SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  64
Télécharger pour lire hors ligne
สื่อส่องทาง สว่างอ�ำไพ

แสงธรรม

ทุกชีวิตมีปัญหา พระพุทธศาสนามีทางแก้
วารสารธรรมะรายเดือนที่เก่าแก่ที่สุดในอเมริกา
ปีที่ 38  ฉบับที่ 454  ประจ�ำเดือนกุมภาพันธ์   พ.ศ. 2556  Vol.38  No.454  February,  2013
OBJECTIVES
�To promote Buddhist activities.
�To foster Thai culture and tradition.
�To inform the public of the temple’s activities.
�To provide a public relations center for
	 Buddhists living in the United States.
เจ้าของ : วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี.
	 ที่ปรึกษา : พระวิเทศธรรมรังษี
	 กองบรรณาธิการ :
	 พระครูสิริอรรถวิเทศ (ดร.พระมหาถนัด  อตฺถจารี)
	 พระมหาสิทธิผล   สิทฺธิผโล
	 พระมหาเรืองฤทธิ์  สมิทฺธิญาโณ
	 พระสุริยา  เตชวโร
	 พระมหาวสันต์  วาริชวํโส
	 พระมหาสราวุธ  สราวุโธ
	 พระมหาประดู่ชัย  ภทฺทธมฺโม
	 พระมหาศรีสุพรณ์  อตฺตทีโป
	 พระมหาค�ำตัล  พุทฺธงฺกุโร
	 พระอนันต์ภิวัฒน์  พุทฺธรกฺขิโต
	 และอุบาสก-อุบาสิกาวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี.
	

	 SAENG DHAMMA Magazine
	 is published monthly by
	 Wat Thai Washington, D.C. Temple
	 At 13440 Layhill Rd.,
	 Silver Spring, MD 20906
	 Tel. (301) 871-8660, 871-8661
	 Fax : 301-871-5007
	 E-mail : saengdhamma@hotmail.com
	 Homepage : www.watthaidc.org
	 Radio Network : www.watthai.iirt.net
	 2,500 Copies

สารบัญ
Contents
	 The Buddha’s Words.............................................. 1
	 คมคิดชีวิตงาม โดย หลวงตาชี ..................................... 2
Understanding the law of Kamma by P.A. Payutto 3
You are Your Own Refuge? by Du Wayne Engelhart ............. 8
ความคืบหน้าการก่อสร้าง “อาคาร 80 ปี หลวงตาชี” ............ 11
	 อนุโมทนาพิเศษ / Special Thanks............................ 17
แจ้งข่าวปฏิบัติธรรมประจ�ำเดือนกุมภาพันธ์ ............ 18

	 เสียงธรรม...จากวัดไทย......................หลวงตาชี 19
	 ประมวลภาพกิจกรรมท�ำบุญเดือนมกราคม ..................... 30
	 เสียงธรรม...จากหลวงตาชี ...................................... 32
	 ท่องพม่า แดนมหาเจดีย์ทองค�ำ ดร.พระมหาถนัด.........  39
  สารธรรมจาก...พระไตรปิฎก ..................................... 43
  สรุปข่าวเดือนมกราคม โดย แสงตะวัน ..................... 45
January’s Donation By Ven. Sarawut ............ 48
	 รายนามผู้บริจาคออมบุญประจ�ำปีและเจ้าภาพภัตตาหารเช้า..52
	 รายนามเจ้าภาพถวายเพล / Lunch........................... 53
	 ก�ำหนดการท�ำบุญเทศน์มหาชาติ  ............................. 62

Photos taken by
Ven. Khumtan, Ven. Ananphiwat,
Mr. Kevin & Mr. Sam
Bank & Ms. Golf & Suchart
ถ้อยแถลง
	
	
	
	

	
	
	
	

	
	
	
	

	
	
	
	

	
	
	
	

แสงธรรม...น�ำสุขทุกสมัย
แสงธรรม...น�ำใจให้มีคุณค่า
แสงธรรม...น�ำชีวิตเกิดปัญญา
แสงธรรม...น�ำพาให้ก้าวไกล

	
แสงธรรมฉบับนี้มีความหมายพิเศษเพราะตรงกับเดือนแห่งการแสดงโอวาทปาติโมกข์ของพระพุทธเจ้า
ซึ่งได้แสดงหลักการอันเป็นหัวใจส�ำคัญของพระพุทธศาสนาคือ
		
๑ สัพพะปาปัสสะ อะกะระณัง 	 เว้นจากการท�ำความชั่วทุกกรณี
	
	
๒ กุสสะลัสสูปะสัมปะทา 	 	
ท�ำความดีทุกโอกาส  
	
	
๓ สะจิตตะปะริโยทะปะนัง 	 	
ช�ำระจิตใจให้สะอาดตลอดเวลา 
	
พระพุทธองค์ได้ทรงแสดงที่วัดเวฬุวันสถานที่ส�ำคัญยิ่งในพระพุทธศาสนาทั้งในอดีตและปัจจุบันคือ
	
	
๑ เป็นวัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนา
	
	
๒ เป็นสถานที่ประทับอยู่จ�ำพรรษาของพระพุทธเจ้า
	
	
๓ เป็นสถานที่ประชุมสงฆ์ครั้งส�ำคัญยิ่งในทางพระพุทธศาสนา
	
	
๔ เป็นจุดศูนย์กลางที่พระพุทธองค์ใช้เป็นที่เผยแผ่พระพุทธศาสนายุคแรก
	
ทีน�ำเอาสถานทีและหลักใหญ่ใจความเหล่านีมาน�ำเสนอในถ้อยแถลงนีเ้ พือย�้ำเตือนให้เกิดการทบทวนว่า
่
่
้
่
เดือนนี้มีความพิเศษเช่นไร
	
บทความของพระเดชพระคุณของหลวงตายังทรงคุณค่ามีความหมายมาก ๆ  โดยได้นำหลักธรรมส�ำคัญ
�
มาขยายความเพือให้เกิดการเรียนรูพร้อมทังแทรกหลักปฏิบตอนให้เกิดประโยชน์ตอการด�ำเนินชีวตได้เป็นอย่าง
่
้
้
ัิั
่
ิ
ดี ข่าวสาส์นสารประโยชน์อัดแน่นในแสงธรรมฉบับนี้ โปรดติดตามโดยพลัน
คณะผู้จัดท�ำ
แสงธรรม 1

Saeng Dhamma

The Buddha’s Words

พุทธสุภาษิต

		
		
		

อนูปวาโท อนูปฆาโต	
มตฺตญฺญุตา จ ภตฺตสฺมึ	
อธิจิตฺเต จ อาโยโค	

		
		
		

ไม่ว่าร้ายใคร ไม่กระทบกระทั่งใคร ระมัดระวังในปาติโมกข์
บริโภคพอประมาณ อยู่ในสถานสงัด ฝึกหัดจิตให้สงบ
นี้คือคำ�สอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย

ปาฏิโมกฺเข จ สํวโร
ปนฺตญฺจ สยนาสนํ
เอตํ พุทฺธาน สาสนํ ฯ ๑๘๕ ฯ

		 To speak no ill, To do no harm, To observe the Rules,
		 To be moderate in eating, To live in a secluded abode,
		 To devote onself to meditation - This is the Message of the Buddhas.
แสงธรรม 2

...คมคิดชีวิตงาม...

ความรัก
	 มีความรัก	ด้วยธรรมะ	 พระบอกว่า
ย่อมนำ�มา	 ซึ่งความสุข	 ทุกข์ห่างเหิน
อยู่ที่ไหน	 จิตใจ
ใฝ่เพลิดเพลิน
สุขเจริญ	 รักมีธรรม	 ค้ำ�ประกัน
	 รักมีธรรม	 ค้ำ�ประกัน	
จะนำ�พา	 ให้ประสบ	
ถ้าความรัก	 มีธรรม	
ความรักนั้น	 จะราบรื่น	

นั้นมีค่า
พบสุขสันต์
คำ�้ประกัน
ยืนจีรัง

	 ถ้าทุกคน	 รักกัน	
แน่นอนล่ะ	 รับรอง	
เพราะธรรมะ	 นั้นดี	
เป็นกำ�ลัง	 ให้รักกัน	

ด้วยธรรมะ
ต้องสุขัง
มีพลัง
จนวันตาย...

“..หลวงตาชี..”

Saeng Dhamma
แสงธรรม 3

Saeng Dhamma

Understanding
the Law of Kamma
By Bhikkhu P. A. Payutto
Translated by Bruce Evans

Continued from last issue

	H

aving looked at these four different
shades of meaning for the word
“kamma,” still it must be stressed that any
definition of kamma should always be based
on intention. Intention is the factor which
guides our relationships with other things.
Whether we will act under the influence of
unskillful tendencies, in the form of greed,
hatred and delusion, or skillful tendencies, is
all under the control of intention.
	 Any act which is without intention has
no bearing on the law of kamma. That is, it
does not come into the law of kamma, but
one of the other niyama, such as utuniyama
(physical laws). Such actions have the same
significance as a pile of earth caving in, a rock
falling from a mountain, or a dead branch
falling from a tree.
Kinds of kamma
	 In terms of   its qualities, or its roots,
kamma can be divided into two main types.

They are:
	 1. Akusala kamma: kamma which is unskillful, actions which are not good, or are
evil; specifically, actions which are born from
the akusala mula, the roots of unskillfulness,
which are greed, hatred and delusion.
	 2. Kusala kamma: actions which are skillful or good; specifically, actions which are
born from the three kusala mula, or roots of
skill, which are non-greed, non-hatred and
non-delusion.
	 Alternatively, kamma can be classified
according to the paths or channels through
which it occurs, of which there are three.
They are:
	 1. Bodily kamma: intentional actions
through the body.
	 2. Verbal kamma: intentional actions
through speech.
	 3. Mental kamma: intentional actions
through the mind.
	 Incorporating both of the classifications
described above, we have altogether six
แสงธรรม 4

Saeng Dhamma

kinds of kamma: bodily, verbal and mental
kamma which is unskillful; and bodily, verbal
and mental kamma which is skillful.
	 Another way of classifying kamma is
according to its results. In this classification
there are four categories:
	 1. Black kamma, black result: This refers
to bodily actions, verbal actions and mental
actions which are harmful. Simple examples
are killing, stealing, sexual infidelity, lying and
drinking intoxicants.e
	 2. White kamma, white result: These are
bodily actions, ver¬bal actions and mental
actions which are not harmful, such as practicing in accordance with the ten bases for
skillful action.f
	 3. Kamma that is both black and white,
giving results both black and white: Bodily
actions, verbal actions and mental actions
which are partly harmful, partly not.
	 4. Kamma which is neither black nor
white, with results neither black nor white,
which leads to the cessation of kamma: This

is the intention to transcend the three kinds
of kamma mentioned above, or specifically,
developing the Seven Enlightenment Factors
or the Noble Eightfold Path.
	 Of the three channels of kamma – bodily, verbal and mental – it is mental kamma
which is considered the most important and
far-reaching in its effects, as is given in the
Pali:
	 “Listen, Tapassi. Of these three types of
kamma so distin¬guished by me, I say that
mental kamma has the heaviest consequences for the committing of evil deeds and the
existence of evil deeds, not bodily or verbal
kamma.”
	 Mental kamma is considered to be the
most significant because it is the origin of
all other kamma. Thought precedes action
through body and speech. Bodily and verbal
deeds are derived from mental kamma.
	 One of the most important influences of
mental kamma is ditthi – beliefs, views and
personal preferences. Views have an impor-

คุณ CHUD และครอบครัว ท�ำบุญถวายสังฆทานเนอื่ งในวันเกดิ น้อง Nevin Dechsi

คุณศรวัสย์ - คุณรรินทิพย์ - น้องภีม ฐิติณัฐชนน ท�ำบุญวันขึ้นปีใหม่
แสงธรรม 5

Saeng Dhamma

tant bearing on individual behavior, life experiences and social ideals. Actions, speech
and the manipulation of situations are based
on views and preferences. If there is wrong
view, it follows that any subsequent thinking, speech and actions will tend to flow in
a wrong direction. If there is right view, then
the resultant thoughts, speech and actions
will tend to flow in a proper and good direction. This applies not only to the personal
level, but to the social level as well. For example, a society which maintained the belief
that material wealth is the most valuable and
desirable goal in life would strive to attain material pos¬sessions, gauging progress, prestige
and honor by abundance of these things. The
life-style of such people and the development
of such a society would assume one form. In
contrast, a society which valued peace of mind
and contentment as its goal would have a
markedly different life-style and development.
	 There are many occasions where the
Buddha described right view, wrong view, and

their importance, such as:
	 “Monks! What is Right View? I say that
there are two kinds of Right View: the Right
View (of one) with outflows, which is good
kamma and of beneficial result to body and
mind; and the Right View (of one) without
outflows, which is transcendent, and is a factor of the Noble Path.
	 “And what is the Right View which contains outflows, which is good and of beneficial result to body and mind? This is the belief
that offerings bear fruit, the practice of giving bears fruit, reverence is of fruit, good and
evil kamma give appropriate results; there is
this world, there is an after-world; there is a
mother, there is a father; there are spontaneously arisen beings; there are mendicants and
religious who practice well and who proclaim
clearly the truths of this world and the next.
This I call the Right View which contains the
outflows, which is good, and is of beneficial
result to body and mind …”
*****

คุณธวัช–พรใจ–สิทธิเดช–จีด วีระเผา่ ท�ำบุญอุทศิ ให้คณเดช–เลก็ –เขง่ พง–หวัน่ ตี่ และบรรพบุรษุ คุณพลสรณ์–คุณนริศรา ไชยพันธุ์ น้อง Todd - Tan ท�ำบุญถวายสังฆทานวันเกดิ
ุ
แสงธรรม 6

Saeng Dhamma

	 “Monks! I see no other condition which
is so much a cause for the arising of as yet unarisen unskillful conditions, and for the development and fruition of unskillful conditions
already arisen, as wrong view …”
*****
	 “Monks! I see no other condition which
is so much a cause for the arising of as yet
unarisen skillful conditions, and for the development and fruition of skillful conditions
already arisen, as Right View …”
*****
	 “Monks! When there is wrong view, bodily kamma created as a result of that view,
verbal kamma created as a result of that
view, and mental kamma created as a result
of that view, as well as intentions, aspirations,
wishes and mental proliferations, are all productive of results that are undesirable, unpleasant, disagreeable, yielding no benefit,
but conducive to suffering. On what account?
On account of that pernicious view. It is like a
margosa seed, or a seed of the bitter gourd,

planted in moist earth. The soil and water
taken in as nutriment are wholly converted
into a bitter taste, an acrid taste, a foul taste.
Why is that? Because the seed is not good.
	 “Monks! When there is Right View, bodily
kamma created as a result of that view, verbal kamma created as a result of that view,
and mental kamma created as a result of that
view, as well as intentions, aspirations, wishes
and mental proliferations, are all yielding of
results that are desirable, pleasant, agreeable, producing benefit, conducive to happiness. On what account? On account of those
good views. It is like a seed of the sugar cane,
a seed of wheat, or a fruit seed which has
been planted in moist earth. The water and
soil taken in as nutriment are wholly converted into sweetness, into refreshment, into a
delicious taste. On what account is that? On
account of that good seed …”
*****
	 “Monks! There is one whose birth into
this world is not for the benefit of the many,

คุณทวน-คุณดลวรรณ เหวียน และครอบครัว ท�ำบุญวันเกิดเพื่อความเป็นสิริมงคล คุณนุจนต์–คุณพิรยิ ะ ศุภพิพฒน์ ท�ำบุญถวายสังฆทานวันเกดิ พร้อมคุณ Emily Trinh
ิ
ั
แสงธรรม 7

Saeng Dhamma

not for the happiness of the many, but for
the ruin, for the harm of the manyfolk, for the
suffering of both Devas and men. Who is that
person? It is the person with wrong view, with
distorted views. One with wrong view leads
the many away from the truth and into falsehood …
	 “Monks! There is one whose birth into
this world is for the benefit of the many, for
the happiness of the many, for growth, for
benefit, for the happiness of Devas and men.
Who is that person? It is the person with Right
View, who has undistorted views. One with
Right View leads the many away from falsehood, and toward the truth …
	 “Monks! I see no other condition which
is so harmful as wrong view. Of harmful things,
monks, wrong view is the greatest.”
*****
	 “All conditions have mind as forerunner,
mind as master, are accomplished by mind.
Whatever one says or does with a defective

mind brings suffering in its wake, just as the
cartwheel follows the ox’s hoof … Whatever one says or does with a clear mind brings
happiness in its wake, just as the shadow follows its owner.”
The EnD

อนุโมทนาพิเศษ

*********************

คุณธีรยุทธ – คุณสุวรรณี เปรมวัต
เจ้าของร้านอาหาร Ban thai Restaurant
ถวายแผ่นทองคำ�แท้ปิดพระพุทธรูป

อนุโมทนาพิเศษ

*********************

คุ ณ สนั ่ น อั ง อุ บ ลกุ ล
บริจาคชามก๋วยเตี๋ยว ๑๘๐ ลูก
ขอให้กิจการรุ่งเรืองยิ่งๆ ขึ้นไปเทอญ

Mr. Duwayne-คุณชูนนทร์ Engelhart ท�ำบุญเลียงพระวันเกิด คุณไพจิตร จารุตนติ์ ทำ�บุญเลียงพระเนืองในวันเกิด เพือความเป็นสิรมงคล
ิ
้
ั
้ ่
่
ิ
แสงธรรม 8

Saeng Dhamma

You Are
Your Own Refuge
By Du Wayne Engelhart

	
“The Buddha, though a human being, is have to rely upon themselves. In other words, they are
one who has trained and made himself perfect . . their own refuge. They are responsible for whatever
. Even the gods honor him.”
—“Nāga Sutta,” Anguttara Nikāya, III. 346.
	
According to Buddhism, you are your own
refuge. That is, you make your own place of
protection from trouble. This means that if you
want to free yourself from the suffering in your life,
you have to do this yourself. No one can do it for
you. You have to depend upon yourself, not upon
anybody or anything else, to find peace in your life.
Loved ones and friends can help you to some extent,
but it is really up to you. You cannot depend upon
luck, fate, or God. You cannot wait for something
to happen; you have to do something.
	
