – ท่า ข. ไกล – ชัย ค. เกลื่อน – เลื่อน ง. กราบ – ทราบ ๓. ข้อใดคือรู ปแบบของร่ ายสุภาพ ก. วางเรี ยงวรรคเหมือนความเรี ยงร้อยแก้ว ข. วางบาทละ ๓ – ๔ วรรค ค. วางบาทละ ๒ วรรค ง. ทุกข้อ
  • 28. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๒๘ ๔. ข้อใดคือคําสุภาพทั้งหมด ก. เสื่อมใส เข้าใจ ข. ศรัทธา พาใจ ค. ค่าลํ้า นํ้าใจ ง. ยิงใคร จริ งใจ ่ ๕. ข้อใดคือความนิยมในการแต่งร่ าย ก. แต่งเป็ นเรื่ องยาว ๆ และแต่งคละกันไปกับโคลง ข. แต่งเป็ นเรื่ องสั้น ๆ และแต่งคละกันไปกับโคลง ค. แต่งเป็ นเรื่ องยาว ๆ และแต่งคละกันไปกับกลอนสุภาพ ง. แต่งเป็ นเรื่ องสั้น ๆ และแต่งคละกันไปกับกลอนสุภาพ ๖. ข้อใดคือการจัดวรรคแบบร่ ายสุภาพ ก. วันนี้ นังเปิ ดอินเตอร์เน็ต เจอภาพเด็ดคลิปเรนเจอร์ ่ ข. แชทกันไปแชทกันมา ไม่เคยพบหน้า เสียท่าหมดตัว ค. เอ็มพีสามสุดรัก ฟังไม่พกหูตึง เราพึงตรองการใช้ ั ง. เอ็มพีสี่สงได้ หนังสือเรี ยนเอาเก็บไว้ สอบตกอยูร่ ําไป อนิจจา ั่ ่ ๗. ข้อใดคือโคลงสองสุภาพ ก. ใครรานใครรุ กด้าว แดนไทย ข. หายากฝากผีไข้ ยากแท้จกหา ั ค. ฝ่ ายพระนครรามัญ ขัณฑ์เขตด้าวอัสดง ง. พระพลันทรงเครื่ องต้น งามประเสริ ฐเลิศล้น แหล่งหล้าควรชม ๘. ข้อใดไม่ มี “สัมผัสใน” ก. กระดังงาเลื้อยซุม ้ ข. ดาวเรื องดอกโรยรา ค. สิ้นกลิ่นกุหลาบโชย ง. กระดุมทองถูกเด็ด
  • 29. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๒๙ ๙. ข้อบังคับใดที่เคร่ งครัดที่สุดในการแต่งร่ ายสุภาพ ก. ต้องมีวรรคละ ๕ คํา ข. ต้องลงจบด้วยโคลงสองสุภาพ ค. บทหนึ่ง ๆ ต้องมีไม่นอยกว่า ๑๐ วรรค ้ ง. ต้องส่งสัมผัสจากคําสุดท้ายวรรคไปยังคําที่ ๓ ของวรรคถัดไป ๑๐. “สัมผัสใน” ของวรรคใดที่แตกต่างจากวรรคอื่น ๆ ก. สองคชชนชาญเชี่ยว ข. หงายงาเสยสารศึก ค. เรี่ ยวรณรงค์เริ งแรง ง. ข้าศึกดูดาษเดียร ๑๑. ข้อใดกล่าวถึงการใช้คาสัมผัสของร่ ายสุภาพได้ถูกต้อง ํ ก. ต้องมีสมผัสในทุกวรรค ั ข. ต้องมีสมผัสเชื่อมวรรคทุกวรรค ั ค. มีการกําหนดตําแหน่งของคําสัมผัสอย่างเคร่ งครัด ง. นิยมใช้สมผัสในไปเป็ นสัมผัสสระมากกว่าสัมผัสอักษร ั ๑๒. ข้อใดกล่าวถึงร่ ายสุภาพผิดไป ก. แต่ละวรรคต้องมีจานวนคํา ๕ คํา เพิ่มเป็ น ๖ คําได้เป็ นบางวรรค ํ ข. สัมผัสส่ง – รับ ต้องเป็ นคําสุภาพเท่านั้น ค. สัมผัสต้องมีต่อเนื่องกันไปทุกวรรค ง. รับสัมผัสได้ต้งแต่คาที่ ๑ ั ํ –๕ ๑๓. ข้อใดใช้คาดีเด่นด้านการให้ภาพจินตนาการ ํ ก. หยดนํ้าค้าง ข. หยาดนํ้าค้าง ค. เพชรนํ้าค้าง ง. เม็ดนํ้าค้าง
