SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  60
นายประภัทร์ กุด
หอม
นายวัฒนา คำาภูษา 55632227109
 การเจริญเติบโต
 พัฒนาการ
 การเปลียนแปลงเนืองมาจาก
         ่        ่
  พัฒนาการ
 หลักพัฒนาการ
 ทฤษฎีพฒนาการ
         ั
พัฒนาการ
   (Development)
การเปลี่ยนแปลงของบุคคล
ในทุก ๆ ด้านตามระยะเวลา
ที่เปลี่ยนไป การ
เปลี่ยนแปลงนั้นเป็นผลมา
จาก ระบบชีววิทยาในตัว
การเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อม
การเจริญเติบโต
การเปลี่ยนแปลงด้านขนาด
ส่วนสูง นำ้าหนัก และ
สัดส่วนในร่างกายของ
บุคคล ซึ่งเป็นการ
เปลียนแปลงในแง่ทเจริญ
     ่                ี่
ขึ้น ดีขึ้นตามอายุที่เพิ่มขึ้น
วุฒภาวะ
            ิ
         (Maturation)
หมายถึง รูปแบบพฤติกรรมในเชิงชีววิทยาที่
มีความสัมพันธ์กับอายุ โดยการเปลี่ยนแปลง
ในแบบพฤติกรรมเหล่านี้จะได้รับการตั้งโปรม
แกรมโดยยีนส์ ซึ่งได้รวมถึงควาสามารถทาง
กายและความสามารถทางด้านความคิด
การเรียนรู้ (Learning)
หมายถึง รูปแบบการแปลง
 พฤติกรรมที่เป็นผลมาจาก
 การฝึกฝนและการฝึกหัด การ
 เรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่อมี
 วุฒิภาวะเป็นพืนฐาน โดยเด็ก
                  ้
 ทีมีวุฒิภาวะแล้วจะได้รับการ
   ่
การเปลี่ยนแปลงเนื่องมา
   จากพัฒนาการ
1. การเปลี่ยนแปลงด้าน
ขนาด
2. การเปลี่ยนแปลงด้าน
สัดส่วน
 3. การเปลียนแปลงที่เกิด
             ่
ขึ้นทำาให้ลกษณะเก่า ๆหาย
           ั
พัฒนาการ 4 ด้าน
1. พัฒนาการทางกาย
2. พัฒนาการทางสติ
ปัญญา
3. พัฒนาการทาง
อารมณ์
หลักของพัฒนาการ Principle of
  Development
อาร์โนลด์ จีเซลล์ ได้สรุปหลักของ
   พัฒนาการของมนุษย์
1.พัฒนาการของมนุษย์มีทิศทาง (Principle of
  Directions)

    - ทิศทางจากส่วนบนลงสู่สวนกลาง
                                ่
  (Cephalocaudal Law) เป็นการพัฒนาใน
  แนวดิง โดยยึดศีรษะเป็นอวัยวะหลัก
          ่
  คือ อวัยวะใดที่อยู่ใกล้ศรษะมากที่สด
                             ี       ุ
  บุคคลก็จะสามารถควบคุมการ
  ทำางานของอวัยวะส่วนนั้นได้ก่อน
หลักของพัฒนาการ Principle of
    Development

   ทิศทางจากส่วนใกล้ไปสู่ส่วนไกล
    (Proximodistal Law) เป็นการพัฒนา
    ในแนวขวาง โดยยึดลำาตัวเป็น
    อวัยวะหลัก คืออวัยวะใดก็ตามที่
    อยูใกล้ร่างกายมากทีสุดจะ
       ่                    ่
    สามารถควบคุมได้ก่อนส่วนอื่น ๆ
    ดังนันเด็กจึงขยับร่างกายได้ก่อน
         ้
    ส่วนอื่น ๆ
2. พัฒนาการของมนุษย์มี
    ลักษณะต่อเนื่อง (Principle of
           Continuity)
   พัฒนาการใดด้านใดก็ตามต้อง
    อาศัยระยะเวลาและความต่อ
    เนืองอย่างค่อยเป็นค่อย ไป
        ่
    ไม่ใช่เกิดได้โดยฉับพลันทันที
    ทันใด โดยเริ่มพัฒนาการ
    ตั้งแต่วัยเด็ก และพัฒนาการ
    ถึงขีดสุดในวัยผู้ใหญ่ และ
    เสื่อมลงเมื่อถึงวัยชราตาม
3. พัฒนาการของมนุษย์เป็นไป
              ตามลำาดับขั้น
     (Principle of Developmental Sequence)