The first lesson the Buddha taught is that you
are your own refuge.* Shortly after he had been
born, it is said the Buddha-to-be took seven steps,
looked north, south, east, and west, and said in a
loud voice, “I am the greatest in the world; I am in
the first position in the world; I am the oldest in the
world.” Why did he say this? These seem to be the
words of someone who is too full of pride.
Actually, the Buddha-to-be is teaching a lesson. He
is teaching that human beings are independent; they

happens or does not happen in their lives as far as their
behavior is concerned.
Buddhism teaches that the Buddha, the Dhamma,
and the Sangha (the monks) are the three refuges,
the triple refuge, the Triple Gem. They are the triple
refuge but only insofar as you are your own refuge
first. The Buddha can be your refuge if you have
faith in him—a faith that grows into wisdom—and
if you take up the practice. If you do not practice
Buddhism, however, the Buddha can do nothing for
you. The Dhamma can be your refuge if you use it
to get from the state of suffering to the other side, to
the state of Enlightenment. If you do not yourself
use the Dhamma, it will do nothing for you. The
Sangha can be your refuge if you follow the good
example of the monks and listen to their words, but
if you pay no attention to the monks, they will not
be able to help you at all. Everything depends upon
you.
How do you truly become your own refuge in
Buddhism? You do this by letting go of everything in
the world that you are dependent upon—by holding
onto nothing. That is, you make nothing at all in the
world your refuge because there is in fact no refuge
anywhere in the world. There is no safe, secure place
แสงธรรม 9

Saeng Dhamma

in the world because everything and everyone is
always changing and going away. To live as if there
is a refuge in the world is to ask for suffering to come
into your life. There is nothing in the world that is
really yours.**
If you can give up completely every refuge in
the world, you will be enlightened. Enlightenment
is when no change in anything in the world bothers
you at all because there is absolutely nothing in the
world that is your refuge.*** This it total peace and

us. There can be found in truth no “I” or “mine” anywhere in

total freedom.

yours . . . Mental activities are not yours . . . Consciousness

-----------------------------------

is not yours, renounce it. Renouncing it will be to your good,

	

*See Bhikkhu P. A. Payutto, Toward Sustainable

Science (Bangkok: Buddhadhamma Foundation, 1993), pp.
61-63; and the “Mahâpadāna Sutta: The Great Discourse
on the Lineage,” in The Long Discourses of the Buddha; A
Translation of the Dīgha Nikāya, translated from the Pāli by
Maurice Walshe (Boston: Wisdom Publications, 1995), II.15,
pp. 204-05.
	

**We should treat everything in life that we think is

really ours as if it were nothing more than the grass or tree
branches in the forest. We should not think of ourselves as
in any way beings separate from the world of nature around

the world. The Buddha tells the monks, “‘It is as if a person
were to carry away, burn or do as he pleased with the grass,
twigs, branches and foliage in this Jeta Grove. Would it occur
to you to say, “The person is carrying us away, is burning us,
is doing as he pleases with us”?’ / ‘Certainly not, Sir.’ / ‘For
what reason?’ / ‘Because, Lord, this is not ourselves nor what
belongs to ourselves.’ / ‘So, also, bhikkhus, the body is not
yours, renounce it. Renouncing it will be to your good, to
your happiness. Feeling is not yours . . . Perception is not

your happiness’” (An Anthology from the Samyutta Nikāya,
translated by John D. Ireland (Kandy, Ceylon: Buddhist
Publication Society, 1981), XXII.33, pp. 39-40).
	

***Compare Anthology from the Samyutta Nikāya,

XXI.2, p. 31: “The Venerable Sāriputta said: ‘When, friends,
I had gone into seclusion (for meditation) this thought arose
in my mind, “Is there anything in the world, a change and
alteration in which would cause sorrow, lamentation, suffering,
grief and despair to arise in me?” And then, friends, I thought,
“No, there is nothing . . .”’”
Wat Thai Washington, D.C., January 17, 2013

่
คุณกระแต และคุณน้อย ช่วยท�ำความสะอาดห้องน�ำ้ -ห้องครัวของวัด ขออนุโมทนาสาธุ! คุณสนัน เมฆมงคล คุณวิโรจน์ บาลี ช่วยดูแลงานก่อสร้างอาคาร ๘๐ ปี หลวงตาชี
แสงธรรม 10

Saeng Dhamma

ขออนุโมทนาขอบคุณอุบาสกอุบาสิกาวัดไทยดีซีทุกท่าน ที่ร่วมแรงแข็งขันช่วยกันขนย้ายสิ่งของ
จากคาสิ โ บ้ มาเก็บที่กุฏิ เพื่อที่จะย้ า ยคาสิโ บ้ ๒ หลั ง ออกจากลานจอดรถ เมื่ อ วั น ที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๕๖
แสงธรรม 11

Saeng Dhamma

ความคืบหน้าการก่อสร้าง “อาคาร 80 ปี หลวงตาชี”
คณะกรรมการวัดไทยดีซี ผู้ดูแลการก่อสร้าง และเจ้าหน้าที่ผู้รับเหมาก่อสร้าง ของบริษัท
TW ประชุมทุกเช้าวันอังคาร เพื่อแจงความคืบหน้าการก่อสร้าง “อาคาร 80 ปี หลวงตาชี”
แสงธรรม 12

Saeng Dhamma

โครงการสร้างอาคาร 80 ปี หลวงตาชี
- เริ่มมีโครงการสร้างอาคาร 80 ปี 	
- เริ่มด�ำเนินการโครงการฯ 	
- วางแผน / ท�ำแปลนอาคาร / สถานที่	

- พ.ศ. 2548
- พ.ศ. 2549
- พ.ศ. 2550

(ขนาดอาคารมี 3 ชั้น มีพื้นที่ทั้งหมด 13,400 ตร.ฟ. )
- ได้รับอนุญาตให้ด�ำเนินการก่อสร้าง	
- 9 สิงหาคม 2555
- ท�ำสัญญากับบริษัทรับเหมาก่อสร้าง (บริษัท Therrien Waddel, Inc. / TW)
	
- 12 กันยายน 2555
- ประกอบพิธีเปิดหน้าดิน (GROUND BREAKING) 	 - 23 กันยายน 2555
- ผู้รับเหมา เริ่มลงมือก่อสร้าง 	
- 23 ตุลาคม 2555
- ระยะเวลาในการก่อสร้าง 8 เดือน 23 ตุลาคม 2555 – 14 มิถนายน 2556
ุ
- อนุญาตให้ย้ายเข้าอยู่ตึกใหม่ได้ได้ ตั้งแต่ 	
-	22 เมษายน 2556
- จัดงานฉลองอาคารพร้อมกับท�ำบุญอายุวัฒนมงคลครบ 88 ปี หลวงตาชี
	
- 8-9 มิถุนายน 2556
- ค่าก่อสร้างอาคาร รวมทั้งรื้อถอนอาคารเก่า – ท�ำ Land Scape และ
Parking Lots บางส่วน รวมทั้งสิ้น 2,171,513.00 ดอลล่าร์
แสงธรรม 13 Saeng Dhamma

รายการร่วมบริจาคท�ำบุญเป็นเจ้าภาพ
1. ประตูทางเข้าอาคาร 4 ชุด ๆ ละ 	 $1,500 		 (มีเจ้าภาพครบแล้ว)
2. ประตูภายในอาคาร 38 บาน ๆ ละ 	 $500		 (มีเจ้าภาพ 23 บาน)
3. หน้าต่างทั้งอาคาร 47 บาน ๆ ละ 	$700		 (มีเจ้าภาพ 15 บาน)
4. กระเบื้องมุงหลังคา ตารางฟุตละ 	 $30		 (มีเจ้าภาพ 10 ราย)
5. พรมปูพื้นทั้งอาคาร ตารางฟุตละ 	 $40 		 (มีเจ้าภาพ 2 ราย)
6. ห้องพระ หลวงพ่อด�ำ ตารางฟุตละ 	$150 		 (มีเจ้าภาพ 2 ราย)
7. ห้องวิปัสสนากรรมฐาน ตารางฟุตละ $150 		 (มีเจ้าภาพ 11 ราย)
8. ห้องพักพระสงฆ์ 8 ห้องๆ ตารางฟุตละ $150 		 (ยังไม่มีเจ้าภาพ)
9. ห้องสมุด 549 ตารางฟุต ๆ ละ 	 $150 		 (มีเจ้าภาพ 5 ราย)
10. ห้องน�ำพร้อมห้องสุขา 10 ห้อง ๆ ละ $7,500 		 (มีเจ้าภาพ 5 ราย)
้
11. ห้องสุขา ชาย/หญิง 14 ห้อง ๆ ละ $6,000 		 (ยังไม่มีเจ้าภาพ)
12. ห้องอาบน�้ำ (Stand Shower) 10 ห้อง ๆ ละ $1,500		 (มีเจ้าภาพ 3 ราย)
13. ห้องครัว ตารางฟุตละ 	
$150		 (มีเจ้าภาพ 2 ราย)
14. ห้องฉัน ตารางฟุตละ 	
$150		 (มีเจ้าภาพ 1 ราย)

15. ห้องส�ำนักงาน ตารางฟุต
16. ห้องเรียน ตารางฟุตละ
17. ห้องพักครู ตารางฟุตละ
18. กระเบื้องปูพื้น ตารางฟุตละ

$150
$150

(ยังไม่มีเจ้าภาพ)
(ยังไม่มีเจ้าภาพ)

$30

(มีเจ้าภาพ 1 ราย)

$150

*************************

(ยังไม่มีเจ้าภาพ)
แสงธรรม 14

Saeng Dhamma

รายนามผู้จองเป็นเจ้าภาพวัสดุอุปกรณ์ก่อสร้าง
“อาคาร ๘๐ ปี หลวงตาชี”
1. ประตูทางเข้าอาคาร 4 บาน ๆ ละ

	$ 1,500

16.	Pormthip M  Shaiyl	
	
1  บาน
17.	 คุณประยูร - Richart  ฮัก, คุณวิสาขา  เขลากระโทก	1  บาน
(มีเจ้าภาพครบแล้ว)
(ยังไม่มีเจ้าภาพ 15 บาน)
1.  คุณยุพิน  เลาหพันธ์ุ  และครอบครัว	 	
1
	   บาน
2.  ครอบครัวมานะกุล	
	
1
	   บาน 3. หน้าต่าง 47 บานๆ ละ $700 (มีเจ้าภาพ 15 บาน)
	
1
	   บาน
3.  วัดสุทธาวาส  CA	
	
1
	   บาน 1.  คุณวิรัตน์  สุขสมอรรถ	
	
1
	   บาน
4.  กลุ่มเพื่อนรัก (ธรรม)	
	
1
	   บาน 2.  คุณ  Boontarica  บาลี	
3.  คุณกลวิทย์ – คุณรัชนี  รพีพันธ์	
	
3  บาน
---------------------------2. ประตูภายในอาคาร 38 บาน ๆ ละ 	 $ 500
4.  คุณ  Neetinate  Rattananet	
	
1  บาน
5.  คุณ  Kanya  Kambalasiri	
	
3  บาน
(มีเจ้าภาพแล้ว 23 บาน)
	
1
	   บาน
1.  September  Birthday Group	
	
1
	   บาน 6.  กลุ่มเพื่อนรัก (ธรรม)	
1  บาน
2.  คุณกุญชลี  อนันต์สุขศรี	
	
2
	   บาน 7.  คุณดลวรรณ  เหวียน  และครอบครัว	 	
8.  คุณวนิดา สุนทรพิทักษ์, คุณยุพิน  สงวนทรัพย์,  1  บาน
3.  คุณแม่แล่ม–คุณธัญญนันทน์  โพธิ์ทอง 	
     และครอบครัว	
	
1
	   บาน      คุณบรรจง พวงใหญ่, คุณดวงพร  เทียบทอง,
4. คุณวนิดา สุนทรพิทักษ์, คุณยุพิน สงวนทรัพย์,  คุณบรรจง	      คุณบุญลาภ พึ่งพินิจ, คุณชิดชู คงเจริญรส  และเพื่อนๆ
1
    พวงใหญ่, คุณดวงพร  เทียบทอง, คุณบุญลาภ พึ่งพินิจ, 9.  คุณอาทิตย์–คุณหนูทอง สุธาวา,คุณเสถียร จันทวร 		   บาน
	
1
	   บาน
    คุณชิดชู คงเจริญรส  และเพื่อนๆ	
	
1  บาน 10. คุณกุหลาบ  ปาระจิตร	
5.  Southern  Thai  Association	
	
2  บาน 11. คุณสุรศักดิ์ พงศ์วรินทร์, คุณธีรวรรณ  จันทร์ดร 1  บาน
(ยังไม่มีเจ้าภาพ 32 บาน)
6.  ครอบครัวแย้มเพกา +  พยับเดชาชัย	 	
1  บาน
--------------------------7.  คุณยายเสริมศรี  เชื้อวงศ์  และครอบครัว 	
     คุณทองพูน  เฮ็นเซ็น  และครอบครัว	 	
1  บาน 4. กระเบื้องมุงหลังคา ตารางฟุตละ $ 30
8.  คุณมิ่ง– คุณรุ้งฤดี–Fay–Muni  เพริศพราว    	 2  บาน 1.  คุณ  Pinthong  Graffarian	
	 	 $  1,000
9.  คุณสมาน – คุณสมัญญา  จันทนามศรี	     	 2  บาน 2.  ครอบครัวเกษมพันธัย	
	 	 $1,000
10. คุณชวลิต-พรทิพย์ ใช้ญาณ-กนกพร ทองดรงค์   
3.  คุณศิริพร-Edward-William Gresser	   	 	 $ 300
     อุทศให้นางนิภา ม่วงโสภา-พ่อตุ-๊ แม่ทองใบ ม่วงโส 	1  บาน 4.  คุณทรงพล–คุณสมศรี  เกียรติอภิวัฒน์	   	 	 $ 100
ิ
11.	คุณสุกานดา  บุพพานนท์	
	
1  บาน 5.  คุณ  Waraphon  Woraharn + Pual  Pepal  	$ 50
12.	คุณกัญญา	
	
1
	   บาน 6.  คุณ  Chittima Thamsiri, คุณ Tasana  Puttiwat 	$ 50
13.	คุณแม่นิน, คุณบุญกอง สุธาวา, แม่บุญเหลือ โศกท้อ,
7.  คุณ  Chunvipa  Bamrungpetch	 	    	$ 50
	 คุณไสว มูลทา	
	
1  บาน 8.  คุณวีราภรณ์-คุณธีวิทธ์  วงษ์โกวิท	    	 	 $ 50
14. คุณวิเชียร - คุณกันยา จิตไพศาลสุข  	 	
1  บาน 9.	 Tassanee   Kunaprayoon	
	 	 $ 100
15.	Thomas - Satitiya   Chaiyakul	 	
3  บาน 10.	คุณวิทยา - คุณลินจง - ด.ช.มาวิน  เจริญผล		 $ 30
แสงธรรม 15 Saeng Dhamma
5. ห้องสมุด 549 ตารางฟุต ๆ ละ $ 150
10. ห้องส�ำนักงาน ตารางฟุตละ 	
1.  คุณแม่วรรณ  ไกรโรจนานันท์	
	
2.  คณะสื่อมวลชนจากมูลนิธิอิศรา  อมันตกุล	
3.  คุณวัฒนิจ  เจริญพิทักษ์	
	
4.	 Brown  Family	
	
5.	 นายพิมล - นางชุชนาถ  ภิญญาเกษม	 	

	
	
	
	
	

$1,000
(ยังไม่มีเจ้าภาพ)
$ 450 11. ห้องเรียน ตารางฟุตละ 	
(ยังไม่มีเจ้าภาพ)
$ 150
$ 100 12. ห้องพักครู ตารางฟุตละ 	
$ 30
(ยังไม่มีเจ้าภาพ)

6. ห้องวิปัสสนากรรมฐาน 233 ตารางฟุตๆ ละ $ 150

1.  พระมหาถนัด  อตฺถจารี	
	
$ 2,200
2.  ครอบครัววรรณสกุล	
	
$10,000
3.  Devin  Suvarnnasuddhi	
	
$ 802
4.  คุณอรพรรณ  Devoy	
	
$ 600
5.  คุณกีรติ อินโอชานนท์, คุณณัฐพร เรืองโชติชชวาล	 $ 150
ั
6.  คุณเยาวเรศ  อึงตระกูล	
	
$ 150
7.  คุณวิลาสินี เกียรติอภิวัฒน์	
	
$ 150
8.  คุณทรงพล–คุณสมศรี  เกียรติอภิวัฒน์	 	
$ 100
9.  คุณอาทิตย์  เกียรติอภิวัฒน์	
	
$ 50
10. คุณวรรณพร  ธรรมโชติ	
	
$ 50
11	 คุณวิทยา - คุณลินจง - ด.ช.มาวิน  เจริญผล	 $ 170

7. ห้องอาบน�้ำ พร้อมห้องสุขา 10 ห้อง ๆ ละ $ 7,500
(มีเจ้าภาพแล้ว 4 ห้อง)
1.  ครอบครัวเจตบุตร	
	
2.  คุณพัชรา  ตวงเศรษฐวุฒิ  และครอบครัว	
3.  กลุ่มพลังบุญ	
	
4.  คุณนิพรรณ  พริ้งประยูร	
	
5.	 ดร.สุทนต์ - คุณศิริกันย์  ธรรมประเสริฐ 	

$ 150
$ 150
$ 150

13. ห้องครัว ตารางฟุตละ 	

$ 150

14. ห้องฉัน ตารางฟุตละ 	

$ 150

1.  Eastland Food Corporation	
	 $ 10,000
2.  คุณพยุง – คุณจินตนา  งามสอาด (เตาห้องครัว)	 $ 4,000
--------------------------1.  Eastland Food Corporation	
	
---------------------------

$ 10,000

15. ห้องพระหลวงพ่อด�ำ ตารางฟุตละ 	 $ 150

1.  คุณพยุง – คุณจินตนา  งามสอาด  	
    ร้านทะเลไทย	
      $ 6,000	
2.  คุณกัญญา  สว่างโรจน์	
	 $ 1,000
---------------------------

16. กระเบื้องปูภายในอาคาร ตารางฟุตละ $ 30

1.  คุณ Tasana Putthiwat,คุณ Anchalee,    
1
	   ห้อง     Raweewan Dattanadon  	
	 $ 30
1  ห้อง
--------------------------1
	   ห้อง 17. พรมปูพื้น ตารางฟุตละ 	
$ 40
$
	 1,009 1.  คุณดวงจ�ำปี บุญธรรม, คุณวงเดือน เมฆขุนทด, 	
1  ห้อง     ป้านิตยา  ทอมสัน 	
	 $ 400
8. ห้องอาบน�้ำ (Stand Shower) 14 ห้อง ๆ ละ $ 1,500 2.	 P. Chanyasubkit	
	 $ 40
(มีเจ้าภาพ 3 ห้อง)
--------------------------1.  คุณวรรณี  ศรีสุพรรณ์, คุณแสงจันทร์  โรบินสัน,  คุณทัฬห์ 18. ห้องพักพระสงฆ์ 8 ห้อง (รวม 767 ตรฟ.ๆ ละ $ 150)
(ยังไม่มีเจ้าภาพ)
	 อัตวุฒ,ิ คุณบุณณ์ภสสร–คุณศรสวรรค์ พงศ์วรินทร์ 1 ห้อง
ั
้
2.  คุณเพลินจันทร์  พุชรัชต์ อุทิศส่วนกุศลให้พ่อประมวญ- 	 ขอเชิญชวนท่านสาธุชนผูใจบุญทุกท่านร่วมบริจาคทรัพย์
    แม่พัว ทรัพย์พันแสง และคุณสิทธิวัฒน์ พุชรัชต์	 1 ห้อง เป็นเจ้าภาพสร้าง “อาคาร ๘๐ ปี หลวงตาชี” ในรายการ
3.  คุณศุภิสรา  คุรุฐิติ	
  	
1  ห้อง ต่างๆ ตามก�ำลังศรัทธาและความปรารถนาของท่าน
ขออนุโมทนาสาธุ..สาธุ..สาธุ..
9. ห้องสุขา (ไม่มีห้องน�้ำ) 14 ห้อง ๆ ละ $ 6,000
(ยังไม่มีเจ้าภาพ)
(เจ้าภาพรายการต่างๆ จะประกาศให้ทราบฉบับต่อไป)
แสงธรรม 16