  • 30. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๓๐ ๑๔. ข้อใดแต่งโดยใช้ศิลปะการสรรคํา สัมผัสในและโวหารภาพพจน์ ก. พระคุณแม่เทียบฟ้ า ทัวหล้าฟ้ ารายรอบ ่ ข. พระคุณแม่ยงลํ้า บุญคุณคํ้าเหนือเกล้า ่ิ ค. พระคุณแม่มากล้น เป็ นล้นพ้นมากยิง ่ ง. พระคุณแม่มากมี จงทําดีเพื่อท่าน ๑๕. ควรใช้วรรคใดต่อจากวรรคที่กาหนดให้ จึงจะถูกต้องตามข้อบังคับของร่ ายสุภาพ ํ “เพื่อนมอห้าทับห้า.......................................” ก. เรามาพัฒนาท้องถิ่น ข. เราอย่าเกียจคร้านเลย ค. เราจะฝ่ าอุปสรรค ง. เรากล้าหาญชาญชัย
  • 31. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๓๑ เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ๑. ค ๒. ก ๓. ง ๔. ข ๕. ก ๖. ค ๗. ง ๘. ก ๙. ข ๑๐. ค ๑๑. ข ๑๒. ข ๑๓. ค ๑๔. ข ๑๕. ง
  • 32. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๓๒ บรรณานุกรม บรรจง ชาครัตพงศ์. เคล็ดลับการแต่งคาประพันธ์ . กรุ งเทพมหานคร : ดอกหญ้าวิชาการ, ๒๕๕๑. บุญเหลือ ใจมโน. การแต่งคาประพันธ์ . กรุ งเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , ๒๕๔๙. บารมี ถาวระ. ลักษณะคาประพันธ์ ไทย. กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์ไทม์พริ้ นติ้ง, ๒๕๔๑. พรทิพย์ แฟงสุด. ฉันทลักษณ์ไทย. กรุ งเทพมหานคร : ฟิ สิกส์เซ็นเตอร์ , ๒๕๔๔. วัฒนะ บุญจับ. ร้ อยกรองไทย. กรุ งเทพมหานคร : บริ ษทเอดิสนเพรส โพรดักส์ จํากัด, ั ั ๒๕๔๔. วิเชียร เกษประทุม. ลักษณะคาประพันธ์ ไทย. กรุ งเทพมหานคร : พัฒนาศึกษา, ๒๕๕๐. เสนีย ์ วิลาวรรณ. การเขียน ๑. กรุ งเทพมหานคร : วัฒนาพานิช, ๒๕๔๗. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือเรียนรายวิชา พืนฐานภาษาไทย วรรณคดีวจกษ์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕. กรุ งเทพมหานคร : ้ ิั สํานักงานฯ, ๒๕๕๔. สุมาลี วีระวงศ์. วิถีไทยในลิลตพระลอ. กรุ งเทพมหานคร : สถาพรบุ๊คส์, ๒๕๔๙. ิ
  • 33. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๓๓ ภาคผนวก
  • 34. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๓๔ เฉลยแบบฝึ ก แบบฝึ กที่ ๑ (แนวการตอบ) ๑. ให้นกเรี ยนทําเครื่ องหมาย / แทนการเว้นวรรคดังตัวอย่าง ั ๑.๑ ปู่ ไป่ ผายตอบถ้อย / อยูนอยหนึ่งบมินาน / ปู่ ก็ธิญาณเล็งดู / กูจะช่วยควรฤๅมิควร / ่ ้ รู้ท้งมวลทุกอัน / ด้วยผลกรรม์เขาแต่ก่อน / ทําหย่อนหย่อนตึงตึง / ส่วนจะถึงบมิหยุด / ั เท่าว่าพลันสุดพลันม้วย / วยผลกรรมเขาเอง / แต่เพรงเขาทั้งสอง / ทําบุญปองจะไจ้ / ขอได้พ่งบุญตู ึ ๑.๒ ชมไม้ไหล้สะอาด /เหมือนปราสาทพิศาล / คือพิมานมลเทียร / อาเกียรณ์แกมดอกแดง / แสงดุจปัทมราค / ภาคใบเขียวสรด / คือมรกตรุ่ งเรื อง / ดอกเหลืองเพียงทองสุก / ขาวดุจมุกดาดาษ / โอภาสพรรณพิจิตร / พิพิธภูมิลาเนา / ํ งามเอาใจใช่นอย / คล้อยลงถึงดินตํ่า ้