   พัฒนาการของสิ่งต่าง ๆ ทั้ง
    หลายต่างก็มีแบบแผนเฉพาะ
    ของตน เมื่อพัฒนาการมี
    ลักษณะต่อเนื่อง ดังนั้นจึงไม่
    สามารถที่จะข้ามขั้นได้ และเป็น
    ไปตามลำาดับขั้นตอนตาม
    ธรรมชาติ ตัวอย่างเช่น เด็กจะ
4. พัฒนาการของมนุษย์ต้องอาศัย
       วุฒิภาวะและการเรียนรู้
      (Principle of Maturation and Learning)

   วุฒิภาวะนั้นเป็นความพยายามขั้น
    ต้นของสิ่งมีชีวิตในการจัดระบบ
    เพื่อเตรียม ให้ได้มาซึ่ง
    ประสบการณ์ตาง ๆ อันยัง
                    ่
    ประโยชน์ให้กับตนเอง ส่วนการ
    เรียนรู้เป็นการเพิ่มความชำานาญ
5.   พัฒนาการของมนุษย์แต่ละบุคคล
           มีอัตราแตกต่างกัน
       (Principle of Individual Growth Rate)

 ช่วงชีวิตของแต่ ละบุคคลนั้น
  จะมีความถึงพร้อมซึงวุฒิ
                     ่
  ภาวะแตกต่างกัน เช่น ในเด็ก
  หญิงจะถึงวุฒิภาวะของความ
  เป็นสาวเร็วกว่าการถึงวุฒิ
  ภาวะความเป็นหนุ่ม ของเด็ก
สรุปลักษณะเด่นของ
พัฒนาการ
1. พัฒนาการเป็นไปตามแบบฉบับของตัว
เอง
2. พัฒนาการไม่ว่าด้านใดก็ตามจะเริ่มจาก
ส่วนใหญ่ไปหาส่วนย่อย ๆ
3. พัฒนาการทั้งหลายเป็นสิ่งที่ต่อเนื่องกัน
ไป
4. อัตราพัฒนาการของบุคคลจะแตกต่าง
กันไป
5. คุณลักษณะต่าง ๆ ของพัฒนาการจะมี
ความสัมพันธ์กัน
พัฒนาการในวัย
          ต่าง ๆ
วัยทารก
      จะมีชวงเวลาตั้งแต่แรกเกิด – 2 ปี
           ่
   วัยทารกยังเป็นวัยที่ยงช่วยเหลือตัว
                         ั
   เองไม่ได้ ต้องอาศัยความช่วยเหลือ
   จากบุคคลอื่น วัยนี้มการเจริญเติบโต
                       ี
   อย่างรวดเร็ว และเห็นพัฒนาการทาง
   ด้านร่างกายอย่างชัดเจน สิงที่สำาคัญ
                             ่
   คือการพัฒนากล้ามเนื้อ
วัยเด็ก
  วัยเด็ก เป็นวัยที่อยู่ในช่วงอายุ 2 – 11 ปี มี
 การพัฒนากล้ามเนื้อทีใช้ในการเล่นมักมี
                          ่
  พฤติกรรมเลียนแบบผู้ใหญ่ทอยู่ใกล้ตัว
                                 ี่
 พัฒนาการทางสติปัญญาจะก้าวหน้าอย่าง
        รวดเร็วในตอนปลายของวัย
 วัยเด็กจะมีการพัฒนาเอกลักษณ์ของตนเอง
(Identification) เด็กจะรับเอาทัศนคติและ
            พฤติกรรมจากพ่อแม่
  พฤติกรรมทางสังคม เด็กจะมีความสัมพันธ์
วัยรุ่น
    การเข้าสู่วยรุนของเด็กชายและเด็กหญิงแตก
               ั ่
ต่างกัน เด็กชายจะมีอายุประมาณ 13 ปี ส่วน
เด็กหญิงจะมีอายุประมาณ 11 ปี ทั้งนี้เพราะผู้
หญิงโตเร็วกว่าผู้ชาย กว่า 2 ปี และจะสิ้นสุด
เมื่ออายุ 18-20 ปี
    พัฒนาการทางกายมีการเจริญเติบโตอย่าง
รวดเร็ว เด็กผู้หญิงเริ่มมีประจำาเดือน เด็กผู้ชาย
เริ่มฝันเปียก มีลักษณะเป็นวัยหนุ่มวัยสาว
วัยรุ่น
     การสร้างมิตรภาพ วัยรุ่นมักชอบเพื่อน
ทีมีบุคลิกภาพและความสนใจเดียวกัน วัย
   ่
รุ่นชายจะพัฒนาความสัมพันธ์โดยการทำา
     กิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน ผูหญิงพัฒนา
                              ้
ความสัมพันธ์โดยการติดต่อสื่อสารซึ่งกัน
                   และกัน