Saeng Dhamma

WAT THAI WASHINGTON D.C.							
STATEMENT OF ACTIVITIES ANDNET CASH FLOWS 							
FOR THE PERIOD OF JANUARY 1 - DECEMBER 31, 2012	
						
							
แสงธรรม 20 		
INCOME:					
Sub-total 	
Total
	
Donations:	
Donations-General Support 	
400,464 			
		
Donations-80th Yr LT Chi’s Building Funds	 145,901 			
		
Donations-Education	
16,122 			
		
Total Donations			
562,487 		
	
Investment:	
Dividends	
	
1,923 			
		
Interest	
	
825 	
2,748 		
	
TOTAL INCOME:				
$ 565,235
EXPENSES:					
แสงธรรม 20
	
Utilities:	
Electricity	
	
35,435 				
		
Oil & Propane Gas	
3,776 				
		
Solid Waste & Refuse Collection	
8,290 				
		
Water	
	
8,731 				
		
Total Utilities			
56,232 		
	
Printing & Distribution: Equipment Leasing and Repair	
6,268 				
		
Postage	
	
11,999 				
		
Printing Services	 	
38,422 				
		
Supplies	
	
3,825 				
		
Total Printing & Distribution		
60,514 		
	
Insurance:	
Automobile	
	
1,287 				
		
Health-Monks	
	
22,220 				
		
Property & Liability Insurance	
4,372 				
		
Total Insurance			
27,879 		
	
Equipment Expenses: Equipment Puchase	
399 				
		
Equipment Rental	 	
3,025 				
		
Maintenance Contracts & Repair	
7,892 				
		
Total Equipment Expenses		
11,316 	
	
Automobile				
2,159 		
	
Bank Charges				
298 		
	
Building and Ground				
5,528 		
	
Contributions/Hospitality & Gifts	
		
17,572 		
	
Dilivery & Cargo				
3,599 		
	
Foods & Kitchen Supplies			
2,406 		
	
FundRaising	
			
9,106 		
	
Medical Expenses: monks	
		
1,457 		
	
Miscellaneous	
			
650 		
	
Office Expenses	
			
6,527 		
	
Security Services	
			
1,240 		
	
School Expenses	
			
10,535 		
	
Telephone and Internet	
		
3,101 		
	
Travel	
			
12,328 		
	
TOTAL EXPENSES			
232,447
	
NET INCOME AND EXPENSES		
$ 332,788
	
Adjust to Reconcile Cash:	
-Net Cash Provided by Operations	
(1,189)
		
-Net Cash for 80th Yr Luangta Chi’s Building	
$ (485,819)
	
NET CASH FLOWS			
$ (154,220)
NOTE:* Donation-80th Yr Luangta Chi’s Building Funds is included net income/expenses from Luangta’s Birthday, Mahachart and Fund Raising events.	
	
** Total expenses are not included those of Lunagta’s Birthday, Mahachart and FundRaising events which are reported as net income.			
									
							
		
Nisakorn Praisaengpetch		
	
Phramaha Thanat Inthisan 				
		
Treasurer		
		
Chair of the Board of Directors 				

Saeng Dhamma

Saeng Dhamma
แสงธรรม 17 Saeng Dhamma

อนุโมทนาพิเศษ / Special Thanks
	 คณะสงฆ์และคณะกรรมการวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. ขออนุโมทนาแด่สาธุชนทุก ๆ ท่าน ทีมจตศรัทธาถวาย
่ีิ
ภัตตาหารเช้า-เพล บริจาคสิงของ เสียสละแรงกาย แรงใจ ก�ำลังสติปญญา และความสามารถเท่าทีโอกาสจะอ�ำนวย
่
ั
่
ช่วยเหลือกิจกรรมของวัดด้วยดีเสมอมา ท�ำให้วดของเรามีความเจริญรุงเรืองก้าวหน้ามาโดยล�ำดับ โดยเฉพาะทุก
ั
่
ท่านที่มีส่วนร่วมในงานวันส�ำคัญต่าง ๆ ของทางวัด จึงประกาศอนุโมทนากับทุก ๆ ท่านมา ณ โอกาสนี้
�	คุณทาบช้าง ถวายดอกไม้-ธูป-เทียน ประจำ�ทุกอาทิตย์
�	นายแพทย์อรุณ-คุณสุมนา สวนศิลป์พงศ์ ถวายกระดาษ Letter 15 รีม,
�	คุณไพจิตร จารุตันติ์ ทำ�บุญวันเกิด ถวายสังฆทาน เพื่อความเป็นสิริมงคล
�	คุณสุจิตรา - คุณอุเทน เศวตะโศภน ท�ำบุญวันเกิด ถวายน�้ำดื่ม, แน็ปกิ้น, ช้อน-ส้อม-จานโฟม และข้าวสาร
� คุณชัยยุทธ - คุณยุพา - น้องกอล์ฟ - น้องนาตาลี สมเขาใหญ่ ถวายน�้ำดื่ม 4 ถังใหญ่
�	คุณติ๊ ดลวรรณ เหวียน และครอบครัว ท�ำบุญถวายสังฆทานเนื่องในวันเกิดคุณทวน เหวียน
�	คุณจี๊ด กษิมา ศิริภิญโญกิจ ท�ำบุญถวายเกลือละลายหิมะ 13 ถุงใหญ่
�	คุณยุภาพร ธิตา ท�ำบุญถวายสังฆทาน อุทิศให้คุณพ่อค�ำมูล แม่หน้อย ธิตา
�	นางสาวธีรวดี จ�ำเดิม ท�ำบุญอุทิศให้คุณซ่อนกลิ่น – คุณประเสริฐ จ�ำเดิม และเจ้ากรรมนายเวร
�	คุณธัญญลักษณ์ – คุณชนาวรรณ – คุณสมาน และครอบครัวตรีเกสรนพมาศ - คุณคริสโตเฟอร์ โทมัส ฮิกส์ ท�ำบุญถวายสังฆทาน
�	คุณภัทรานุช โกมล และครอบครัว – คุณเชย ทองพัด - คุณอรรถพงศ์ เขมฤกษ์อ�ำพล และครอบครัว ท�ำบุญถวายสังฆทาน
�	คุณธิดารัตน์ ศรีหาคุณ – คุณกิตติศักดิ์ สาธิตภาณุวัฒน์ ท�ำบุญถวายสังฆทานอุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
�	คุณ CHUD และครอบครัว ท�ำบุญถวายสังฆทานเนื่องในวันเกิดให้น้อง Nevin Dechsi
�	คุณประไพ สุพัฒนุกูล – คุณกุหลาบ ปารจิตร – คุณอุบล เกื้อลาย ท�ำบุญถวายสังฆทาน จานกระเบื้อง ถ้วยกระเบื้อง และแก้ว

อนุโมทนาพิเศษงานวันเด็กวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี.

	 ในนามคณะกรรมการจัดงานทุกฝ่าย ขออนุโมทนาขอบคุณ คุณสาโรจน์ ธนสันติ อุปทูต ณ กรุงวอชิงตัน ให้เกียรติเป็น
ประธานเปิดงานวันเด็กวัดไทยดีซี ตลอดทังผูปกครองนักเรียน และสาธุชนทุกท่านที่ได้มีส่วนร่วมให้งานสำ�เร็จลุล่วงไป
้ ้
ด้วยดี ทำ�ให้เด็กๆ สนุกสนานกับกิจกรรมต่างๆ  ทั้งได้แสดงความสามารถที่ตนเองถนัดอย่างมีสีสัน
จึงขออนุโมทนาขอบคุณทุกๆ ฝ่ายมา ณ โอกาสนี้
เจ้าภาพน้ำ�ดื่มถังใหญ่ - ค่าไฟ ถวายประจำ�ทุกเดือน
คุณแม่สงวน เกิดมี คุณจารุณี พิทโยทัย คุณประยูรศรี วรเลิศ คุณชัยยุทธ-คุณยุพา สมเขาใหญ่
คุณทัฬห์ อัตวุฒิ คุณบุณณ์ภัสสร คุณศรสวรรค์ พงศ์วรินทร์ น.พ. อรุณ คุณสุมนา สวนศิลป์พงศ์
คุณละม้าย คุณประมวล ทวีโชติ คุณทองพูน คุณสุนันทา เฮนเซ้น คุณยายเสริมศรี เชื้อวงศ์
คุณยายป้อม สุวรรณเตมีย์ คุณบุญเลิง วิสีปัตย์ คุณยายรำ�ไพ ราชพงษ์ คุณชูศรี กอร์
แสงธรรม 18

Saeng Dhamma

ขอเชิญทุกท่านร่วมนมัสการพระสารีรกธาตุ ณ อุโบสถ วัดไทยฯ ดี.ซี.
ิ

You all are cordially invited to Wat Thai, D.C., Temple
to pay respect to or simply view the Buddha relics
on display in the chanting hall.

ปฏิบัติธรรมประจ�ำเดือนกุมภาพันธ์
ณ วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. 16 กุมภาพันธ์ 2556 / 9:00 AM
** ศึกษาและปฏิบัติธรรมตามหลักมหาสติปัฏฐานสูตร **
แสงธรรม 19

Saeng Dhamma

เสียงธรรม...จากวัดไทย
พระวิเทศธรรมรังษี (หลวงตาชี)

	

	

อายันตุ โภนโต อิธะ ทานะสีละ เนกขัมมะ ปัญญา สะหะ วิริยะ ขันตี
สัจจาธิษฐานะเมตตุเปกขา ยุทธายะโว คัณหะถะ อาวุธานีติ.

คาถากันผี (ตอนที่๑)
		 อายันตุ โภนโต อิธะ ทานะสีละ เนกขัมมะ
		 ปัญญา สะหะ วิริยะ ขันตี สัจจาธิษฐานะ
		 เมตตุเปกขา ยุทธายะโว คัณหะถะ อาวุธานีติ.
	
พระคาถานี้ เกจิอาจารย์ทางเวทย์มนต์เรียกชื่อว่า
“อาวุธของพระพุทธเจ้า” ถ้าใครท่องบ่นสาธยายให้ขึ้นใจ ใช้
บริกรรมภาวนาทุกวันคืน สามารถใช้ปองกันภยันตรายอันเกิด
้
จากภูตผีปีศาจสารพัดอย่าง ผีประเภทต่างๆ ไม่สามารถจะ
หลอกหลอนและท�ำอันตรายได้ กันเสนียดจัญไร น�ำชัยชนะ
และความเป็นศิรมงคลมาสูตนและครอบครัวหมูคณะให้เจริญ
ิ
่
่
รุ่งเรืองตลอดไป
	
ก่อนอืนขอพาท่านทังหลายย้อนกลับไปหาต้นเหตุ อัน
่
้
เป็นข้อมูลให้เกิดคาถาดังกล่าวข้างต้นนันเสียก่อน สมเด็จพระ
้
สัมมาสัมพุทธเจ้าของเราทังหลายนัน ทุกคนก็ยอมรับเป็นเสียง
้
้
เดียวกันว่าพระองค์เป็นผูทรงชนะมาร ค�ำว่า “มาร” และ “ผี”
้

โดยความหมายแล้วก็จัดอยู่ในพวกเดียวกัน หรือที่เรียกว่า
ตะเภาเดียวกัน เพราะรวมเอาพวกให้ร้าย พวกที่คอยล้าง
ผลาญ พวกเลวทราม พวกตีกันไม่ให้ผู้อื่นท�ำความดี ข้อความ
ตอนหนึงในหนังสือพุทธประวัติ หรือหนังสือปฐมสมโพธิ พระ
่
คันถรจนาจารย์ คืออาจารย์ผู้แต่งคัมภีร์ (หนังสือต�ำราทาง
ศาสนา) ได้กล่าวไว้ว่า ในคืนวันเพ็ญเดือน ๖ อันเป็นวันที่
พระพุทธเจ้าของเราได้บรรลุพระอนุตตรสัมโพธิญาณ หรือพูด
ให้เข้าใจกันง่ายๆ ก่อนที่จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้านั้นเอง
เมื่อพระองค์เสด็จประทับเข้าสมาธิเหนือบัลลังก์ภายใต้ต้นไม้
มหาโพธินน พระยามารผูใจบาปทราบว่า พระองค์จะได้ตรัสรูเ้ ป็น
ั้
้
พระพุทธเจ้าอย่างแน่แท้โดยไม่ตองสงสัย พระยามาราธิราช ก็มี
้
จิตใจปันป่วนกระวนกระวาย คิดอุบายทีจะท�ำลายล้างพระองค์ให้
่
่
เสือมเสียจากคุณธรรม เพราะถ้าปล่อยให้พระสิทธัตถะ ได้ตรัสรู้
่
เป็นพระพุทธเจ้าแล้ว เราก็จะหมดอ�ำนาจราชศักดิ์ ใครเขาจะ
รักและย�ำเกรงในอ�ำนาจของเรา อย่ากระนั้นเลย เราจะต้อง
ก�ำจัดพระสิทธัตถะให้ปราชัยต่ออ�ำนาจของเราในครังนี้ ว่าแล้ว
้
แสงธรรม 20 Saeng Dhamma

พระยามารผู้ใจบาปหยาบช้าแสนสาหัสก็ตรัสเรียกลูกสาวทั้ง
สามอันมีนามว่า นางราคะ นางตัณหา และนางอรดี ให้ไปย�ำยี
่
พระสิทธัตถะด้วยกลมายาแห่งสตรี ลูกสาวทังสามรับค�ำสังแต่
้
่
โดยดี รีบพากันขมีขมันไปสู่ส�ำนักของพระองค์ ครั้นแล้วก็
บรรจงแสดงมายาหญิง มีการฟ้อนร�ำขับร้องด้วยท�ำนองเกี้ยว
พาราสี พูดจาพาทีลวนแล้วแต่คำอันก่อให้เกิดกิเลสตัณหา ยืน
้
�
่
หน้ากรอกตาชะมดชะม้อยนุ่งน้อยห่มน้อยปล่อยชายภูษา
คลอเคลียไปมาถูกายาของพระองค์ ด้วยอ�ำนาจของพระบารมี
ธรรมที่พระองค์ได้ทรงบ�ำเพ็ญมาแต่อเนกชาติ นางทั้งสามมิ
สามารถที่จะท�ำลายพระหฤทัยของพระองค์ให้เคลื่อนจาก
สมาธิจิต ให้มาหลงติดในมายาของพวกตนได้ อ่อนอกอ่อนใจ
ไม่รู้จะท�ำมายาอย่างใดได้อีกแล้ว องค์พระประทีปแก้วมิได้
สะทกสะท้านหวาดหวั่นแต่ประการใด มีน�้ำพระทัยหนักแน่น
ดุจดังแผ่นปฐพี ด้วยอ�ำนาจฤทธีแห่งบารมีธรรม ได้ดลบันดาล
ให้นางทังสามกลับกลายเป็นยายแก่ พ่ายแพ้แก่พระองค์ มิอาจ
้
จะพากันทรงตนอยู่ได้ก็พาร่างกายอันงกเงิ่นเดินกลับไปแจ้ง
แก่พระยามารผู้เป็นพ่อ พระยามารพอได้ข่าวเห็นลูกสาว
เหมือนกับแม่ยาย ทังแค้นทังอายอยากจะตายเสียก็ใช่ที่ หนอยๆ...
้
้
เจ้าชายสิทธัตถะตัวดี มาท�ำเราได้ถงขนาดนีเ้ ชียวหรือ? พระยา
ึ
มารมิได้รอช้าสั่งให้เตรียมโยธาทหารหาญ ยกทัพออกรุกราน
พระพุทธองค์ทันที กองทัพพระยามารพร้อมด้วยเสนามารมี
พลช้าง พลม้า พลรถ พลบทจร เมื่อเตรียมพลเสร็จสรรพแล้ว
พระยามาราธิราชก็ขนสูคอคชสารคีรเมขล์ รับสังให้ทหารเอก
ึ้ ่
ี
่
เคลื่อนกองพลทันที บ่ายหน้าสู่มณฑลโพธิบัลลังก์อันเป็นที่
ประทับของพระพุทธองค์ บรรดาเทพาอารักษ์ ที่คอยพิทักษ์
รักษาพระองค์มาแต่กาลก่อน ได้สดับศัพทะส�ำเนียงเสียง
กึกก้องของกองทัพพระยามาร ต่างก็หนีตาลีตาลานเอาตัวรอด
ปล่ อ ยให้ พ ระพุ ท ธองค์ ป ระทั บ อยู ่ โ ดยล� ำ พั ง แต่ เ ดี ย วดาย
พระยามารยกทัพมาคราวนี้ เสมือนหนึงว่าปฐพีจกถล่มทะลาย
่
ั
ก็ปานกัน พอมาถึงบริเวณโพธิมณฑล พระยามารก็แผดเสียง
ค�ำรามขูตะคอกให้พระองค์เสด็จออกจากรัตนบัลลังก์ อ้างเอา
่
ว่าเป็นของๆตนมีพลเสนามารเป็นพยานอ้างอิง พระสิทธัตถะ
มาแย่งชิงเอาไปโดยพลการไม่ชอบด้วยเหตุผล พระยามารได้
แสดงกลด้วยยุทธวิธีร้อยแปดพันประการ มีบันดาลให้ฝนตก

พายุพัด ใช้วิธีประหัตประหาร บันดาลเป็นฝนหอกฝนดาบ
ตกลงมาถูกต้องกายาของพระองค์แต่สิ่งเหล่านั้นก็กลับกลาย
เป็นบุปผามาลามาลัยบูชาพระองค์ไปหมด พระยามารเห็นเช่น
นันก็ยงไม่สนฤทธิ์ ได้เนรมิตรร่างกายเป็นหลายหลากแบ่งภาค
้ ั ิ้
ออกเป็นต่างๆ นานา มีกายาสูงเท่าภูเขาเลากา มีลกตาลุกเป็น
ู
เปลวไฟ แลบลิ้นปลิ้นตา ท�ำมายาหลอนหลอก แสดงตัวเป็น
วอก เป็นสุนัข ต่อพระพักตร์ของพระพุทธองค์ แม้พระยามาร
และเสนามารจะแสดงอาการยุทธวิธีพลิกแพลง เปลี่ยนแปลง
ยั ก ย้ า ยเป็ น ประการใด พระหฤทั ย ของพระองค์ ก็ ห าได้
หวาดหวั่นพรั่นพรึงแต่ประการใดไม่ เพื่อจะก�ำจัดพระยามาร
พร้อมด้วยเสนามารให้พายแพ้อนตรธานไป พระองค์จงได้ทรง
่
ั
ึ
ร�ำลึกถึงพระบารมีธรรมอันได้ทรงบ�ำเพ็ญมานับชาติไม่ถ้วน
ประมวลมาในชาติสดท้ายก็ครบบริบรณ์คอ ทานบารมี สีลบารมี
ุ
ู ื
เนกขัมมะบารมี ปัญญาบารมี วิริยะบารมี ขันตีบารมี สัจจะ
บารมี อธิษฐานบารมี เมตตาบารมี อุเบกขาบารมี ชี้ให้พระยา
มารจ�ำนนต่อหลักฐานว่า “รัตนบัลลังก์” นี้เป็นของเรา เกิด
ขึ้นมาด้วยอ�ำนาจบารมีธรรมอันเราได้สั่งสมอบรมไว้แล้วนาน
แสนนาน พระยามารได้ฟังก็อ�้ำอึ้งตะลึงงันเกิดมหัศจรรย์ ยืน
ตัวแข็งเป็นก้อนหิน เมื่อได้ยินพระด�ำรัสที่พระองค์ตรัสส�ำทับ
อีกครั้งหนึ่งจึงรู้สึกตัว กลับกลายเป็นคนกลัวตัวสั่นเทาไปทั่ว
ร่าง พระองค์จึงทรงกล่าวอ้างนางธรณีเป็นสักขีพยานครั้ง
สุดท้าย โดยบรรยายเป็นคาถาดังที่กล่าวมาข้างต้นว่า
	 อายันตุ โภนโต อิธะ ทานะ สีละ เนกขัมมะ ปัญญา
สะหะ วิริยะ ขันตี สัจจาธิษฐานะ เมตตุเปกขา ยุทธายะโว
คัณหะถะ อาวุธานีติ.
	