  • 35. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๓๕ ๒. เขียนข้อความนี้โดยเว้นวรรคให้อยูในรู ปแบบของร่ ายสุภาพด้วยลายมือที สวยงามเป็ น ่ ระเบียบ ถูกต้องและอ่านง่าย ๒.๑ เรี ยงคําจัดวรรคตามรูปแบบที่ ๑ ส่วนสาวเจ้ากํานัลนั้น ครั้นจะอยูทาว ธ จะมิหลับ ขับกันลงเล่นไหล้ ่ ้ ชมดอกไม้วลย์เครื อ แต่สองเผือนี้จะเฝ้ า สองท้าวเจ้าจอมราช ั ครั้นฝูงนางคลาดคลาลงแล้ว สองพระพี่เลี้ยงแก้ว หับถี่ถวนทุกทวาร ้ ๒.๒ เรี ยงคําจัดวรรคตามรูปแบบที่ ๒ ส่วนสาวเจ้ากํานัลนั้น ครั้นจะอยูทาว ธ จะมิหลับ ่ ้ ขับกันลงเล่นไหล้ ชมดอกไม้วลย์เครื อ ั แต่สองเผือนี้จะเฝ้ า สองท้าวเจ้าจอมราช ครั้นฝูงนางคลาดคลาลงแล้ว สองพระพี่เลี้ยงแก้ว หับถี่ถวนทุกทวาร ้
  • 36. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๓๖ แบบฝึ กที่ ๒ (แนวการตอบ) คาสั่ง จงขีดเส้นโยงคําสัมผัสที่ต่อเนื่องกันไปทุกวรรค ตามตัวอย่าง ๑. ประทบประทะอลวน สองคชชนชาญเชี่ยว เรี่ ยวรณรงค์เริ งแรง แทงถีบฉัดตะลุมบอน พม่ามอญตายกลาด ข้าศึกสาดปื นโซรม โรมกุทณฑ์ธนู ดูดงพรรษาซ้อง ไป่ ตกต้องคนสาร ั ั่ ธุมาการเกิดกระลบ อบอลเวงฟากฟ้ า ดูบ่รู้จกหน้า หนึ่งสิ้นแสงไถง แลนา ั ๒. เคลื่อนพลตามเกล็ดนาค ตากเต็มท่งแถวเถื่อน เกลือนกล่นแสนยาทัพ ถับปะทะไพริ นทร์ ่ ส่วนหัสดินอุภย เจ้าพระยาไชยานุภาพ ั เจ้าพระยาปราบไตรจักร ตรับตระหนักสําเนียง เสียงฆ้องกลองปื นศึก อึกเอิกก้องกาหล
  • 37. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๓๗ แบบฝึ กที่ ๓ (แนวการตอบ อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน) คาสั่ง ให้นกเรี ยนเติมคําลงในช่องว่างให้ถกต้อง เหมาะสมและได้ใจความ ั ู ประเพณี สงกรานต์ มีสืบสานกันมา เป็ นเวลานมนาน เกี่ยวกับงานขึ้นปี ใหม่ มิใช่ ปัจจุบน ั ได้แปรผันเปลี่ยนแปลง ทัวทุกแห่งเป็ นสากล ่ แต่ทุกคนยังคงไว้ ให้คนรุ่ นหลังยึดถือ ว่านี้คือวิถี สิ่งดีงามควร อนุรักษ์ ให้เป็ นหลักเป็ นฐาน ทานปล่อยนกปล่อยปลา ชวนกันมาขนทราย ไปถวายวัดวา ทั้งบูชาสรงนํ้า คุณค่าลํ้ากุศล บันดลให้เป็ นสุข ปราศจากทุกข์เภทภัย รดนํ้าผูใหญ่ใกล้ไกล ้ ท่านให้ชยอวยพร ั พร้อมคําสอนปฏิบติ ั เคร่ งครัดความดีงาม ตามแบบอย่างอันดี เป็ นศรี ควรต่อตั้ง เพื่อมิให้พลาดพลั้ง อยูได้เจริ ญเทอญ ่