     วัยรุนเป็นวัยหนึ่งเป็นวัยทีมีปัญหา ซึ่ง
          ่                     ่
   อาจจะพบปัญหาการฆ่าตัวตายในวัยรุ่น
อันเป็นมาจากการซึมเศร้า และความรู้สก       ึ
วัยผูใหญ่
               ้
  วัยผู้ใหญ่แบ่งออกเป็น 3 ช่วง
อายุ คือ
1 วัยผู้ใหญ่ตอนต้น อายุ 18-45 ปี
2 วัยกลางคน อายุ 45-65 ปี
3 วัยชรา หรือผู้ใหญ่ตอนปลาย
อายุ 65 ปีขึ้นไป
พัฒนาการทางกาย
   วัยผู้ใหญ่ตอนต้น จัดว่าเป็นระยะที่ดีที่สด
                                           ุ
ของชีวต ร่างกายมีการเจริญเติบโตมากที่สดตอน
       ิ                                ุ
    อายุ 20 ปี มีความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
    วัยกลางคน ร่างกายจะเริ่มค่อย ๆ เสื่อมลง
             จากวัยผู้ใหญ่ตอนต้น
  วัยชรา กระบวนการเสือมในร่างกายเมกปราก
                        ่
ฎอย่างรวดเร็ว ร่างกายจะสูญเสียความสามารถที่
          ปกป้องตนเองจากโรคต่าง ๆ
พัฒนาการทางสังคมและ
บุคลิกภาพของผู้ใหญ่
    วัยผู้ใหญ่เป็นวัยที่ประสบ
 ความสำาเร็จในงานอาชีพ
 จะเพิ่มมากขึนในระหว่าง
               ้
 20-40 ปี บุคคลจะมี
 ประสบการณ์ในการจัดการ
 กับสถานการณ์ต่าง ๆ ใน
 ชีวตประจำาวันและการงาน
     ิ
 อาชีพสิงเหล่านี้จะมีผลต่อ
           ่
 บุคลิกภาพของบุคคลในวัย
การแต่งงานและการมี
  ครอบครัว
   ผู้ใหญ่ตอนต้น
เป็นวัยที่จัดว่าเป็น
ช่วงของการสร้าง
ความสนิทสนมกับ
เพือนต่างเพศคนใด
   ่
คนหนึ่ง ซึงมักจะนำา
            ่
มาสูการแต่งงาน
      ่
และต่อมาก็คือการมี
การเกษียณอายุ
     การเกษียณอายุมีอยู่ 6 ระยะด้วยกัน
1 ระยะก่อนการเกษียณอายุ
2 ระยะของการมีความสุข
3 ระยะของการหมดความสุข
4 ระยะการปรับตัวอีกครั้ง
5 ระยะความมั่นคง
6 ระยะสุดท้าย
บุคคลในวัยชรามี
  ลักษณะดังนี้
1 โครงสร้างของร่างกาย
   เปลี่ยนแปลง
2 จุกจิกจู้จี้ ขี้บ่น
3 หลงลืมได้ง่าย
4 ขี้น้อยใจ
5 เจ็บป่วยได้ง่าย
จุดจบของชีวิต (การ
       ตาย)
1 การปฏิเสธ
2 ความโกรธ
3 อาการที่บุคคลคาดหวังว่าจะ
ต่อรองได้
4 ความซึมเศร้า
5 การยอมรับ
ทฤษฎีพัฒนาการ
1. ทฤษฎีพัฒนาการของ
ฟรอยด์
2. ทฤษฎีพัฒนาการของ
เพียเจท์
 3. ทฤษฎีพัฒนาการของ
อีริคสัน
ทฤษฎีการพัฒนา
    ของฟรอยด์
พัฒนาการความต้องการทาง
เพศและบุคลิกภาพของบุคคล
ต้องอาศัยการพัฒนาที่ตอเนื่อง
                       ่
อย่างเป็นลำาดับขั้นจนกลายเป็น
บุคลิกภาพที่ถาวรในที่สุด
พัฒนาการแต่ละขั้นเป็นการ
ตอบสนองความสุขความพึง
ลำาดับขั้นพัฒนาการของซิ
กมันด์ฟรอยด์
1. ขั้นพึงพอใจทางปาก
(Oral Stage)
2. ขั้นพึงพอใจทางทวาร
(Anal Stage)
 3. ขั้นสนใจอวัยวะเพศของ
ตน (Phallic)
ตังแต่แรกเกิดถึงประมาณ
  ้
    1-2 ปี เด็กจะชอบ ดูด กัด
    อม เช่น ดูดนม กัดแทะของ
    เล่น ดูดนิ้ว เล่นนำ้าลาย และ
    ทำาเสียงต่าง ๆ
ถ้าถูกขัดขวางจะเกิด Oral
อยู่ในช่วงอายุ 2-3 ปี ระยะนี้
 เด็กจะพึงพอใจกับการขับ
 ถ่าย การฝึกการขับถ่ายควร
 ทำาค่อยเป็นค่อยไปด้วย
 ความอ่อนโยนอย่าบังคับ ถ้า
 เกิดการติดตรึงจะทำาให้ เป็น
 พวกชอบสะสมของ หวงของ