พอจบพระคาถา นางธรณีกปรากฏกายาผุดขึนมาจาก
็
้
แผ่นปฐพี เปล่งสุนทรวาจีรบอาสาเป็นพยานว่า การทีพระองค์
ั
่
ได้ทรงบ�ำเพ็ญบารมีมานับชาติไม่ถ้วนนั้น หม่อมฉันธรณีเป็น
สักขีรบทราบมามิได้ขาด เพือประกาศให้เห็นประจักษ์ตอพระ
ั
่
่
พักตร์ของพระองค์ พร้อมด้วยองค์พระยามาราธิราช นางธรณี
จึงกราบกรานทูลถวายอารักขา เอื้อมมือรวบเกษารีดออกมา
เป็นธาราท่อน�ำ ไหลหลังพรังพรูพดเอาศัตรู คือกองทัพพระยา
้
่ ่ ั
มารพร้อมด้วยเสนามารให้พ่ายแพ้ปราชัยไปในพริบตาเดียว
เป็นอันว่าจบข้อความตอนที่พระพุทธเจ้าทรงเอาชนะพระยา
แสงธรรม 21

Saeng Dhamma

มารพร้อมทั้งเสนามารในหนังสือปฐมสมโพธิ แต่เพียงเท่านี้
คาถาข้างบนนั้น เมื่อถอดออกมาเป็นภาษาไทยให้เข้าใจกัน
แล้ว ก็ได้แก่บารมี ๑๐ ประการนั้นเอง บารมีธรรม ๑๐ นั้น
ท่านทั้งหลายก็คงเคยได้ยินได้ฟังกันมาแล้ว และหลายท่าน
อาจจ�ำได้ขนใจและคล่องปาก อยากจะให้ทานทียงไม่รไม่เข้าใจ
ึ้
่ ่ ั ู้
ได้จดจ�ำน�ำไปใช้ปราบผี บารมี ๑๐ ประการนั้นคือ
	 ๑. ทานบารมี ได้แก่การให้ทาน การแบ่งปัน การเสียสละ
	 ๒. สีลบารมี ได้แก่การรักษากายวาจาใจ ให้ปราศจากโทษ
	 ๓. เนกขัมมะบารมี ได้แก่การประพฤติพรหมจรรย์ ไม่
เบียดเบียนกัน
	 ๔. ปัญญาบารมี ได้แก่ความรอบรูตามสภาวะธรรมทีเ่ ป็นจริง
้
	 ๕. วิรยบารมี ได้แก่ความเพียร ความอุตสาหะ ความบากบัน
ิ
่
	 ๖. ขันตีบารมี ได้แก่ความอดทน ความอดกลั้น
	 ๗. สัจจบารมี ได้แก่ความสัตย์ ความจริง
	 ๘. อธิษฐานบารมี ได้แก่ความตั้งใจมั่นในความดี ไม่
เปลี่ยนแปลง
	 ๙. เมตตาบารมี ได้แก่ความรักใคร่ปรารถนาให้คนอื่น
เป็นสุข
	 ๑๐. อุเบกขาบารมี ได้แก่ความวางใจเป็นกลางไม่ให้เสีย
ความเป็นธรรม
	
ถ้ามีคาถานี้ไว้ประจ�ำใจ ด้วยการประพฤติปฏิบัติกัน
จริงๆ แล้ว รับรองว่าปราบผีปราบมารได้ทุกประเภท ผีนอก
ผีใน ผีคนตาย ผีคนเป็น ปราบได้ทั้งนั้น ไม่เชื่อลองดูก็แล้วกัน

ข้ อ ส� ำ คั ญ ต้ อ งใช้ ใ ห้ ถู ก หลั ก จั ก อธิ บ ายขยายความตอนที่
พระพุทธเจ้าทรงชนะมารโดยธรรมาธิษฐานให้กระจ่างอีกครัง
้
หนึง ตอนนีปล่อยให้ทานทังหลายเชือในทางอภินหารไปพลาง
่
้
่ ้
่
ิ
ก่อน จะย้อนมาพูดกันอีกในภายหลัง
	
ท่านผูกลัวผี และไม่กลัวผีทงหลาย โปรดฟังทางนีกอน
้
ั้
้่
ใครคนใดคนหนึ่งกล่าวขึ้น ท่านจะเชื่อว่าผีมีจริง หรือไม่จริง
ก็ตาม แต่ว่า...ผีก็ต้องมีวันยังค�่ำ  เขาย�้ำอย่างเอาจริงเอาจัง
เหตุผลหรือท่าน เขาพูดออกมาเชิงค�ำถาม แล้วก็สาธยาย
น�้ำลายฟูมปากว่า เหตุผลง่ายนิดเดียว ตราบใดที่ยังมีคนตาย
กันอยู่ ผีก็ต้องมี ซึ่งใครจะต้านความจริงข้อนี้ไม่ได้ มีใครเขา
เรียกคนตายนี้ว่าเป็น ”คน” กันบ้างไหม?  เงียบกริบไม่มีใคร
ตอบ ถ้าใครขืนตอบว่าคนตายแล้วเรียกว่า “คน”   คนนั้นก็
ไม่ใช่คน แล้วใครจะกล้าตอบ แล้วเขาก็พล่ามต่อไปว่า คนตาย
แล้วจะเป็นอย่างอืนไปไม่ได้ คนตายแล้วก็ตองเป็น “ผี” ดังน้น
่
้
ตราบใดที่คนยังตายกันอยู่ หรือยังมีคนตายกันอยู่ ผีก็ต้องมี
เป็นของคู่กัน จ�ำกันง่ายๆ คนตายเป็นผี ผีมาจากคนตาย มี
เสียงเล็ดลอดสอดขึ้นมากลางคันว่า คนตายเป็นผี ผีตายเป็น
อะไร?   ผีตายก็เป็นสางนะซิ เขาโพล่งออกมาทันควันโดยไม่
ต้องคิด แล้วสางตายเป็นอะไรมิทราบ?  แล้วกันสางตายแล้ว
ก็เป็นคางลายซิเพือน ทีนถาคางลายตายกลายเป็นอะไรอีกล่ะ?  
่
ี้ ้
อั๊วะ! ไม่รู้จักจบ คิดเอาเอง คิดเอาเองก็แล้วกันโว้ย!
	
ท่านที่รักทั้งหลาย ฟังความคิดเห็นเรื่องผีจากบท
สนทนาข้างบนนี้แล้ว เป็นอย่างไรกันบ้าง ได้แง่คิดอะไรบ้าง

คุณแซม-ตู่-น้องกีต้าร์-แอนนา มุขกัง ท�ำบุญวันเกิด กลุ่มพลังบุญ ท�ำบุญเลี้ยงพระวันเกิด เพื่อความเป็นสิริมงคล
แสงธรรม 22 Saeng Dhamma

ไหม หายข้อข้องใจหรือยัง ฟังๆ เขาคุยกันก็นาคิด คนตายกลาย
่
เป็นผี ผีมาจากคนตาย เอ! ชอบกล? ถ้ามันจะจริงของเขากระมัง?
เอาล่ะ จริงไม่จริง ขอเชิญท่านติดตามเรืองผีกนต่อไป
่ ั
	
ค�ำว่า “ผี” ในพจนานุกรม หมายเอาซากศพ, คนที่
ตายแล้ว และสิงทีมสภาวะเกินคน นีคอความหมายค�ำว่า “ผี”
่ ่ี
่ื
ตามความเข้าใจและภาษาของชาวบ้านทั่วๆ ไปก็พูดตรงกัน
คือคนตายแล้วเป็นผี อยู่ดีๆ ยังไม่ตายก็เป็นคน อีกเรื่องหนึ่ง
ซึงคนเราชอบพูดกัน คือเวลาไปเผาศพก็มกจะพูดกันว่าไปเผา
่
ั
ผี นี่คือผีในความหมายของชาวบ้านทั่วไปที่ใช้กันอยู่ ส่วนผีใน
ความหมายทีเป็นนามธรรมนัน ได้แก่ความชัว ความเลวทราม
่
้
่
ตามค�ำพังเพยทีวา “ชัวเป็นผี” ต่อไปนีจะพาพวกท่านไปเทียว
่่ ่
้
่
เมืองผีกนละ เตรียมเนือเตรียมตัวกันเสียให้ดี มีเวทมนตร์คาถา
ั
้
อะไรก็ท่องบ่นสาธยายกันเสียบ้าง เผื่อจะได้กันผีหลอก เมื่อ
เราทราบต้นตอกันว่าผีคือซากศพ หรือคนที่ตายแล้วเช่นนี้
เรืองผีกไม่ใชเรืองแปลกอะไร มันเป็นเรืองธรรมดาๆ นีเ้ อง เมือ
่ ็
่
่
่
ผีมาจากคนตาย คนตายกลายเป็นผี ดังนั้น ผีจึงมีชื่อหลาย
อย่างต่างๆ กันไปตามภูมิ ตามชั้น ตามฐานะ และภาวะของ
คนที่ตาย เช่นคนตายโหง ก็เป็นผีตายโหง คนตายห่าก็เป็นผี
ตายห่า คนตายทั้งกลม ก็เป็นผีทั้งกลม ดังนี้เป็นต้น
	
คนโบราณท่านบรรยายชื่อผีไว้มากมาย เช่น ผีภูตใน
กาย ผีพลายเร่ร่อน ผีตายโหง ผีตายห่า ผีเขาฆ่า ผีเขาฟัน ผี
เขาบัน ผีเขารอน ฝูงผีแม่ลกอ่อน ผีเร่รอนหากิน ผีเอาตีนค�ำฟ้า
่
ู
่
้
ผีเอาหน้าด�ำดิน ผีหากินกลางคืนกลางวัน ผีตกต้นไม้ควายขวิด

ผีตกถ�้ำตกเหว ตกเวหา ผีฟ้าผ่าหลบไม่ทัน ผีตายด้วยค�ำสบถ
สาบาน ผีตายด้วยโรคประจ�ำสังขาร ผีตายด้วยหมดอายุ หมด
กรรม หมดเวร หมดอาหาร ผีที่ทนทุกข์ทรมานนานๆ จึงตาย
ผีเจ้าพ่อ ผีเจ้าแม่ ชอบหมูชอบไก่ เครื่องต้นเครื่องทรง ต้อง
บนบานต่างๆนานา ผีที่อยู่ในกายแสนยากล�ำบากเหลือทน ผี
คนมีผคนจน ผีซบ ผีซอน ผีนอนบนดิน ผีปลินผีปลอก ผีหลอก
ี
ั ้
้
เอาเงิน ผีข้างแม่ ผีข้างพ่อ ผีหอปลูกใหม่ ผีปู่ ผีย่า ผีตา ผียาย
ผียะวาย ผีโขมด ผีให้โทษ ผีไร่ ผีนา ผีป่า ผีดง ผีโลง ผีบ้าน ผี
ปอบ ผีกระสือ ผีอะไรอีกเยอะแยะมากมายจนนับไม่ถวน ล้วน
้
แต่เกิดจากการสมมติของคนเราทั้งนั้น นึกเอาเองก็แล้วกัน
	
เรืองผีตางๆตามทีกล่าวมาแล้วนัน ดูๆ มันก็ไม่เห็นจะ
่ ่
่
้
เป็นของแปลกอะไร ความจริงชือผีตางๆ เหล่านันก็เอาไปจาก
่ ่
้
พฤติกรรมของคนเรานั้นเอง ท่านที่รักทั้งหลาย คิดดูให้ดีๆ ก็
แล้วกัน เรืองผีไม่ใช่เรืองแปลก เรืองทีแปลกนันคือเรืองของคน
่
่
่ ่
้
่
กลัวผี คนดีๆ พากันกลัวผีอยู่ได้ ไม่น่า...ไม่น่าเลย พิโธ่ พิถัง
อนิจจัง อนัตตา พากันกลัวเงาอยู่ได้ ความจริงแล้ว คนหรือผี
ต่างก็มีความกลัวด้วยกันทั้งนั้นแหละ มีธรรมะข้อหนึ่งท่าน
กล่าวไว้ว่า “สัตว์ทั้งหลายกลัวต่ออาญา สัตว์ทั้งหลายกลัว
ต่อความตาย” คนหรือผีต่างก็เป็นสัตว์ด้วยกัน ต่างแต่ฐานะ
และภาวะเท่านั้น ตามหลักทั่วๆ ไปแล้ว ผีมันก็กลัวคนเหมือน
กัน สัตว์ทกประเภทต้องมีความกลัวซึงกันและกันอยูในที เช่น
ุ
่
่
คนกลัวผี ผีก็กลัวคน คนกลัวเสือ เสือก็กลัวคน แต่คนเรานี้
แปลก ทั้งที่ได้รับยกย่องให้มีจิตใจสูงกว่าสัตว์ประเภทอื่น แต่

่
้
่
ิ
ีิ
BANGKOK GARDEN ท�ำบุญเลียงพระ อุทศส่วนกุศลให้คณตาวิศษฐ์ 15 ม.ค. คุณจิราภา ยมาภัย และเพือน ท�ำบุญเลียงพระ เพือเป็นสิรมงคลแก่ชวต
้
ิ
ุ ิ
แสงธรรม 23

Saeng Dhamma

ก็ไม่พ้นโง่ ดันไปกลัวผีเข้าให้ เจ้าผีมันคงหัวเราะเยาะตัวงอไป
งอมา ที่คนมีปัญญาไปกลัวมันเข้า
	
สาเหตุที่ท�ำให้คนกลัวผีนั้น มีข้อมูลต่างๆ กัน ข้อ
ส�ำคัญก็มาจากความไม่รู้ ความมืดบอด ความไม่เข้าใจ ความ
สงสัยลังเล บวกกับความรักชีวิตและกลัวตาย เมื่อไม่มีความรู้
ก็เป็นเหตุให้เข้าใจผิดคิดไปว่า ผีมอำนาจศักดิสทธิ์ มีฤทธิมเี ดช
ี�
์ิ
์
ก่อเหตุท�ำอันตรายต่างๆ แก่คนได้ เช่นท�ำให้เจ็บไข้ได้ป่วย
หลอกหลอนให้เสียขวัญ ลงโทษทัณฑ์ให้ตกอับ ท�ำให้อาภัพใน
การท�ำมาหากิน อะไรอีกร้อยแปดพันเก้า ตามความเข้าใจของ
คนที่ไม่รู้ความจริง นี้คือความเข้าใจผิดในเรื่องของผีประเภท
ทีให้โทษ ส่วนความเข้าใจผิดในผีทให้คณก็ยงมีอก คือคนทีพวก
่
ี่ ุ ั ี
่
กลัวผีและเชื่อผีนี่แหละ พากันเข้าใจผิดคิดว่าผีเป็นผู้วิเศษ ถ้า
ไปอ่อนน้อมยอมตนเป็นคนรับใช้ให้เครื่องเซ่นสรวงสังเวยแก่
มัน จัดสรรปลูกหอตั้งโรงเป็นศาลเจ้าพ่อเจ้าแม่ แล้วแต่ผีจะ
ประกาศิตมนุษย์ก็คือท�ำให้แก่มัน ถ้าท�ำดังนั้นจะอยู่ดีมีสุขจะ
ร�่ำจะรวยจะถูกหวย ล็อตเตอรี่ มนุษย์อัปรีย์ก็พากันเข้าใจว่า
เป็นจริงเป็นจัง น่าชังแท้ๆ คนดีๆ เชื่อผีไม่เข้าเรื่อง นี่แหละคือ
ความเข้าใจผิดของคนเราเกี่ยวกับเรื่องผี เมื่อผีมี ๒ ประเภท
คือประเภทให้คุณ และประเภทให้โทษ หรือผีประเภทเดียว
นันแหละ ถ้าแข็งข้อต่อมันคือไม่ยอมเป็นลูกน้องหรือเป็นเมือง
้
ขึ้นของมัน มันก็ให้โทษ ถ้ายอมท�ำตามประกาศิตของมัน มัน
ก็ให้คณ เมือเป็นเช่นนีคนทีกลัวผีและเชือผีจงหาวิธยดผีเป็นที่
ุ ่
้ ่
่ ึ
ีึ
พึ่ง คือยอมเป็นลูกช้างของผีรู้แล้วรู้รอดไป อีกพวกหนึ่งก็กลัว

ผีเหมือนกัน แต่จะยอมตนเป็นลูกน้องของผีก็กระไรอยู่ ยังไว้
เชิงครูความเป็นคนจึงคิดค้นหาเวทมนตร์คาถามาไว้กันผี
	
ตามที่พูดเรื่องของผีมาทั้งหมดนี้ พูดตามภาษาของ
พวกคนทีเข้าใจผิด คิดว่าผีเป็นเรืองน่าสะพรึงกลัว ไหนๆ ก็พด
่
่
ู
เรื่องผีตามภาษาของคนเข้าใจผิดกันแล้ว ก็จะขอพูดเสียให้
หมดเปลือก และเลือกเอาเฉพาะที่เห็นว่าจ�ำเป็นจะต้องพูด
เท่านัน แล้วจะหันมาพูดเรืองผีตามภาษาธรรมะต่อในภายหลัง
้
่
โบราณกล่าวไว้ว่า “หมองูตายเพราะงู หมอผีตายเพราะผี”
คิดดูให้ดีก็มีเหตุผล สัญชาตญาณของคนเรานั้นมีความกลัว
ประจ�ำสันดาน ความกลัวอื่นจะไม่กล่าวยกไว้ จะได้กล่าวถึง
ความกลัวผีของคน เมื่อเกิดความกลัวขึ้นมา ก็ต้องหาวิธี
ป้องกันความกลัว กลัวอะไรก็ต้องป้องกันอันนั้น กลัวผีก็ต้อง
ป้องกันผี เมื่อชุมชนกลัวผีกันมาก ความอยากเป็นหมอผีก็มี
มาเป็นเงาตามตัว ฉะนัน จึงเกิดมีคนหัวแหลมตังตัวเป็นหมอผี
้
้
กันขึ้นโดยกลอุบายอันแยบคาย ท่านทั้งหลายโปรดท�ำความ
เข้าใจกันตรงนี้ให้ดี “เมื่อมีคนพากันกลัวผี หมอผีก็เกิดขึ้น”
ถ้าหากคนไม่พากันกลัวผี หมอผีจะมีได้อย่างไร ในบรรดา
หมอผีเหล่านั้น กล่าวโดยสรุปก็มีอยู่ ๒ ประเภท ด้วยกัน
ประเภทหนึงรับเป็นตัวแทนติดต่อเจรจากับผี อีกประเภทหนึง
่
่
ตังตัวเป็นศัตรูกบผีโดยตรง ไม่ยอมเจรจาด้วยต้องปราบให้สน
้
ั
ิ้
ซากพวกผีนี้เอาไว้ไม่ได้
	