  • 38. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๓๘ แบบฝึ กที่ ๔ (แนวการตอบ) ๑.ให้นกเรี ยนโยงเส้น สัมผัสใน (คําสัมผัสภายในวรรคเดียวกันที่เป็ น สัมผัสอักษร ั หรื อเรี ยกว่า สัมผัสพยัญชนะ ของแต่ละวรรค ตามตัวอย่าง ในวรรคที่ ๑ และ ๒) จริ วจราวซุกจรจรัล บรู้กี่พรรณปูปลา นกหกดาดาษอยู่ หงส์เหินสู่สระสรง เป็ นนํ้าลงลอยล่อง ทุงทองท่องจรจรัล จากพรากพรรค์ฟมฟอง ู คับแคครองคู่ไหว้ ดอกบัวผ้ายจับบัว ภมรมัวเมาซาบ อาบละอองเกสร สลอนบุษบาบาน ๒.ให้นกเรี ยนเขียนคําสัมผัสในที่เป็ นสัมผัสอักษร ั ๒.๑ สัตว์จตุบาทเนืองนอง สัมผัสอักษร คือ เนือง – นอง ๒.๒ กวางทองท่องเล็มเกรี ยง สัมผัสอักษร คือ ทอง – ท่อง ๒.๓ หมีเม่นเมียงตามระมาด สัมผัสอักษร คือ หมี – เม่น – เมียง –(ระ)มาด ๒.๔ กาสรกาจกําเลาะ สัมผัสอักษร คือ กา – กาจ – กํา ๒.๕ พระบอกจงจริ งให้ สัมผัสอักษร คือ จง – จริ ง
  • 39. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๓๙ ๓. ให้นกเรี ยนเขียนคําสัมผัสสระในร่ ายต่อไปนี้ ั ๓.๑ กระทิงเกริ่ นเตร็ จคู่ ผีโป่ งกู่กองดง ้ สัมผัสสระ คือ คู่ – กู่ ๓.๒ กระจงหลงกระเจิง ทรายลองเชิงเล่นฉาว สัมผัสสระ คือ เจิง – เชิง ๓.๓ ศรี สวัสดิเดชะ ชนะราชอริ นทร์ สัมผัสสระ คือ (เด)ชะ – (ช)นะ ๓.๔ ยินพระยศเกริ กเกรี ยง เพียงพกแผ่นลาญใจแกล้วบมิกล้า สัมผัสสระ คือ เกรี ยง – เพียง ๓.๕ บค้าอาตม์ออกรงค์ บคงอาตม์ออกฤทธิ์ สัมผัสสระ คือ รงค์ – คง ๔. ให้นกเรี ยนนําตัวอักษรหน้าโวหารภาพพจน์ต่อไปนี้ ไปเติมหน้าข้อที่เห็นว่าใช้โวหาร ั ภาพพจน์ตรงกัน ก. อุปมา ข. อุปลักษณ์ ค. สัญลักษณ์ ง. อติพจน์ จ. บุคลาธิษฐาน จ ................... ๑. เมฆหมอกขุ่นเคืองโกรธ สายฟ้ าพิโรธแรง แทงรัศมีพุ่งใส่ คนหยาบใหญ่ไหม้เกรี ยม ก ................... ๒. เขาว่าอย่าเทียมเทียบ ซีว่าเทพสิเปรี ยบไป่ ปาน หนุ่มสะคราญงามนัก น่าใคร่ รักแห่งพราหมณ์ ข ๓. พิศดูครางสระสม ................... พิศศอกกลมกลกลึง สองไหล่พึงใจกาม อกงามเงื่อนไกรสร ง ................... ๔. แม่ยนครู เอ๋ ยเอื้อน ใบหน้าเปื้ อนนํ้าตา ลูกติดยาหนีเรี ยน ิ ใจแม่เจียนขาดแล้ว ค .................... ๕. นักเรี ยนรักการอ่าน ฝ่ าด่านอวิชาชา ปี นบันใดไต่ฟ้า เอื้อมมือคว้าดวงดาว