อยูระหว่าง 3-5 ปี เด็กจะมีความ
     ่
 พึงพอใจกับการได้สมผัสอวัยวะ
                     ั
 เพศของตนเองถ้าไม่ได้รับการ
 ตอบสนองจะเกิดความแปรปรวน
 ทางเพศขึ้นในวัยผูใหญ่
                  ้
ชาย = ปมออดิปุส            หญิง
 = ปมอิเล็กตรา
อายุ 6 -12 ปี ระยะนี้จะเป็น
 ระยะพักเด็กจะเริ่มแสวงหา
 บทบาทที่เหมาะสมให้กับ
 ตนเอง ชอบเล่นในกลุม    ่
 เพศเดียวกัน เล่นกีฬา เล่น
 เกม และกิจกรรมต่าง ๆที่
อายุตั้งแต่ 13 ปีขึ้นไป ถ้า
 เด็กผ่านขั้นอวัยวะเพศ
 ไปได้อย่างราบรื่น เด็กจะ
 แสดงบทบาทความเป็น
 ชายและหญิงตรงตาม
 เพศของตน
ทฤษฎีการพัฒนา
 ของเพียเจท์
1. ขั้นใช้อวัยวะสัมผัสและ
กล้ามเนื้อ
2. ขั้นเริ่มคิดเริ่มเข้าใจ
 3. ขั้นคิดออกเองโดยไม่
ต้องใช้เหตุผล
4. ขั้นใช้ความคิดเชิงรูป
ตั้งแต่แรกเกิดถึง 2 ปี เป็นวัยทีเริ่ม
                                ่
   เรียนรู้โดยใช้ประสาทสัมผัสและ
   การเคลื่อนไหวของร่างกายเพื่อ
   ตอบสนองสิ่งแวดล้อมเด็กที่
   สามารถใช้ประสาทสัมผัสกับสิง      ่
   แวดล้อมได้มากเท่าใดก็จะช่วย
   พัฒนาเชาวน์ปัญญาของเด็กได้
อายุตั้งแต่ 2-4 ขวบ เริ่มเรียน
 รู้การใช้ภาษาเรียกสิ่งของ
 เช่น ข้าว นม เป็นต้น
อายุ 4 -7 ปี เชือตัวเองไม่ยอม
                ่
 เปลี่ยนความคิด หรือเชื่อใน
 เรื่องการทรงภาวะเดิมของ
 วัตถุ
   ก            ข
อายุ 7 – 11 ปี เป็นระยะทีเด็ก
                          ่
  สามารถคิดอย่างมีเหตุผลใน
  เรื่องทีเป็นรูปธรรม ถ้าให้วาด
          ่
  ภาพครอบครัวของฉัน เด็กใน
  วัยนีจะสามารถวางภาพได้ใกล้
        ้
  เคียงความเป็นจริง จัดหมวด
  หมู่ได้ เรียงลำาดับได้
เด็กอายุระหว่าง 11 ถึง 15 ปี
  เด็กจะเริ่มคิดได้แบบผู้ใหญ่
  สามารถเข้าใจสิ่งที่เป็น
  นามธรรมได้ คิดตั้ง
  สมมติฐานและสร้างทฤษฎี
  แบบนักวิทยาศาสตร์ได้ เป็น
  ตัวของตนเอง ต้องการความ
ทฤษฎีการพัฒนาของ
     อีริคสัน
1. ขันไว้ใจกับไม่ไว้ใจผูอื่น
      ้                    ้
2. ขันทีมีความอิสระกับความ
        ้ ่
สงสัย
    3. ขั้นความคิดริเริ่มกับความ
รู้สึกผิด
4. ขันขยันหมั่นเพียรกับความ
         ้
รู้สึกมีปมด้อย
5. ขันเข้าใจเอกลักษณ์ของ
           ้
ตังแต่แรกเกิดจนถึง 1 ปี ถ้าเด็ก
  ้
    ได้รับความรัก ความอบอุ่น และ
    การดูแลจากคนใกล้ชิด เด็กโต
    ขึ้นก็จะเกิดความรู้สึกไว้วางใจ
    สังคม แต่ถ้าไม่ไเด็รับพ่อแม่ ก ้
    ผู้ที่มีบทบาทกับ ด้ ก ความรัผู
    ความอบอุ่น เมื่อโตขึ้นก็จะหลีก
           ปกครอง หรือพี่เลี้ยง
    หนีสังคม
อายุ 2-3 ปี เด็กจะเรียนรู้การ
   เดิน การพูด และทำาอะไรตาม
   อิสระ พ่อแม่ควรให้อิสระกับ
   เด็กในการทำากิจกรรมต่าง ๆ
   ด้วยตนเองพยายามให้เด็ก
   ช่วยเหลือตนเองให้มากที่สุด
   ไม่ข่มขู่ลงโทษเมื่อเด็กทำาผิด
ผู้มีบทบาท พ่อเด็กจะเกิ้เลี้ยงดู
   อย่างรุนแรง  แม่และผูดความ
อายุ 3 - 5 ปี เด็กจะใช้ของเล่น
       ทดแทนจินตนาการ โดยนำา
       ของเล่นรวมกันแล้วสร้างเป็น
       เรื่องราวขึ้นมา เด็กพอใจที่จะ