ประเภทแรกนั้น ได้แก่พวกทรงเจ้าเข้าผี เสี่ยงทาย
ท�ำนายด้วยวิธีการต่างๆ นั่งข้างในหรือนั่งทางใจ ไหว้วอน

ั
ุ ๊
้
สุ ข สั น ต์ วั น เกิ ด แด่ คุ ณ ตาล ธิ นี ภ รณ์ “ยิ้ ม สดใส ใจดี มี ค วามสุ ข ” โดยครอบครั ว วิ ริ ย ะ สุขสันต์วนเกิดแด่คณจีด กษิมา-น้องหลุยส์ “ยิมละไม ใจละมุน บุญรักษา”
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13

Contenu connexe

Tendances

เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปีPa'rig Prig
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์Rath Saadying
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดPadvee Academy
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์บรรพต แคไธสง
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารPadvee Academy
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปีPa'rig Prig
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนPadvee Academy
 
Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)Sarawut Sangnarin
 
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมPadvee Academy
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)Padvee Academy
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาniralai
 

Tendances (20)

เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี
 
มงคลชีวิต
มงคลชีวิตมงคลชีวิต
มงคลชีวิต
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซน
 
Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)
 
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 

Similaire à Seangdhamma february 13

บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บรรพต แคไธสง
 
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคมแสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคมkhumtan
 
Saengdhamma jan 2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan 2013 Vol.38 No.453khumtan
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
แผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาthanaetch
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับniralai
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่
จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่
จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่โรงพยาบาลสารภี
 
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14 วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14 Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Watpadhammaratana Pittsburgh
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารJack Like
 

Similaire à Seangdhamma february 13 (20)

บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
Dhammaratana journal 4
Dhammaratana journal 4Dhammaratana journal 4
Dhammaratana journal 4
 
10
1010
10
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
 
Dhammaratana journal 6
Dhammaratana journal 6Dhammaratana journal 6
Dhammaratana journal 6
 
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคมแสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
 
Saengdhamma jan 2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan 2013 Vol.38 No.453
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
แผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชา
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
นวโกวาท
นวโกวาทนวโกวาท
นวโกวาท
 
Dhammaratana journal 3
Dhammaratana journal 3Dhammaratana journal 3
Dhammaratana journal 3
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่
จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่
จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14 วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
 