  • 40. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๔๐ แบบฝึ กที่ ๕ (แนวการตอบ อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน) ๑. ให้นกเรี ยนเติมคําให้ครบ ๑ วรรคของร่ ายสุภาพ (วรรคละ ๕ คํา) โดยให้มีคาสัมผัส ั ํ อักษรเพื่อเพิ่มความไพเราะของเสียง ซึ่งไม่บงคับว่าจะอยูตาแหน่งคําที่เท่าไร ั ่ ํ ๑.๑ นํ้า ท่ วมทั่วทุ่งไทย ๑.๒ ฟ้ า สางเริ่มสดใส ๑.๓ ดาว ดับมืดมิดหมด ๑.๔ เดือน เด่ นเพ็ญโพยม ๑.๕ ดิน แห้ งให้ ห่อเหี่ยว ๒. ให้นกเรี ยนแต่งร่ ายต่อจากที่กาหนดไว้ ข้อละ ๑ วรรค (๕ คํา) ให้ถกต้องและไพเราะ ั ํ ู ๒.๑ ฝนตกไม่ทวฟ้ า ั่ ไม่ถ้วนหน้ าทั่วถึง ๒.๒ ทุ่งรวงทองมองงาม ในยามหน้ าเก็บเกียว ่ ๒.๓ ต่อต้านสารเสพติด พิษภัยของสังคม ๒.๔ วัยรุ่ นไม่วุ่นรัก แต่ฉันฝักไฝ่ เรียน ๒.๕ อ่านเขียนเพียรอุตส่าห์ อย่าปล่อยเวลาเปล่า
  • 41. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๔๑ ๓. ให้นกเรี ยนแต่งร่ ายสุภาพต่อจากที่กาหนดให้ไม่นอยกว่า ๑๐ วรรค (วรรคละ ๕ คํา อาจ ั ํ ้ มีบางวรรคที่ใช้ ๖คํา) ให้ถกต้องตามข้อบังคับของการแต่งร่ ายสุภาพและ ให้มีคุณค่า ู ความไพเราะ รวมทั้งได้ใจความ ผูประพันธ์.........................................................................ชั้น.............เลขที่......... ้ ตานก๋ วยสลาก รี ตรอยคนโบราณ มีมานานเกินทบ นบทานให้คนตาย ที่ดบหายวายลับ ั ดับเป็ นเปรตเป็ นผี ต่างมีความสงสาร เกิดเป็ นตานก๋ วยสลาก พระเณรมากมาโปรด ต่างปราโมทย์ยนดี เพราะได้พลีแทนทด ิ ไม่กาหนดพระรู ปใด พระเสี่ยงไปจับสลาก ํ คนภาคเหนือมากหน้า ตกแต่งดาอย่าช้า พรั่งพร้อมการทําบุญ ใหญ่นา
  • 42. แบบฝึ กทักษะการแต่ง ร่ ายสุ ภาพ ๔๒ แบบฝึ กที่ ๖ (แนวการตอบตอบ ข้ อ ๓, ๔ อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน) ๑. ให้นกเรี ยนโยงเส้นคําสัมผัสของโคลงสองสุภาพต่อไปนี้ ั ๑.๑ บอกอาการถี่ถอย ้ เขาว่าอย่าแคลนน้อย หนึ่งไว้งานตู ๑.๒ สวนใครหนอใคร่ รู้ สวนสมเด็จท้าวชู้ ท่านแล้พระทอง ๒. นักเรี ยนเติมรู ปวรรคยุกต์เอก และโทในโคลงสองสุภาพต่อไปนี้ ๒.๑ จึ่งจํานองโคลงอ้าง ถวายแด่บพิตรเจ้าช้าง ท่านผูมีบุญ แลนา ้ ๒.๒ ข้ากระไดอยูเ่ ฝ้ า บอกข่าวพระลอเว้า สู่สร้อยสวนขวัญ ๒.๓ ข่าวบพิตรเจ้าหล้า เร็ วพี่บอกอย่าช้า ท่านท้าวเสด็จมา แม่นฤๅ ๒.๔ มองหนหาตาแห้ง เห็นแต่ไกลกล้องแกล้ง ไต่เต้าตามกัน ๒.๕ พรางตัวเองดังนี้ ่ หน้าใช่หน้าสับปลี้ มาไขว่ถอยเอาเผือ ้ ๓. ให้นกเรี ยนแต่งโคลงสองสุภาพ (ตอนจบของร่ ายสุภาพ) ต่อจากที่กาหนดให้ ให้ครบบท ั ํ (ใช้คาตายแทนตําแหน่งคําเอกได้) ํ ๓.๑ หมอกควันคลุมปกไว้ มองไม่เห็นไกลใกล้ ทั่วทั้งตัวเมือง หมดนา ๓.๒ วินยควรเริ่ มสร้าง ั ให้ เด็กเล็กค่อนข้ าง จะได้ ผลดี แน่ นา