       เลียนแบบพฤติกรรมผู้ใหญ่ที่
       ใกล้ชิด ดังนั้นหากพ่อแม่
ผู้ทมีบทบาทคือ้ยงดูยอมรับผลงาน
    ี่ และคนเลี บุคคลในครอบครัว
อายุ 6-11 ปี เด็กในวัยนีไม่อยูนง
                        ้       ่ ิ่
  ชอบเขียน อ่าน ทำาในสิ่งทีตน ่
  อยากทำาขยันในการทำางานต่าง ๆ
  และภาคภูมิใจในผลงานทีได้รับ
                            ่
  ความสำาเร็จเนืองจากความ
                 ่
  พยายามของตน ผูใหญ่ต้องไม่
                      ้
  คาดหวัทบาท เด็กสูงเกินไป จน
   ผู้มีบ งในตัว พ่อแม่ ครู และ
อายุ 12-18 ปี ช่วงนีถือเป็นช่วง
                     ้
  วิกฤตมากที่สด เมือเด็กเกิด
                 ุ     ่
  ปัญหาใด ๆ ขึ้น เขาจะเกิด
  ความสับสนว่าควรจะเชื่อใครดี
  ระหว่างพ่อแม่ ตนเอง หรือ
  เพื่อน เด็กวัยนีคือการแสวงหา
                   ้
  ตนเองเพื่อให้รู้จักตนเองในแง่
  มุมต่าง ๆ
วัยผูใหญ่ตอนต้น เริ่มนัดหมาย
      ้
   การแต่งงานและชีวิตครอบครัว
   ถ้าหากว่าแต่ละคนได้พัฒนา
   ความเข้าใจเอกลักษณ์ตนเองดี
   พอ แต่ถ้าบุคคลใดไม่สามารถ
   ผ่านขั้นนีไปได้ จะกลายเป็นคน
             ้
   รักตนเองและไม่สามารถจะ
   แสดงความรักต่อผู้อื่นได้
ระยะวัยกลางคนเป็นระยะที่
จะคอยให้ความช่วยเหลือคน
รุ่นหลังสำาหรับผู้ที่ผ่านขั้น
พัฒนาการต้น ๆ มาเป็นอย่าง
ดี แต่ถ้าบุคคลใดไม่สามารถ
แก้ปัญหาขัดแย้งในอดีตของ
ตนได้จะกลายเป็นคนชอบ
วัยชรา เขาจะมีความไว้วางใจ
  เพื่อนร่วมโลกและตัวเองถ้า
  เขามีความทรงจำาในด้านความ
  สุขความสบายใจ แต่ถ้าเขามี
  ความทรงจำาเกี่ยวกับความผิด
  หวังตลอดเวลาเขาก็ไม่มีความ
  สุขในชีวิต
ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม
      ของโคห์ลเบิร์ก
       (Kohlberg’s Moral Development)
   เป็นทฤษฎีทมีแนวคิดพื้นฐาน
                ี่
    มาจากทฤษฎีพัฒนาการทาง
    เชาวน์ปัญญาของเพียเจต์ โดย
    ได้ขยายขอบเขตงานวิจัยให้
    ครอบคลุมกว้างขวางมากยิงขึ้น
                            ่
    โคห์ลเบิร์กได้สรุปทฤษฎี
    พัฒนาการทางจริยธรรมของ
ระดับที่ 1 ระดับก่อนเกณฑ์ทาง
              สังคม
            (Pre-conventional Level)
   เด็กจะรับรู้ถึงกฎเกณฑ์ที่ดีและไม่ดีจากคนที่มี
    อิทธิพลเหนือตน เช่น พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู หรือ
    เด็กที่โตกว่า และจะนึกถึงรางวัลและการลงโทษ
    เป็นส่วนประกอบในการแสดงพฤติกรรม
   ขั้นของการลงโทษและเชือฟัง (Punishment and
                              ่
   obedience orientation)
แรกเกิดถึง 7 ปี เป็นหลักของการใช้เหตุผลของการแสดงพฤติกรรมเป็น
    เครื่องช่วยตัดสินว่าถูกหรือ
2. ขั้นการแสวงหารางวัล (Naively egoistic orientation)
ระดับที่ 2 ระดับแสดงจริยธรรมตาม
  กฎเกณฑ์ของสังคม (Conventional
                               Level)
 การแสดงออกของพฤติกรรมทีเป็นไป   ่
  ตามความคาดหวัง ของสังคมที่เป็น
  สมาชิกอยู่ โดยในขั้นนี้เด็กจะไม่คำานึง
  ถึงรางวัลหรือการลงโทษแล้ว แต่จะ