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
 
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
 

Seangdhamma february 13

  • 1. สื่อส่องทาง สว่างอ�ำไพ แสงธรรม ทุกชีวิตมีปัญหา พระพุทธศาสนามีทางแก้ วารสารธรรมะรายเดือนที่เก่าแก่ที่สุดในอเมริกา ปีที่ 38 ฉบับที่ 454 ประจ�ำเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 Vol.38 No.454 February, 2013 OBJECTIVES �To promote Buddhist activities. �To foster Thai culture and tradition. �To inform the public of the temple’s activities. �To provide a public relations center for Buddhists living in the United States. เจ้าของ : วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. ที่ปรึกษา : พระวิเทศธรรมรังษี กองบรรณาธิการ : พระครูสิริอรรถวิเทศ (ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี) พระมหาสิทธิผล สิทฺธิผโล พระมหาเรืองฤทธิ์ สมิทฺธิญาโณ พระสุริยา เตชวโร พระมหาวสันต์ วาริชวํโส พระมหาสราวุธ สราวุโธ พระมหาประดู่ชัย ภทฺทธมฺโม พระมหาศรีสุพรณ์ อตฺตทีโป พระมหาค�ำตัล พุทฺธงฺกุโร พระอนันต์ภิวัฒน์ พุทฺธรกฺขิโต และอุบาสก-อุบาสิกาวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. SAENG DHAMMA Magazine is published monthly by Wat Thai Washington, D.C. Temple At 13440 Layhill Rd., Silver Spring, MD 20906 Tel. (301) 871-8660, 871-8661 Fax : 301-871-5007 E-mail : saengdhamma@hotmail.com Homepage : www.watthaidc.org Radio Network : www.watthai.iirt.net 2,500 Copies สารบัญ Contents The Buddha’s Words.............................................. 1 คมคิดชีวิตงาม โดย หลวงตาชี ..................................... 2 Understanding the law of Kamma by P.A. Payutto 3 You are Your Own Refuge? by Du Wayne Engelhart ............. 8 ความคืบหน้าการก่อสร้าง “อาคาร 80 ปี หลวงตาชี” ............ 11 อนุโมทนาพิเศษ / Special Thanks............................ 17 แจ้งข่าวปฏิบัติธรรมประจ�ำเดือนกุมภาพันธ์ ............ 18 เสียงธรรม...จากวัดไทย......................หลวงตาชี 19 ประมวลภาพกิจกรรมท�ำบุญเดือนมกราคม ..................... 30 เสียงธรรม...จากหลวงตาชี ...................................... 32 ท่องพม่า แดนมหาเจดีย์ทองค�ำ ดร.พระมหาถนัด......... 39 สารธรรมจาก...พระไตรปิฎก ..................................... 43 สรุปข่าวเดือนมกราคม โดย แสงตะวัน ..................... 45 January’s Donation By Ven. Sarawut ............ 48 รายนามผู้บริจาคออมบุญประจ�ำปีและเจ้าภาพภัตตาหารเช้า..52 รายนามเจ้าภาพถวายเพล / Lunch........................... 53 ก�ำหนดการท�ำบุญเทศน์มหาชาติ ............................. 62 Photos taken by Ven. Khumtan, Ven. Ananphiwat, Mr. Kevin & Mr. Sam Bank & Ms. Golf & Suchart
  • 2. ถ้อยแถลง แสงธรรม...น�ำสุขทุกสมัย แสงธรรม...น�ำใจให้มีคุณค่า แสงธรรม...น�ำชีวิตเกิดปัญญา แสงธรรม...น�ำพาให้ก้าวไกล แสงธรรมฉบับนี้มีความหมายพิเศษเพราะตรงกับเดือนแห่งการแสดงโอวาทปาติโมกข์ของพระพุทธเจ้า ซึ่งได้แสดงหลักการอันเป็นหัวใจส�ำคัญของพระพุทธศาสนาคือ ๑ สัพพะปาปัสสะ อะกะระณัง เว้นจากการท�ำความชั่วทุกกรณี ๒ กุสสะลัสสูปะสัมปะทา ท�ำความดีทุกโอกาส ๓ สะจิตตะปะริโยทะปะนัง ช�ำระจิตใจให้สะอาดตลอดเวลา พระพุทธองค์ได้ทรงแสดงที่วัดเวฬุวันสถานที่ส�ำคัญยิ่งในพระพุทธศาสนาทั้งในอดีตและปัจจุบันคือ ๑ เป็นวัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนา ๒ เป็นสถานที่ประทับอยู่จ�ำพรรษาของพระพุทธเจ้า ๓ เป็นสถานที่ประชุมสงฆ์ครั้งส�ำคัญยิ่งในทางพระพุทธศาสนา ๔ เป็นจุดศูนย์กลางที่พระพุทธองค์ใช้เป็นที่เผยแผ่พระพุทธศาสนายุคแรก ทีน�ำเอาสถานทีและหลักใหญ่ใจความเหล่านีมาน�ำเสนอในถ้อยแถลงนีเ้ พือย�้ำเตือนให้เกิดการทบทวนว่า ่ ่ ้ ่ เดือนนี้มีความพิเศษเช่นไร บทความของพระเดชพระคุณของหลวงตายังทรงคุณค่ามีความหมายมาก ๆ โดยได้นำหลักธรรมส�ำคัญ � มาขยายความเพือให้เกิดการเรียนรูพร้อมทังแทรกหลักปฏิบตอนให้เกิดประโยชน์ตอการด�ำเนินชีวตได้เป็นอย่าง ่ ้ ้ ัิั ่ ิ ดี ข่าวสาส์นสารประโยชน์อัดแน่นในแสงธรรมฉบับนี้ โปรดติดตามโดยพลัน คณะผู้จัดท�ำ
  • 3. แสงธรรม 1 Saeng Dhamma The Buddha’s Words พุทธสุภาษิต อนูปวาโท อนูปฆาโต มตฺตญฺญุตา จ ภตฺตสฺมึ อธิจิตฺเต จ อาโยโค ไม่ว่าร้ายใคร ไม่กระทบกระทั่งใคร ระมัดระวังในปาติโมกข์ บริโภคพอประมาณ อยู่ในสถานสงัด ฝึกหัดจิตให้สงบ นี้คือคำ�สอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ปาฏิโมกฺเข จ สํวโร ปนฺตญฺจ สยนาสนํ เอตํ พุทฺธาน สาสนํ ฯ ๑๘๕ ฯ To speak no ill, To do no harm, To observe the Rules, To be moderate in eating, To live in a secluded abode, To devote onself to meditation - This is the Message of the Buddhas.
  • 4. แสงธรรม 2 ...คมคิดชีวิตงาม... ความรัก มีความรัก ด้วยธรรมะ พระบอกว่า ย่อมนำ�มา ซึ่งความสุข ทุกข์ห่างเหิน อยู่ที่ไหน จิตใจ ใฝ่เพลิดเพลิน สุขเจริญ รักมีธรรม ค้ำ�ประกัน รักมีธรรม ค้ำ�ประกัน จะนำ�พา ให้ประสบ ถ้าความรัก มีธรรม ความรักนั้น จะราบรื่น นั้นมีค่า พบสุขสันต์ คำ�้ประกัน ยืนจีรัง ถ้าทุกคน รักกัน แน่นอนล่ะ รับรอง เพราะธรรมะ นั้นดี เป็นกำ�ลัง ให้รักกัน ด้วยธรรมะ ต้องสุขัง มีพลัง จนวันตาย... “..หลวงตาชี..” Saeng Dhamma
  • 5. แสงธรรม 3 Saeng Dhamma Understanding the Law of Kamma By Bhikkhu P. A. Payutto Translated by Bruce Evans Continued from last issue H aving looked at these four different shades of meaning for the word “kamma,” still it must be stressed that any definition of kamma should always be based on intention. Intention is the factor which guides our relationships with other things. Whether we will act under the influence of unskillful tendencies, in the form of greed, hatred and delusion, or skillful tendencies, is all under the control of intention. Any act which is without intention has no bearing on the law of kamma. That is, it does not come into the law of kamma, but one of the other niyama, such as utuniyama (physical laws). Such actions have the same significance as a pile of earth caving in, a rock falling from a mountain, or a dead branch falling from a tree. Kinds of kamma In terms of its qualities, or its roots, kamma can be divided into two main types. They are: 1. Akusala kamma: kamma which is unskillful, actions which are not good, or are evil; specifically, actions which are born from the akusala mula, the roots of unskillfulness, which are greed, hatred and delusion. 2. Kusala kamma: actions which are skillful or good; specifically, actions which are born from the three kusala mula, or roots of skill, which are non-greed, non-hatred and non-delusion. Alternatively, kamma can be classified according to the paths or channels through which it occurs, of which there are three. They are: 1. Bodily kamma: intentional actions through the body. 2. Verbal kamma: intentional actions through speech. 3. Mental kamma: intentional actions through the mind. Incorporating both of the classifications described above, we have altogether six
  • 6. แสงธรรม 4 Saeng Dhamma kinds of kamma: bodily, verbal and mental kamma which is unskillful; and bodily, verbal and mental kamma which is skillful. Another way of classifying kamma is according to its results. In this classification there are four categories: 1. Black kamma, black result: This refers to bodily actions, verbal actions and mental actions which are harmful. Simple examples are killing, stealing, sexual infidelity, lying and drinking intoxicants.e 2. White kamma, white result: These are bodily actions, ver¬bal actions and mental actions which are not harmful, such as practicing in accordance with the ten bases for skillful action.f 3. Kamma that is both black and white, giving results both black and white: Bodily actions, verbal actions and mental actions which are partly harmful, partly not. 4. Kamma which is neither black nor white, with results neither black nor white, which leads to the cessation of kamma: This is the intention to transcend the three kinds of kamma mentioned above, or specifically, developing the Seven Enlightenment Factors or the Noble Eightfold Path. Of the three channels of kamma – bodily, verbal and mental – it is mental kamma which is considered the most important and far-reaching in its effects, as is given in the Pali: “Listen, Tapassi. Of these three types of kamma so distin¬guished by me, I say that mental kamma has the heaviest consequences for the committing of evil deeds and the existence of evil deeds, not bodily or verbal kamma.” Mental kamma is considered to be the most significant because it is the origin of all other kamma. Thought precedes action through body and speech. Bodily and verbal deeds are derived from mental kamma. One of the most important influences of mental kamma is ditthi – beliefs, views and personal preferences. Views have an impor- คุณ CHUD และครอบครัว ท�ำบุญถวายสังฆทานเนอื่ งในวันเกดิ น้อง Nevin Dechsi คุณศรวัสย์ - คุณรรินทิพย์ - น้องภีม ฐิติณัฐชนน ท�ำบุญวันขึ้นปีใหม่
  • 7. แสงธรรม 5 Saeng Dhamma tant bearing on individual behavior, life experiences and social ideals. Actions, speech and the manipulation of situations are based on views and preferences. If there is wrong view, it follows that any subsequent thinking, speech and actions will tend to flow in a wrong direction. If there is right view, then the resultant thoughts, speech and actions will tend to flow in a proper and good direction. This applies not only to the personal level, but to the social level as well. For example, a society which maintained the belief that material wealth is the most valuable and desirable goal in life would strive to attain material pos¬sessions, gauging progress, prestige and honor by abundance of these things. The life-style of such people and the development of such a society would assume one form. In contrast, a society which valued peace of mind and contentment as its goal would have a markedly different life-style and development. There are many occasions where the Buddha described right view, wrong view, and their importance, such as: “Monks! What is Right View? I say that there are two kinds of Right View: the Right View (of one) with outflows, which is good kamma and of beneficial result to body and mind; and the Right View (of one) without outflows, which is transcendent, and is a factor of the Noble Path. “And what is the Right View which contains outflows, which is good and of beneficial result to body and mind? This is the belief that offerings bear fruit, the practice of giving bears fruit, reverence is of fruit, good and evil kamma give appropriate results; there is this world, there is an after-world; there is a mother, there is a father; there are spontaneously arisen beings; there are mendicants and religious who practice well and who proclaim clearly the truths of this world and the next. This I call the Right View which contains the outflows, which is good, and is of beneficial result to body and mind …” ***** คุณธวัช–พรใจ–สิทธิเดช–จีด วีระเผา่ ท�ำบุญอุทศิ ให้คณเดช–เลก็ –เขง่ พง–หวัน่ ตี่ และบรรพบุรษุ คุณพลสรณ์–คุณนริศรา ไชยพันธุ์ น้อง Todd - Tan ท�ำบุญถวายสังฆทานวันเกดิ ุ
  • 8. แสงธรรม 6 Saeng Dhamma “Monks! I see no other condition which is so much a cause for the arising of as yet unarisen unskillful conditions, and for the development and fruition of unskillful conditions already arisen, as wrong view …” ***** “Monks! I see no other condition which is so much a cause for the arising of as yet unarisen skillful conditions, and for the development and fruition of skillful conditions already arisen, as Right View …” ***** “Monks! When there is wrong view, bodily kamma created as a result of that view, verbal kamma created as a result of that view, and mental kamma created as a result of that view, as well as intentions, aspirations, wishes and mental proliferations, are all productive of results that are undesirable, unpleasant, disagreeable, yielding no benefit, but conducive to suffering. On what account? On account of that pernicious view. It is like a margosa seed, or a seed of the bitter gourd, planted in moist earth. The soil and water taken in as nutriment are wholly converted into a bitter taste, an acrid taste, a foul taste. Why is that? Because the seed is not good. “Monks! When there is Right View, bodily kamma created as a result of that view, verbal kamma created as a result of that view, and mental kamma created as a result of that view, as well as intentions, aspirations, wishes and mental proliferations, are all yielding of results that are desirable, pleasant, agreeable, producing benefit, conducive to happiness. On what account? On account of those good views. It is like a seed of the sugar cane, a seed of wheat, or a fruit seed which has been planted in moist earth. The water and soil taken in as nutriment are wholly converted into sweetness, into refreshment, into a delicious taste. On what account is that? On account of that good seed …” ***** “Monks! There is one whose birth into this world is not for the benefit of the many, คุณทวน-คุณดลวรรณ เหวียน และครอบครัว ท�ำบุญวันเกิดเพื่อความเป็นสิริมงคล คุณนุจนต์–คุณพิรยิ ะ ศุภพิพฒน์ ท�ำบุญถวายสังฆทานวันเกดิ พร้อมคุณ Emily Trinh ิ ั
  • 9. แสงธรรม 7 Saeng Dhamma not for the happiness of the many, but for the ruin, for the harm of the manyfolk, for the suffering of both Devas and men. Who is that person? It is the person with wrong view, with distorted views. One with wrong view leads the many away from the truth and into falsehood … “Monks! There is one whose birth into this world is for the benefit of the many, for the happiness of the many, for growth, for benefit, for the happiness of Devas and men. Who is that person? It is the person with Right View, who has undistorted views. One with Right View leads the many away from falsehood, and toward the truth … “Monks! I see no other condition which is so harmful as wrong view. Of harmful things, monks, wrong view is the greatest.” ***** “All conditions have mind as forerunner, mind as master, are accomplished by mind. Whatever one says or does with a defective mind brings suffering in its wake, just as the cartwheel follows the ox’s hoof … Whatever one says or does with a clear mind brings happiness in its wake, just as the shadow follows its owner.” The EnD อนุโมทนาพิเศษ ********************* คุณธีรยุทธ – คุณสุวรรณี เปรมวัต เจ้าของร้านอาหาร Ban thai Restaurant ถวายแผ่นทองคำ�แท้ปิดพระพุทธรูป อนุโมทนาพิเศษ ********************* คุ ณ สนั ่ น อั ง อุ บ ลกุ ล บริจาคชามก๋วยเตี๋ยว ๑๘๐ ลูก ขอให้กิจการรุ่งเรืองยิ่งๆ ขึ้นไปเทอญ Mr. Duwayne-คุณชูนนทร์ Engelhart ท�ำบุญเลียงพระวันเกิด คุณไพจิตร จารุตนติ์ ทำ�บุญเลียงพระเนืองในวันเกิด เพือความเป็นสิรมงคล ิ ้ ั ้ ่ ่ ิ
  • 10. แสงธรรม 8 Saeng Dhamma You Are Your Own Refuge By Du Wayne Engelhart “The Buddha, though a human being, is have to rely upon themselves. In other words, they are one who has trained and made himself perfect . . their own refuge. They are responsible for whatever . Even the gods honor him.” —“Nāga Sutta,” Anguttara Nikāya, III. 346. According to Buddhism, you are your own refuge. That is, you make your own place of protection from trouble. This means that if you want to free yourself from the suffering in your life, you have to do this yourself. No one can do it for you. You have to depend upon yourself, not upon anybody or anything else, to find peace in your life. Loved ones and friends can help you to some extent, but it is really up to you. You cannot depend upon luck, fate, or God. You cannot wait for something to happen; you have to do something. The first lesson the Buddha taught is that you are your own refuge.* Shortly after he had been born, it is said the Buddha-to-be took seven steps, looked north, south, east, and west, and said in a loud voice, “I am the greatest in the world; I am in the first position in the world; I am the oldest in the world.” Why did he say this? These seem to be the words of someone who is too full of pride. Actually, the Buddha-to-be is teaching a lesson. He is teaching that human beings are independent; they happens or does not happen in their lives as far as their behavior is concerned. Buddhism teaches that the Buddha, the Dhamma, and the Sangha (the monks) are the three refuges, the triple refuge, the Triple Gem. They are the triple refuge but only insofar as you are your own refuge first. The Buddha can be your refuge if you have faith in him—a faith that grows into wisdom—and if you take up the practice. If you do not practice Buddhism, however, the Buddha can do nothing for you. The Dhamma can be your refuge if you use it to get from the state of suffering to the other side, to the state of Enlightenment. If you do not yourself use the Dhamma, it will do nothing for you. The Sangha can be your refuge if you follow the good example of the monks and listen to their words, but if you pay no attention to the monks, they will not be able to help you at all. Everything depends upon you. How do you truly become your own refuge in Buddhism? You do this by letting go of everything in the world that you are dependent upon—by holding onto nothing. That is, you make nothing at all in the world your refuge because there is in fact no refuge anywhere in the world. There is no safe, secure place
  • 11. แสงธรรม 9 Saeng Dhamma in the world because everything and everyone is always changing and going away. To live as if there is a refuge in the world is to ask for suffering to come into your life. There is nothing in the world that is really yours.** If you can give up completely every refuge in the world, you will be enlightened. Enlightenment is when no change in anything in the world bothers you at all because there is absolutely nothing in the world that is your refuge.*** This it total peace and us. There can be found in truth no “I” or “mine” anywhere in total freedom. yours . . . Mental activities are not yours . . . Consciousness ----------------------------------- is not yours, renounce it. Renouncing it will be to your good, *See Bhikkhu P. A. Payutto, Toward Sustainable Science (Bangkok: Buddhadhamma Foundation, 1993), pp. 61-63; and the “Mahâpadāna Sutta: The Great Discourse on the Lineage,” in The Long Discourses of the Buddha; A Translation of the Dīgha Nikāya, translated from the Pāli by Maurice Walshe (Boston: Wisdom Publications, 1995), II.15, pp. 204-05. **We should treat everything in life that we think is really ours as if it were nothing more than the grass or tree branches in the forest. We should not think of ourselves as in any way beings separate from the world of nature around the world. The Buddha tells the monks, “‘It is as if a person were to carry away, burn or do as he pleased with the grass, twigs, branches and foliage in this Jeta Grove. Would it occur to you to say, “The person is carrying us away, is burning us, is doing as he pleases with us”?’ / ‘Certainly not, Sir.’ / ‘For what reason?’ / ‘Because, Lord, this is not ourselves nor what belongs to ourselves.’ / ‘So, also, bhikkhus, the body is not yours, renounce it. Renouncing it will be to your good, to your happiness. Feeling is not yours . . . Perception is not your happiness’” (An Anthology from the Samyutta Nikāya, translated by John D. Ireland (Kandy, Ceylon: Buddhist Publication Society, 1981), XXII.33, pp. 39-40). ***Compare Anthology from the Samyutta Nikāya, XXI.2, p. 31: “The Venerable Sāriputta said: ‘When, friends, I had gone into seclusion (for meditation) this thought arose in my mind, “Is there anything in the world, a change and alteration in which would cause sorrow, lamentation, suffering, grief and despair to arise in me?” And then, friends, I thought, “No, there is nothing . . .”’” Wat Thai Washington, D.C., January 17, 2013 ่ คุณกระแต และคุณน้อย ช่วยท�ำความสะอาดห้องน�ำ้ -ห้องครัวของวัด ขออนุโมทนาสาธุ! คุณสนัน เมฆมงคล คุณวิโรจน์ บาลี ช่วยดูแลงานก่อสร้างอาคาร ๘๐ ปี หลวงตาชี
  • 12. แสงธรรม 10 Saeng Dhamma ขออนุโมทนาขอบคุณอุบาสกอุบาสิกาวัดไทยดีซีทุกท่าน ที่ร่วมแรงแข็งขันช่วยกันขนย้ายสิ่งของ จากคาสิ โ บ้ มาเก็บที่กุฏิ เพื่อที่จะย้ า ยคาสิโ บ้ ๒ หลั ง ออกจากลานจอดรถ เมื่ อ วั น ที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๕๖
  • 13. แสงธรรม 11 Saeng Dhamma ความคืบหน้าการก่อสร้าง “อาคาร 80 ปี หลวงตาชี” คณะกรรมการวัดไทยดีซี ผู้ดูแลการก่อสร้าง และเจ้าหน้าที่ผู้รับเหมาก่อสร้าง ของบริษัท TW ประชุมทุกเช้าวันอังคาร เพื่อแจงความคืบหน้าการก่อสร้าง “อาคาร 80 ปี หลวงตาชี”
  • 14. แสงธรรม 12 Saeng Dhamma โครงการสร้างอาคาร 80 ปี หลวงตาชี - เริ่มมีโครงการสร้างอาคาร 80 ปี - เริ่มด�ำเนินการโครงการฯ - วางแผน / ท�ำแปลนอาคาร / สถานที่ - พ.ศ. 2548 - พ.ศ. 2549 - พ.ศ. 2550 (ขนาดอาคารมี 3 ชั้น มีพื้นที่ทั้งหมด 13,400 ตร.ฟ. ) - ได้รับอนุญาตให้ด�ำเนินการก่อสร้าง - 9 สิงหาคม 2555 - ท�ำสัญญากับบริษัทรับเหมาก่อสร้าง (บริษัท Therrien Waddel, Inc. / TW) - 12 กันยายน 2555 - ประกอบพิธีเปิดหน้าดิน (GROUND BREAKING) - 23 กันยายน 2555 - ผู้รับเหมา เริ่มลงมือก่อสร้าง - 23 ตุลาคม 2555 - ระยะเวลาในการก่อสร้าง 8 เดือน 23 ตุลาคม 2555 – 14 มิถนายน 2556 ุ - อนุญาตให้ย้ายเข้าอยู่ตึกใหม่ได้ได้ ตั้งแต่ - 22 เมษายน 2556 - จัดงานฉลองอาคารพร้อมกับท�ำบุญอายุวัฒนมงคลครบ 88 ปี หลวงตาชี - 8-9 มิถุนายน 2556 - ค่าก่อสร้างอาคาร รวมทั้งรื้อถอนอาคารเก่า – ท�ำ Land Scape และ Parking Lots บางส่วน รวมทั้งสิ้น 2,171,513.00 ดอลล่าร์
  • 15. แสงธรรม 13 Saeng Dhamma รายการร่วมบริจาคท�ำบุญเป็นเจ้าภาพ 1. ประตูทางเข้าอาคาร 4 ชุด ๆ ละ $1,500 (มีเจ้าภาพครบแล้ว) 2. ประตูภายในอาคาร 38 บาน ๆ ละ $500 (มีเจ้าภาพ 23 บาน) 3. หน้าต่างทั้งอาคาร 47 บาน ๆ ละ $700 (มีเจ้าภาพ 15 บาน) 4. กระเบื้องมุงหลังคา ตารางฟุตละ $30 (มีเจ้าภาพ 10 ราย) 5. พรมปูพื้นทั้งอาคาร ตารางฟุตละ $40 (มีเจ้าภาพ 2 ราย) 6. ห้องพระ หลวงพ่อด�ำ ตารางฟุตละ $150 (มีเจ้าภาพ 2 ราย) 7. ห้องวิปัสสนากรรมฐาน ตารางฟุตละ $150 (มีเจ้าภาพ 11 ราย) 8. ห้องพักพระสงฆ์ 8 ห้องๆ ตารางฟุตละ $150 (ยังไม่มีเจ้าภาพ) 9. ห้องสมุด 549 ตารางฟุต ๆ ละ $150 (มีเจ้าภาพ 5 ราย) 10. ห้องน�ำพร้อมห้องสุขา 10 ห้อง ๆ ละ $7,500 (มีเจ้าภาพ 5 ราย) ้ 11. ห้องสุขา ชาย/หญิง 14 ห้อง ๆ ละ $6,000 (ยังไม่มีเจ้าภาพ) 12. ห้องอาบน�้ำ (Stand Shower) 10 ห้อง ๆ ละ $1,500 (มีเจ้าภาพ 3 ราย) 13. ห้องครัว ตารางฟุตละ $150 (มีเจ้าภาพ 2 ราย) 14. ห้องฉัน ตารางฟุตละ $150 (มีเจ้าภาพ 1 ราย) 15. ห้องส�ำนักงาน ตารางฟุต 16. ห้องเรียน ตารางฟุตละ 17. ห้องพักครู ตารางฟุตละ 18. กระเบื้องปูพื้น ตารางฟุตละ $150 $150 (ยังไม่มีเจ้าภาพ) (ยังไม่มีเจ้าภาพ) $30 (มีเจ้าภาพ 1 ราย) $150 ************************* (ยังไม่มีเจ้าภาพ)
  • 16. แสงธรรม 14 Saeng Dhamma รายนามผู้จองเป็นเจ้าภาพวัสดุอุปกรณ์ก่อสร้าง “อาคาร ๘๐ ปี หลวงตาชี” 1. ประตูทางเข้าอาคาร 4 บาน ๆ ละ $ 1,500 16. Pormthip M Shaiyl 1 บาน 17. คุณประยูร - Richart ฮัก, คุณวิสาขา เขลากระโทก 1 บาน (มีเจ้าภาพครบแล้ว) (ยังไม่มีเจ้าภาพ 15 บาน) 1. คุณยุพิน เลาหพันธ์ุ และครอบครัว 1 บาน 2. ครอบครัวมานะกุล 1 บาน 3. หน้าต่าง 47 บานๆ ละ $700 (มีเจ้าภาพ 15 บาน) 1 บาน 3. วัดสุทธาวาส CA 1 บาน 1. คุณวิรัตน์ สุขสมอรรถ 1 บาน 4. กลุ่มเพื่อนรัก (ธรรม) 1 บาน 2. คุณ Boontarica บาลี 3. คุณกลวิทย์ – คุณรัชนี รพีพันธ์ 3 บาน ---------------------------2. ประตูภายในอาคาร 38 บาน ๆ ละ $ 500 4. คุณ Neetinate Rattananet 1 บาน 5. คุณ Kanya Kambalasiri 3 บาน (มีเจ้าภาพแล้ว 23 บาน) 1 บาน 1. September Birthday Group 1 บาน 6. กลุ่มเพื่อนรัก (ธรรม) 1 บาน 2. คุณกุญชลี อนันต์สุขศรี 2 บาน 7. คุณดลวรรณ เหวียน และครอบครัว 8. คุณวนิดา สุนทรพิทักษ์, คุณยุพิน สงวนทรัพย์, 1 บาน 3. คุณแม่แล่ม–คุณธัญญนันทน์ โพธิ์ทอง และครอบครัว 1 บาน คุณบรรจง พวงใหญ่, คุณดวงพร เทียบทอง, 4. คุณวนิดา สุนทรพิทักษ์, คุณยุพิน สงวนทรัพย์, คุณบรรจง คุณบุญลาภ พึ่งพินิจ, คุณชิดชู คงเจริญรส และเพื่อนๆ 1 พวงใหญ่, คุณดวงพร เทียบทอง, คุณบุญลาภ พึ่งพินิจ, 9. คุณอาทิตย์–คุณหนูทอง สุธาวา,คุณเสถียร จันทวร บาน 1 บาน คุณชิดชู คงเจริญรส และเพื่อนๆ 1 บาน 10. คุณกุหลาบ ปาระจิตร 5. Southern Thai Association 2 บาน 11. คุณสุรศักดิ์ พงศ์วรินทร์, คุณธีรวรรณ จันทร์ดร 1 บาน (ยังไม่มีเจ้าภาพ 32 บาน) 6. ครอบครัวแย้มเพกา + พยับเดชาชัย 1 บาน --------------------------7. คุณยายเสริมศรี เชื้อวงศ์ และครอบครัว คุณทองพูน เฮ็นเซ็น และครอบครัว 1 บาน 4. กระเบื้องมุงหลังคา ตารางฟุตละ $ 30 8. คุณมิ่ง– คุณรุ้งฤดี–Fay–Muni เพริศพราว 2 บาน 1. คุณ Pinthong Graffarian $ 1,000 9. คุณสมาน – คุณสมัญญา จันทนามศรี 2 บาน 2. ครอบครัวเกษมพันธัย $1,000 10. คุณชวลิต-พรทิพย์ ใช้ญาณ-กนกพร ทองดรงค์ 3. คุณศิริพร-Edward-William Gresser $ 300 อุทศให้นางนิภา ม่วงโสภา-พ่อตุ-๊ แม่ทองใบ ม่วงโส 1 บาน 4. คุณทรงพล–คุณสมศรี เกียรติอภิวัฒน์ $ 100 ิ 11. คุณสุกานดา บุพพานนท์ 1 บาน 5. คุณ Waraphon Woraharn + Pual Pepal $ 50 12. คุณกัญญา 1 บาน 6. คุณ Chittima Thamsiri, คุณ Tasana Puttiwat $ 50 13. คุณแม่นิน, คุณบุญกอง สุธาวา, แม่บุญเหลือ โศกท้อ, 7. คุณ Chunvipa Bamrungpetch $ 50 คุณไสว มูลทา 1 บาน 8. คุณวีราภรณ์-คุณธีวิทธ์ วงษ์โกวิท $ 50 14. คุณวิเชียร - คุณกันยา จิตไพศาลสุข 1 บาน 9. Tassanee Kunaprayoon $ 100 15. Thomas - Satitiya Chaiyakul 3 บาน 10. คุณวิทยา - คุณลินจง - ด.ช.มาวิน เจริญผล $ 30
  • 17. แสงธรรม 15 Saeng Dhamma 5. ห้องสมุด 549 ตารางฟุต ๆ ละ $ 150 10. ห้องส�ำนักงาน ตารางฟุตละ 1. คุณแม่วรรณ ไกรโรจนานันท์ 2. คณะสื่อมวลชนจากมูลนิธิอิศรา อมันตกุล 3. คุณวัฒนิจ เจริญพิทักษ์ 4. Brown Family 5. นายพิมล - นางชุชนาถ ภิญญาเกษม $1,000 (ยังไม่มีเจ้าภาพ) $ 450 11. ห้องเรียน ตารางฟุตละ (ยังไม่มีเจ้าภาพ) $ 150 $ 100 12. ห้องพักครู ตารางฟุตละ $ 30 (ยังไม่มีเจ้าภาพ) 6. ห้องวิปัสสนากรรมฐาน 233 ตารางฟุตๆ ละ $ 150 1. พระมหาถนัด อตฺถจารี $ 2,200 2. ครอบครัววรรณสกุล $10,000 3. Devin Suvarnnasuddhi $ 802 4. คุณอรพรรณ Devoy $ 600 5. คุณกีรติ อินโอชานนท์, คุณณัฐพร เรืองโชติชชวาล $ 150 ั 6. คุณเยาวเรศ อึงตระกูล $ 150 7. คุณวิลาสินี เกียรติอภิวัฒน์ $ 150 8. คุณทรงพล–คุณสมศรี เกียรติอภิวัฒน์ $ 100 9. คุณอาทิตย์ เกียรติอภิวัฒน์ $ 50 10. คุณวรรณพร ธรรมโชติ $ 50 11 คุณวิทยา - คุณลินจง - ด.ช.มาวิน เจริญผล $ 170 7. ห้องอาบน�้ำ พร้อมห้องสุขา 10 ห้อง ๆ ละ $ 7,500 (มีเจ้าภาพแล้ว 4 ห้อง) 1. ครอบครัวเจตบุตร 2. คุณพัชรา ตวงเศรษฐวุฒิ และครอบครัว 3. กลุ่มพลังบุญ 4. คุณนิพรรณ พริ้งประยูร 5. ดร.สุทนต์ - คุณศิริกันย์ ธรรมประเสริฐ $ 150 $ 150 $ 150 13. ห้องครัว ตารางฟุตละ $ 150 14. ห้องฉัน ตารางฟุตละ $ 150 1. Eastland Food Corporation $ 10,000 2. คุณพยุง – คุณจินตนา งามสอาด (เตาห้องครัว) $ 4,000 --------------------------1. Eastland Food Corporation --------------------------- $ 10,000 15. ห้องพระหลวงพ่อด�ำ ตารางฟุตละ $ 150 1. คุณพยุง – คุณจินตนา งามสอาด ร้านทะเลไทย $ 6,000 2. คุณกัญญา สว่างโรจน์ $ 1,000 --------------------------- 16. กระเบื้องปูภายในอาคาร ตารางฟุตละ $ 30 1. คุณ Tasana Putthiwat,คุณ Anchalee, 1 ห้อง Raweewan Dattanadon $ 30 1 ห้อง --------------------------1 ห้อง 17. พรมปูพื้น ตารางฟุตละ $ 40 $ 1,009 1. คุณดวงจ�ำปี บุญธรรม, คุณวงเดือน เมฆขุนทด, 1 ห้อง ป้านิตยา ทอมสัน $ 400 8. ห้องอาบน�้ำ (Stand Shower) 14 ห้อง ๆ ละ $ 1,500 2. P. Chanyasubkit $ 40 (มีเจ้าภาพ 3 ห้อง) --------------------------1. คุณวรรณี ศรีสุพรรณ์, คุณแสงจันทร์ โรบินสัน, คุณทัฬห์ 18. ห้องพักพระสงฆ์ 8 ห้อง (รวม 767 ตรฟ.ๆ ละ $ 150) (ยังไม่มีเจ้าภาพ) อัตวุฒ,ิ คุณบุณณ์ภสสร–คุณศรสวรรค์ พงศ์วรินทร์ 1 ห้อง ั ้ 2. คุณเพลินจันทร์ พุชรัชต์ อุทิศส่วนกุศลให้พ่อประมวญ- ขอเชิญชวนท่านสาธุชนผูใจบุญทุกท่านร่วมบริจาคทรัพย์ แม่พัว ทรัพย์พันแสง และคุณสิทธิวัฒน์ พุชรัชต์ 1 ห้อง เป็นเจ้าภาพสร้าง “อาคาร ๘๐ ปี หลวงตาชี” ในรายการ 3. คุณศุภิสรา คุรุฐิติ 1 ห้อง ต่างๆ ตามก�ำลังศรัทธาและความปรารถนาของท่าน ขออนุโมทนาสาธุ..สาธุ..สาธุ.. 9. ห้องสุขา (ไม่มีห้องน�้ำ) 14 ห้อง ๆ ละ $ 6,000 (ยังไม่มีเจ้าภาพ) (เจ้าภาพรายการต่างๆ จะประกาศให้ทราบฉบับต่อไป)
  • 18. แสงธรรม 16 Saeng Dhamma WAT THAI WASHINGTON D.C. STATEMENT OF ACTIVITIES ANDNET CASH FLOWS FOR THE PERIOD OF JANUARY 1 - DECEMBER 31, 2012 แสงธรรม 20 INCOME: Sub-total Total Donations: Donations-General Support 400,464 Donations-80th Yr LT Chi’s Building Funds 145,901 Donations-Education 16,122 Total Donations 562,487 Investment: Dividends 1,923 Interest 825 2,748 TOTAL INCOME: $ 565,235 EXPENSES: แสงธรรม 20 Utilities: Electricity 35,435 Oil & Propane Gas 3,776 Solid Waste & Refuse Collection 8,290 Water 8,731 Total Utilities 56,232 Printing & Distribution: Equipment Leasing and Repair 6,268 Postage 11,999 Printing Services 38,422 Supplies 3,825 Total Printing & Distribution 60,514 Insurance: Automobile 1,287 Health-Monks 22,220 Property & Liability Insurance 4,372 Total Insurance 27,879 Equipment Expenses: Equipment Puchase 399 Equipment Rental 3,025 Maintenance Contracts & Repair 7,892 Total Equipment Expenses 11,316 Automobile 2,159 Bank Charges 298 Building and Ground 5,528 Contributions/Hospitality & Gifts 17,572 Dilivery & Cargo 3,599 Foods & Kitchen Supplies 2,406 FundRaising 9,106 Medical Expenses: monks 1,457 Miscellaneous 650 Office Expenses 6,527 Security Services 1,240 School Expenses 10,535 Telephone and Internet 3,101 Travel 12,328 TOTAL EXPENSES 232,447 NET INCOME AND EXPENSES $ 332,788 Adjust to Reconcile Cash: -Net Cash Provided by Operations (1,189) -Net Cash for 80th Yr Luangta Chi’s Building $ (485,819) NET CASH FLOWS $ (154,220) NOTE:* Donation-80th Yr Luangta Chi’s Building Funds is included net income/expenses from Luangta’s Birthday, Mahachart and Fund Raising events. ** Total expenses are not included those of Lunagta’s Birthday, Mahachart and FundRaising events which are reported as net income. Nisakorn Praisaengpetch Phramaha Thanat Inthisan Treasurer Chair of the Board of Directors Saeng Dhamma Saeng Dhamma
  • 19. แสงธรรม 17 Saeng Dhamma อนุโมทนาพิเศษ / Special Thanks คณะสงฆ์และคณะกรรมการวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. ขออนุโมทนาแด่สาธุชนทุก ๆ ท่าน ทีมจตศรัทธาถวาย ่ีิ ภัตตาหารเช้า-เพล บริจาคสิงของ เสียสละแรงกาย แรงใจ ก�ำลังสติปญญา และความสามารถเท่าทีโอกาสจะอ�ำนวย ่ ั ่ ช่วยเหลือกิจกรรมของวัดด้วยดีเสมอมา ท�ำให้วดของเรามีความเจริญรุงเรืองก้าวหน้ามาโดยล�ำดับ โดยเฉพาะทุก ั ่ ท่านที่มีส่วนร่วมในงานวันส�ำคัญต่าง ๆ ของทางวัด จึงประกาศอนุโมทนากับทุก ๆ ท่านมา ณ โอกาสนี้ � คุณทาบช้าง ถวายดอกไม้-ธูป-เทียน ประจำ�ทุกอาทิตย์ � นายแพทย์อรุณ-คุณสุมนา สวนศิลป์พงศ์ ถวายกระดาษ Letter 15 รีม, � คุณไพจิตร จารุตันติ์ ทำ�บุญวันเกิด ถวายสังฆทาน เพื่อความเป็นสิริมงคล � คุณสุจิตรา - คุณอุเทน เศวตะโศภน ท�ำบุญวันเกิด ถวายน�้ำดื่ม, แน็ปกิ้น, ช้อน-ส้อม-จานโฟม และข้าวสาร � คุณชัยยุทธ - คุณยุพา - น้องกอล์ฟ - น้องนาตาลี สมเขาใหญ่ ถวายน�้ำดื่ม 4 ถังใหญ่ � คุณติ๊ ดลวรรณ เหวียน และครอบครัว ท�ำบุญถวายสังฆทานเนื่องในวันเกิดคุณทวน เหวียน � คุณจี๊ด กษิมา ศิริภิญโญกิจ ท�ำบุญถวายเกลือละลายหิมะ 13 ถุงใหญ่ � คุณยุภาพร ธิตา ท�ำบุญถวายสังฆทาน อุทิศให้คุณพ่อค�ำมูล แม่หน้อย ธิตา � นางสาวธีรวดี จ�ำเดิม ท�ำบุญอุทิศให้คุณซ่อนกลิ่น – คุณประเสริฐ จ�ำเดิม และเจ้ากรรมนายเวร � คุณธัญญลักษณ์ – คุณชนาวรรณ – คุณสมาน และครอบครัวตรีเกสรนพมาศ - คุณคริสโตเฟอร์ โทมัส ฮิกส์ ท�ำบุญถวายสังฆทาน � คุณภัทรานุช โกมล และครอบครัว – คุณเชย ทองพัด - คุณอรรถพงศ์ เขมฤกษ์อ�ำพล และครอบครัว ท�ำบุญถวายสังฆทาน � คุณธิดารัตน์ ศรีหาคุณ – คุณกิตติศักดิ์ สาธิตภาณุวัฒน์ ท�ำบุญถวายสังฆทานอุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร � คุณ CHUD และครอบครัว ท�ำบุญถวายสังฆทานเนื่องในวันเกิดให้น้อง Nevin Dechsi � คุณประไพ สุพัฒนุกูล – คุณกุหลาบ ปารจิตร – คุณอุบล เกื้อลาย ท�ำบุญถวายสังฆทาน จานกระเบื้อง ถ้วยกระเบื้อง และแก้ว อนุโมทนาพิเศษงานวันเด็กวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. ในนามคณะกรรมการจัดงานทุกฝ่าย ขออนุโมทนาขอบคุณ คุณสาโรจน์ ธนสันติ อุปทูต ณ กรุงวอชิงตัน ให้เกียรติเป็น ประธานเปิดงานวันเด็กวัดไทยดีซี ตลอดทังผูปกครองนักเรียน และสาธุชนทุกท่านที่ได้มีส่วนร่วมให้งานสำ�เร็จลุล่วงไป ้ ้ ด้วยดี ทำ�ให้เด็กๆ สนุกสนานกับกิจกรรมต่างๆ ทั้งได้แสดงความสามารถที่ตนเองถนัดอย่างมีสีสัน จึงขออนุโมทนาขอบคุณทุกๆ ฝ่ายมา ณ โอกาสนี้ เจ้าภาพน้ำ�ดื่มถังใหญ่ - ค่าไฟ ถวายประจำ�ทุกเดือน คุณแม่สงวน เกิดมี คุณจารุณี พิทโยทัย คุณประยูรศรี วรเลิศ คุณชัยยุทธ-คุณยุพา สมเขาใหญ่ คุณทัฬห์ อัตวุฒิ คุณบุณณ์ภัสสร คุณศรสวรรค์ พงศ์วรินทร์ น.พ. อรุณ คุณสุมนา สวนศิลป์พงศ์ คุณละม้าย คุณประมวล ทวีโชติ คุณทองพูน คุณสุนันทา เฮนเซ้น คุณยายเสริมศรี เชื้อวงศ์ คุณยายป้อม สุวรรณเตมีย์ คุณบุญเลิง วิสีปัตย์ คุณยายรำ�ไพ ราชพงษ์ คุณชูศรี กอร์
  • 20. แสงธรรม 18 Saeng Dhamma ขอเชิญทุกท่านร่วมนมัสการพระสารีรกธาตุ ณ อุโบสถ วัดไทยฯ ดี.ซี. ิ You all are cordially invited to Wat Thai, D.C., Temple to pay respect to or simply view the Buddha relics on display in the chanting hall. ปฏิบัติธรรมประจ�ำเดือนกุมภาพันธ์ ณ วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. 16 กุมภาพันธ์ 2556 / 9:00 AM ** ศึกษาและปฏิบัติธรรมตามหลักมหาสติปัฏฐานสูตร **
  • 21. แสงธรรม 19 Saeng Dhamma เสียงธรรม...จากวัดไทย พระวิเทศธรรมรังษี (หลวงตาชี) อายันตุ โภนโต อิธะ ทานะสีละ เนกขัมมะ ปัญญา สะหะ วิริยะ ขันตี สัจจาธิษฐานะเมตตุเปกขา ยุทธายะโว คัณหะถะ อาวุธานีติ. คาถากันผี (ตอนที่๑) อายันตุ โภนโต อิธะ ทานะสีละ เนกขัมมะ ปัญญา สะหะ วิริยะ ขันตี สัจจาธิษฐานะ เมตตุเปกขา ยุทธายะโว คัณหะถะ อาวุธานีติ. พระคาถานี้ เกจิอาจารย์ทางเวทย์มนต์เรียกชื่อว่า “อาวุธของพระพุทธเจ้า” ถ้าใครท่องบ่นสาธยายให้ขึ้นใจ ใช้ บริกรรมภาวนาทุกวันคืน สามารถใช้ปองกันภยันตรายอันเกิด ้ จากภูตผีปีศาจสารพัดอย่าง ผีประเภทต่างๆ ไม่สามารถจะ หลอกหลอนและท�ำอันตรายได้ กันเสนียดจัญไร น�ำชัยชนะ และความเป็นศิรมงคลมาสูตนและครอบครัวหมูคณะให้เจริญ ิ ่ ่ รุ่งเรืองตลอดไป ก่อนอืนขอพาท่านทังหลายย้อนกลับไปหาต้นเหตุ อัน ่ ้ เป็นข้อมูลให้เกิดคาถาดังกล่าวข้างต้นนันเสียก่อน สมเด็จพระ ้ สัมมาสัมพุทธเจ้าของเราทังหลายนัน ทุกคนก็ยอมรับเป็นเสียง ้ ้ เดียวกันว่าพระองค์เป็นผูทรงชนะมาร ค�ำว่า “มาร” และ “ผี” ้ โดยความหมายแล้วก็จัดอยู่ในพวกเดียวกัน หรือที่เรียกว่า ตะเภาเดียวกัน เพราะรวมเอาพวกให้ร้าย พวกที่คอยล้าง ผลาญ พวกเลวทราม พวกตีกันไม่ให้ผู้อื่นท�ำความดี ข้อความ ตอนหนึงในหนังสือพุทธประวัติ หรือหนังสือปฐมสมโพธิ พระ ่ คันถรจนาจารย์ คืออาจารย์ผู้แต่งคัมภีร์ (หนังสือต�ำราทาง ศาสนา) ได้กล่าวไว้ว่า ในคืนวันเพ็ญเดือน ๖ อันเป็นวันที่ พระพุทธเจ้าของเราได้บรรลุพระอนุตตรสัมโพธิญาณ หรือพูด ให้เข้าใจกันง่ายๆ ก่อนที่จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้านั้นเอง เมื่อพระองค์เสด็จประทับเข้าสมาธิเหนือบัลลังก์ภายใต้ต้นไม้ มหาโพธินน พระยามารผูใจบาปทราบว่า พระองค์จะได้ตรัสรูเ้ ป็น ั้ ้ พระพุทธเจ้าอย่างแน่แท้โดยไม่ตองสงสัย พระยามาราธิราช ก็มี ้ จิตใจปันป่วนกระวนกระวาย คิดอุบายทีจะท�ำลายล้างพระองค์ให้ ่ ่ เสือมเสียจากคุณธรรม เพราะถ้าปล่อยให้พระสิทธัตถะ ได้ตรัสรู้ ่ เป็นพระพุทธเจ้าแล้ว เราก็จะหมดอ�ำนาจราชศักดิ์ ใครเขาจะ รักและย�ำเกรงในอ�ำนาจของเรา อย่ากระนั้นเลย เราจะต้อง ก�ำจัดพระสิทธัตถะให้ปราชัยต่ออ�ำนาจของเราในครังนี้ ว่าแล้ว ้
  • 22. แสงธรรม 20 Saeng Dhamma พระยามารผู้ใจบาปหยาบช้าแสนสาหัสก็ตรัสเรียกลูกสาวทั้ง สามอันมีนามว่า นางราคะ นางตัณหา และนางอรดี ให้ไปย�ำยี ่ พระสิทธัตถะด้วยกลมายาแห่งสตรี ลูกสาวทังสามรับค�ำสังแต่ ้ ่ โดยดี รีบพากันขมีขมันไปสู่ส�ำนักของพระองค์ ครั้นแล้วก็ บรรจงแสดงมายาหญิง มีการฟ้อนร�ำขับร้องด้วยท�ำนองเกี้ยว พาราสี พูดจาพาทีลวนแล้วแต่คำอันก่อให้เกิดกิเลสตัณหา ยืน ้ � ่ หน้ากรอกตาชะมดชะม้อยนุ่งน้อยห่มน้อยปล่อยชายภูษา คลอเคลียไปมาถูกายาของพระองค์ ด้วยอ�ำนาจของพระบารมี ธรรมที่พระองค์ได้ทรงบ�ำเพ็ญมาแต่อเนกชาติ นางทั้งสามมิ สามารถที่จะท�ำลายพระหฤทัยของพระองค์ให้เคลื่อนจาก สมาธิจิต ให้มาหลงติดในมายาของพวกตนได้ อ่อนอกอ่อนใจ ไม่รู้จะท�ำมายาอย่างใดได้อีกแล้ว องค์พระประทีปแก้วมิได้ สะทกสะท้านหวาดหวั่นแต่ประการใด มีน�้ำพระทัยหนักแน่น ดุจดังแผ่นปฐพี ด้วยอ�ำนาจฤทธีแห่งบารมีธรรม ได้ดลบันดาล ให้นางทังสามกลับกลายเป็นยายแก่ พ่ายแพ้แก่พระองค์ มิอาจ ้ จะพากันทรงตนอยู่ได้ก็พาร่างกายอันงกเงิ่นเดินกลับไปแจ้ง แก่พระยามารผู้เป็นพ่อ พระยามารพอได้ข่าวเห็นลูกสาว เหมือนกับแม่ยาย ทังแค้นทังอายอยากจะตายเสียก็ใช่ที่ หนอยๆ... ้ ้ เจ้าชายสิทธัตถะตัวดี มาท�ำเราได้ถงขนาดนีเ้ ชียวหรือ? พระยา ึ มารมิได้รอช้าสั่งให้เตรียมโยธาทหารหาญ ยกทัพออกรุกราน พระพุทธองค์ทันที กองทัพพระยามารพร้อมด้วยเสนามารมี พลช้าง พลม้า พลรถ พลบทจร เมื่อเตรียมพลเสร็จสรรพแล้ว พระยามาราธิราชก็ขนสูคอคชสารคีรเมขล์ รับสังให้ทหารเอก ึ้ ่ ี ่ เคลื่อนกองพลทันที บ่ายหน้าสู่มณฑลโพธิบัลลังก์อันเป็นที่ ประทับของพระพุทธองค์ บรรดาเทพาอารักษ์ ที่คอยพิทักษ์ รักษาพระองค์มาแต่กาลก่อน ได้สดับศัพทะส�ำเนียงเสียง กึกก้องของกองทัพพระยามาร ต่างก็หนีตาลีตาลานเอาตัวรอด ปล่ อ ยให้ พ ระพุ ท ธองค์ ป ระทั บ อยู ่ โ ดยล� ำ พั ง แต่ เ ดี ย วดาย พระยามารยกทัพมาคราวนี้ เสมือนหนึงว่าปฐพีจกถล่มทะลาย ่ ั ก็ปานกัน พอมาถึงบริเวณโพธิมณฑล พระยามารก็แผดเสียง ค�ำรามขูตะคอกให้พระองค์เสด็จออกจากรัตนบัลลังก์ อ้างเอา ่ ว่าเป็นของๆตนมีพลเสนามารเป็นพยานอ้างอิง พระสิทธัตถะ มาแย่งชิงเอาไปโดยพลการไม่ชอบด้วยเหตุผล พระยามารได้ แสดงกลด้วยยุทธวิธีร้อยแปดพันประการ มีบันดาลให้ฝนตก พายุพัด ใช้วิธีประหัตประหาร บันดาลเป็นฝนหอกฝนดาบ ตกลงมาถูกต้องกายาของพระองค์แต่สิ่งเหล่านั้นก็กลับกลาย เป็นบุปผามาลามาลัยบูชาพระองค์ไปหมด พระยามารเห็นเช่น นันก็ยงไม่สนฤทธิ์ ได้เนรมิตรร่างกายเป็นหลายหลากแบ่งภาค ้ ั ิ้ ออกเป็นต่างๆ นานา มีกายาสูงเท่าภูเขาเลากา มีลกตาลุกเป็น ู เปลวไฟ แลบลิ้นปลิ้นตา ท�ำมายาหลอนหลอก แสดงตัวเป็น วอก เป็นสุนัข ต่อพระพักตร์ของพระพุทธองค์ แม้พระยามาร และเสนามารจะแสดงอาการยุทธวิธีพลิกแพลง เปลี่ยนแปลง ยั ก ย้ า ยเป็ น ประการใด พระหฤทั ย ของพระองค์ ก็ ห าได้ หวาดหวั่นพรั่นพรึงแต่ประการใดไม่ เพื่อจะก�ำจัดพระยามาร พร้อมด้วยเสนามารให้พายแพ้อนตรธานไป พระองค์จงได้ทรง ่ ั ึ ร�ำลึกถึงพระบารมีธรรมอันได้ทรงบ�ำเพ็ญมานับชาติไม่ถ้วน ประมวลมาในชาติสดท้ายก็ครบบริบรณ์คอ ทานบารมี สีลบารมี ุ ู ื เนกขัมมะบารมี ปัญญาบารมี วิริยะบารมี ขันตีบารมี สัจจะ บารมี อธิษฐานบารมี เมตตาบารมี อุเบกขาบารมี ชี้ให้พระยา มารจ�ำนนต่อหลักฐานว่า “รัตนบัลลังก์” นี้เป็นของเรา เกิด ขึ้นมาด้วยอ�ำนาจบารมีธรรมอันเราได้สั่งสมอบรมไว้แล้วนาน แสนนาน พระยามารได้ฟังก็อ�้ำอึ้งตะลึงงันเกิดมหัศจรรย์ ยืน ตัวแข็งเป็นก้อนหิน เมื่อได้ยินพระด�ำรัสที่พระองค์ตรัสส�ำทับ อีกครั้งหนึ่งจึงรู้สึกตัว กลับกลายเป็นคนกลัวตัวสั่นเทาไปทั่ว ร่าง พระองค์จึงทรงกล่าวอ้างนางธรณีเป็นสักขีพยานครั้ง สุดท้าย โดยบรรยายเป็นคาถาดังที่กล่าวมาข้างต้นว่า อายันตุ โภนโต อิธะ ทานะ สีละ เนกขัมมะ ปัญญา สะหะ วิริยะ ขันตี สัจจาธิษฐานะ เมตตุเปกขา ยุทธายะโว คัณหะถะ อาวุธานีติ. พอจบพระคาถา นางธรณีกปรากฏกายาผุดขึนมาจาก ็ ้ แผ่นปฐพี เปล่งสุนทรวาจีรบอาสาเป็นพยานว่า การทีพระองค์ ั ่ ได้ทรงบ�ำเพ็ญบารมีมานับชาติไม่ถ้วนนั้น หม่อมฉันธรณีเป็น สักขีรบทราบมามิได้ขาด เพือประกาศให้เห็นประจักษ์ตอพระ ั ่ ่ พักตร์ของพระองค์ พร้อมด้วยองค์พระยามาราธิราช นางธรณี จึงกราบกรานทูลถวายอารักขา เอื้อมมือรวบเกษารีดออกมา เป็นธาราท่อน�ำ ไหลหลังพรังพรูพดเอาศัตรู คือกองทัพพระยา ้ ่ ่ ั มารพร้อมด้วยเสนามารให้พ่ายแพ้ปราชัยไปในพริบตาเดียว เป็นอันว่าจบข้อความตอนที่พระพุทธเจ้าทรงเอาชนะพระยา
  • 23. แสงธรรม 21 Saeng Dhamma มารพร้อมทั้งเสนามารในหนังสือปฐมสมโพธิ แต่เพียงเท่านี้ คาถาข้างบนนั้น เมื่อถอดออกมาเป็นภาษาไทยให้เข้าใจกัน แล้ว ก็ได้แก่บารมี ๑๐ ประการนั้นเอง บารมีธรรม ๑๐ นั้น ท่านทั้งหลายก็คงเคยได้ยินได้ฟังกันมาแล้ว และหลายท่าน อาจจ�ำได้ขนใจและคล่องปาก อยากจะให้ทานทียงไม่รไม่เข้าใจ ึ้ ่ ่ ั ู้ ได้จดจ�ำน�ำไปใช้ปราบผี บารมี ๑๐ ประการนั้นคือ ๑. ทานบารมี ได้แก่การให้ทาน การแบ่งปัน การเสียสละ ๒. สีลบารมี ได้แก่การรักษากายวาจาใจ ให้ปราศจากโทษ ๓. เนกขัมมะบารมี ได้แก่การประพฤติพรหมจรรย์ ไม่ เบียดเบียนกัน ๔. ปัญญาบารมี ได้แก่ความรอบรูตามสภาวะธรรมทีเ่ ป็นจริง ้ ๕. วิรยบารมี ได้แก่ความเพียร ความอุตสาหะ ความบากบัน ิ ่ ๖. ขันตีบารมี ได้แก่ความอดทน ความอดกลั้น ๗. สัจจบารมี ได้แก่ความสัตย์ ความจริง ๘. อธิษฐานบารมี ได้แก่ความตั้งใจมั่นในความดี ไม่ เปลี่ยนแปลง ๙. เมตตาบารมี ได้แก่ความรักใคร่ปรารถนาให้คนอื่น เป็นสุข ๑๐. อุเบกขาบารมี ได้แก่ความวางใจเป็นกลางไม่ให้เสีย ความเป็นธรรม ถ้ามีคาถานี้ไว้ประจ�ำใจ ด้วยการประพฤติปฏิบัติกัน จริงๆ แล้ว รับรองว่าปราบผีปราบมารได้ทุกประเภท ผีนอก ผีใน ผีคนตาย ผีคนเป็น ปราบได้ทั้งนั้น ไม่เชื่อลองดูก็แล้วกัน ข้ อ ส� ำ คั ญ ต้ อ งใช้ ใ ห้ ถู ก หลั ก จั ก อธิ บ ายขยายความตอนที่ พระพุทธเจ้าทรงชนะมารโดยธรรมาธิษฐานให้กระจ่างอีกครัง ้ หนึง ตอนนีปล่อยให้ทานทังหลายเชือในทางอภินหารไปพลาง ่ ้ ่ ้ ่ ิ ก่อน จะย้อนมาพูดกันอีกในภายหลัง ท่านผูกลัวผี และไม่กลัวผีทงหลาย โปรดฟังทางนีกอน ้ ั้ ้่ ใครคนใดคนหนึ่งกล่าวขึ้น ท่านจะเชื่อว่าผีมีจริง หรือไม่จริง ก็ตาม แต่ว่า...ผีก็ต้องมีวันยังค�่ำ เขาย�้ำอย่างเอาจริงเอาจัง เหตุผลหรือท่าน เขาพูดออกมาเชิงค�ำถาม แล้วก็สาธยาย น�้ำลายฟูมปากว่า เหตุผลง่ายนิดเดียว ตราบใดที่ยังมีคนตาย กันอยู่ ผีก็ต้องมี ซึ่งใครจะต้านความจริงข้อนี้ไม่ได้ มีใครเขา เรียกคนตายนี้ว่าเป็น ”คน” กันบ้างไหม? เงียบกริบไม่มีใคร ตอบ ถ้าใครขืนตอบว่าคนตายแล้วเรียกว่า “คน” คนนั้นก็ ไม่ใช่คน แล้วใครจะกล้าตอบ แล้วเขาก็พล่ามต่อไปว่า คนตาย แล้วจะเป็นอย่างอืนไปไม่ได้ คนตายแล้วก็ตองเป็น “ผี” ดังน้น ่ ้ ตราบใดที่คนยังตายกันอยู่ หรือยังมีคนตายกันอยู่ ผีก็ต้องมี เป็นของคู่กัน จ�ำกันง่ายๆ คนตายเป็นผี ผีมาจากคนตาย มี เสียงเล็ดลอดสอดขึ้นมากลางคันว่า คนตายเป็นผี ผีตายเป็น อะไร? ผีตายก็เป็นสางนะซิ เขาโพล่งออกมาทันควันโดยไม่ ต้องคิด แล้วสางตายเป็นอะไรมิทราบ? แล้วกันสางตายแล้ว ก็เป็นคางลายซิเพือน ทีนถาคางลายตายกลายเป็นอะไรอีกล่ะ? ่ ี้ ้ อั๊วะ! ไม่รู้จักจบ คิดเอาเอง คิดเอาเองก็แล้วกันโว้ย! ท่านที่รักทั้งหลาย ฟังความคิดเห็นเรื่องผีจากบท สนทนาข้างบนนี้แล้ว เป็นอย่างไรกันบ้าง ได้แง่คิดอะไรบ้าง คุณแซม-ตู่-น้องกีต้าร์-แอนนา มุขกัง ท�ำบุญวันเกิด กลุ่มพลังบุญ ท�ำบุญเลี้ยงพระวันเกิด เพื่อความเป็นสิริมงคล
  • 24. แสงธรรม 22 Saeng Dhamma ไหม หายข้อข้องใจหรือยัง ฟังๆ เขาคุยกันก็นาคิด คนตายกลาย ่ เป็นผี ผีมาจากคนตาย เอ! ชอบกล? ถ้ามันจะจริงของเขากระมัง? เอาล่ะ จริงไม่จริง ขอเชิญท่านติดตามเรืองผีกนต่อไป ่ ั ค�ำว่า “ผี” ในพจนานุกรม หมายเอาซากศพ, คนที่ ตายแล้ว และสิงทีมสภาวะเกินคน นีคอความหมายค�ำว่า “ผี” ่ ่ี ่ื ตามความเข้าใจและภาษาของชาวบ้านทั่วๆ ไปก็พูดตรงกัน คือคนตายแล้วเป็นผี อยู่ดีๆ ยังไม่ตายก็เป็นคน อีกเรื่องหนึ่ง ซึงคนเราชอบพูดกัน คือเวลาไปเผาศพก็มกจะพูดกันว่าไปเผา ่ ั ผี นี่คือผีในความหมายของชาวบ้านทั่วไปที่ใช้กันอยู่ ส่วนผีใน ความหมายทีเป็นนามธรรมนัน ได้แก่ความชัว ความเลวทราม ่ ้ ่ ตามค�ำพังเพยทีวา “ชัวเป็นผี” ต่อไปนีจะพาพวกท่านไปเทียว ่่ ่ ้ ่ เมืองผีกนละ เตรียมเนือเตรียมตัวกันเสียให้ดี มีเวทมนตร์คาถา ั ้ อะไรก็ท่องบ่นสาธยายกันเสียบ้าง เผื่อจะได้กันผีหลอก เมื่อ เราทราบต้นตอกันว่าผีคือซากศพ หรือคนที่ตายแล้วเช่นนี้ เรืองผีกไม่ใชเรืองแปลกอะไร มันเป็นเรืองธรรมดาๆ นีเ้ อง เมือ ่ ็ ่ ่ ่ ผีมาจากคนตาย คนตายกลายเป็นผี ดังนั้น ผีจึงมีชื่อหลาย อย่างต่างๆ กันไปตามภูมิ ตามชั้น ตามฐานะ และภาวะของ คนที่ตาย เช่นคนตายโหง ก็เป็นผีตายโหง คนตายห่าก็เป็นผี ตายห่า คนตายทั้งกลม ก็เป็นผีทั้งกลม ดังนี้เป็นต้น คนโบราณท่านบรรยายชื่อผีไว้มากมาย เช่น ผีภูตใน กาย ผีพลายเร่ร่อน ผีตายโหง ผีตายห่า ผีเขาฆ่า ผีเขาฟัน ผี เขาบัน ผีเขารอน ฝูงผีแม่ลกอ่อน ผีเร่รอนหากิน ผีเอาตีนค�ำฟ้า ่ ู ่ ้ ผีเอาหน้าด�ำดิน ผีหากินกลางคืนกลางวัน ผีตกต้นไม้ควายขวิด ผีตกถ�้ำตกเหว ตกเวหา ผีฟ้าผ่าหลบไม่ทัน ผีตายด้วยค�ำสบถ สาบาน ผีตายด้วยโรคประจ�ำสังขาร ผีตายด้วยหมดอายุ หมด กรรม หมดเวร หมดอาหาร ผีที่ทนทุกข์ทรมานนานๆ จึงตาย ผีเจ้าพ่อ ผีเจ้าแม่ ชอบหมูชอบไก่ เครื่องต้นเครื่องทรง ต้อง บนบานต่างๆนานา ผีที่อยู่ในกายแสนยากล�ำบากเหลือทน ผี คนมีผคนจน ผีซบ ผีซอน ผีนอนบนดิน ผีปลินผีปลอก ผีหลอก ี ั ้ ้ เอาเงิน ผีข้างแม่ ผีข้างพ่อ ผีหอปลูกใหม่ ผีปู่ ผีย่า ผีตา ผียาย ผียะวาย ผีโขมด ผีให้โทษ ผีไร่ ผีนา ผีป่า ผีดง ผีโลง ผีบ้าน ผี ปอบ ผีกระสือ ผีอะไรอีกเยอะแยะมากมายจนนับไม่ถวน ล้วน ้ แต่เกิดจากการสมมติของคนเราทั้งนั้น นึกเอาเองก็แล้วกัน เรืองผีตางๆตามทีกล่าวมาแล้วนัน ดูๆ มันก็ไม่เห็นจะ ่ ่ ่ ้ เป็นของแปลกอะไร ความจริงชือผีตางๆ เหล่านันก็เอาไปจาก ่ ่ ้ พฤติกรรมของคนเรานั้นเอง ท่านที่รักทั้งหลาย คิดดูให้ดีๆ ก็ แล้วกัน เรืองผีไม่ใช่เรืองแปลก เรืองทีแปลกนันคือเรืองของคน ่ ่ ่ ่ ้ ่ กลัวผี คนดีๆ พากันกลัวผีอยู่ได้ ไม่น่า...ไม่น่าเลย พิโธ่ พิถัง อนิจจัง อนัตตา พากันกลัวเงาอยู่ได้ ความจริงแล้ว คนหรือผี ต่างก็มีความกลัวด้วยกันทั้งนั้นแหละ มีธรรมะข้อหนึ่งท่าน กล่าวไว้ว่า “สัตว์ทั้งหลายกลัวต่ออาญา สัตว์ทั้งหลายกลัว ต่อความตาย” คนหรือผีต่างก็เป็นสัตว์ด้วยกัน ต่างแต่ฐานะ และภาวะเท่านั้น ตามหลักทั่วๆ ไปแล้ว ผีมันก็กลัวคนเหมือน กัน สัตว์ทกประเภทต้องมีความกลัวซึงกันและกันอยูในที เช่น ุ ่ ่ คนกลัวผี ผีก็กลัวคน คนกลัวเสือ เสือก็กลัวคน แต่คนเรานี้ แปลก ทั้งที่ได้รับยกย่องให้มีจิตใจสูงกว่าสัตว์ประเภทอื่น แต่ ่ ้ ่ ิ ีิ BANGKOK GARDEN ท�ำบุญเลียงพระ อุทศส่วนกุศลให้คณตาวิศษฐ์ 15 ม.ค. คุณจิราภา ยมาภัย และเพือน ท�ำบุญเลียงพระ เพือเป็นสิรมงคลแก่ชวต ้ ิ ุ ิ
  • 25. แสงธรรม 23 Saeng Dhamma ก็ไม่พ้นโง่ ดันไปกลัวผีเข้าให้ เจ้าผีมันคงหัวเราะเยาะตัวงอไป งอมา ที่คนมีปัญญาไปกลัวมันเข้า สาเหตุที่ท�ำให้คนกลัวผีนั้น มีข้อมูลต่างๆ กัน ข้อ ส�ำคัญก็มาจากความไม่รู้ ความมืดบอด ความไม่เข้าใจ ความ สงสัยลังเล บวกกับความรักชีวิตและกลัวตาย เมื่อไม่มีความรู้ ก็เป็นเหตุให้เข้าใจผิดคิดไปว่า ผีมอำนาจศักดิสทธิ์ มีฤทธิมเี ดช ี� ์ิ ์ ก่อเหตุท�ำอันตรายต่างๆ แก่คนได้ เช่นท�ำให้เจ็บไข้ได้ป่วย หลอกหลอนให้เสียขวัญ ลงโทษทัณฑ์ให้ตกอับ ท�ำให้อาภัพใน การท�ำมาหากิน อะไรอีกร้อยแปดพันเก้า ตามความเข้าใจของ คนที่ไม่รู้ความจริง นี้คือความเข้าใจผิดในเรื่องของผีประเภท ทีให้โทษ ส่วนความเข้าใจผิดในผีทให้คณก็ยงมีอก คือคนทีพวก ่ ี่ ุ ั ี ่ กลัวผีและเชื่อผีนี่แหละ พากันเข้าใจผิดคิดว่าผีเป็นผู้วิเศษ ถ้า ไปอ่อนน้อมยอมตนเป็นคนรับใช้ให้เครื่องเซ่นสรวงสังเวยแก่ มัน จัดสรรปลูกหอตั้งโรงเป็นศาลเจ้าพ่อเจ้าแม่ แล้วแต่ผีจะ ประกาศิตมนุษย์ก็คือท�ำให้แก่มัน ถ้าท�ำดังนั้นจะอยู่ดีมีสุขจะ ร�่ำจะรวยจะถูกหวย ล็อตเตอรี่ มนุษย์อัปรีย์ก็พากันเข้าใจว่า เป็นจริงเป็นจัง น่าชังแท้ๆ คนดีๆ เชื่อผีไม่เข้าเรื่อง นี่แหละคือ ความเข้าใจผิดของคนเราเกี่ยวกับเรื่องผี เมื่อผีมี ๒ ประเภท คือประเภทให้คุณ และประเภทให้โทษ หรือผีประเภทเดียว นันแหละ ถ้าแข็งข้อต่อมันคือไม่ยอมเป็นลูกน้องหรือเป็นเมือง ้ ขึ้นของมัน มันก็ให้โทษ ถ้ายอมท�ำตามประกาศิตของมัน มัน ก็ให้คณ เมือเป็นเช่นนีคนทีกลัวผีและเชือผีจงหาวิธยดผีเป็นที่ ุ ่ ้ ่ ่ ึ ีึ พึ่ง คือยอมเป็นลูกช้างของผีรู้แล้วรู้รอดไป อีกพวกหนึ่งก็กลัว ผีเหมือนกัน แต่จะยอมตนเป็นลูกน้องของผีก็กระไรอยู่ ยังไว้ เชิงครูความเป็นคนจึงคิดค้นหาเวทมนตร์คาถามาไว้กันผี ตามที่พูดเรื่องของผีมาทั้งหมดนี้ พูดตามภาษาของ พวกคนทีเข้าใจผิด คิดว่าผีเป็นเรืองน่าสะพรึงกลัว ไหนๆ ก็พด ่ ่ ู เรื่องผีตามภาษาของคนเข้าใจผิดกันแล้ว ก็จะขอพูดเสียให้ หมดเปลือก และเลือกเอาเฉพาะที่เห็นว่าจ�ำเป็นจะต้องพูด เท่านัน แล้วจะหันมาพูดเรืองผีตามภาษาธรรมะต่อในภายหลัง ้ ่ โบราณกล่าวไว้ว่า “หมองูตายเพราะงู หมอผีตายเพราะผี” คิดดูให้ดีก็มีเหตุผล สัญชาตญาณของคนเรานั้นมีความกลัว ประจ�ำสันดาน ความกลัวอื่นจะไม่กล่าวยกไว้ จะได้กล่าวถึง ความกลัวผีของคน เมื่อเกิดความกลัวขึ้นมา ก็ต้องหาวิธี ป้องกันความกลัว กลัวอะไรก็ต้องป้องกันอันนั้น กลัวผีก็ต้อง ป้องกันผี เมื่อชุมชนกลัวผีกันมาก ความอยากเป็นหมอผีก็มี มาเป็นเงาตามตัว ฉะนัน จึงเกิดมีคนหัวแหลมตังตัวเป็นหมอผี ้ ้ กันขึ้นโดยกลอุบายอันแยบคาย ท่านทั้งหลายโปรดท�ำความ เข้าใจกันตรงนี้ให้ดี “เมื่อมีคนพากันกลัวผี หมอผีก็เกิดขึ้น” ถ้าหากคนไม่พากันกลัวผี หมอผีจะมีได้อย่างไร ในบรรดา หมอผีเหล่านั้น กล่าวโดยสรุปก็มีอยู่ ๒ ประเภท ด้วยกัน ประเภทหนึงรับเป็นตัวแทนติดต่อเจรจากับผี อีกประเภทหนึง ่ ่ ตังตัวเป็นศัตรูกบผีโดยตรง ไม่ยอมเจรจาด้วยต้องปราบให้สน ้ ั ิ้ ซากพวกผีนี้เอาไว้ไม่ได้ ประเภทแรกนั้น ได้แก่พวกทรงเจ้าเข้าผี เสี่ยงทาย ท�ำนายด้วยวิธีการต่างๆ นั่งข้างในหรือนั่งทางใจ ไหว้วอน ั ุ ๊ ้ สุ ข สั น ต์ วั น เกิ ด แด่ คุ ณ ตาล ธิ นี ภ รณ์ “ยิ้ ม สดใส ใจดี มี ค วามสุ ข ” โดยครอบครั ว วิ ริ ย ะ สุขสันต์วนเกิดแด่คณจีด กษิมา-น้องหลุยส์ “ยิมละไม ใจละมุน บุญรักษา”