  ยึดถือมาตรฐานที่สังคมกำาหนด
1.ขั้นทำาตามเพื่อเพื่อนและสิงทีสังคม
                            ่ ่
  ยอมรับ
(Interpersonalconcordance of “Goodboy-Nicegirl” orientation)
ระดับที่ 3 ระดับจริยธรรมเหนือกฎ
  เกณฑ์ทางสังคม (Post-conventional
                        Level)
  พฤติกรรมเกิดจากการใชวิจารณญาณของ
   ตนเป็นมาตรฐานในการตัดสิน การปฏิบัติ
   โดยปราศจากอิทธิพลของบุคคลและสิ่ง
   แวดล้อมในสังคมเข้ามาเกี่ยวข้อง
 ขั้นทำาตามสัญญา (Social contract orientation)
   เป็นขั้นหลักการมีเหตุผลและเคารพตนเอง
   อยู่ในช่วงอายุ 16 ปีขึ้นไป
2. ขั้นอุดมคติสากล (Universal ethical principle orient
   ation)กฎระเบียบของสังคม และทำาหน้าที่
สวัสดี

Contenu connexe

Tendances

แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2teerachon
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3teerachon
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์kruood
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติNU
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 

Tendances (20)

แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติ
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 

Similaire à พัฒนาการของมนุษย์

02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการaaesahasmat
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการrorsed
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2pattamasatun
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2pattamasatun
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2New Born
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2ya035
 
Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์afafasmataaesah
 
Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์afafasmataaesah
 
273684 ch2 พฤติกรรมทางเพศ
273684 ch2 พฤติกรรมทางเพศ273684 ch2 พฤติกรรมทางเพศ
273684 ch2 พฤติกรรมทางเพศNan Natni
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1New Born
 
Child Development
Child DevelopmentChild Development
Child Developmentguestb5cdc4
 
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตpangboom
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurstya035
 

Similaire à พัฒนาการของมนุษย์ (20)

02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์
 
Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
273684 ch2 พฤติกรรมทางเพศ
273684 ch2 พฤติกรรมทางเพศ273684 ch2 พฤติกรรมทางเพศ
273684 ch2 พฤติกรรมทางเพศ
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
3
33
3
 
Child Development
Child DevelopmentChild Development
Child Development
 
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 

พัฒนาการของมนุษย์

  • 2.  การเจริญเติบโต  พัฒนาการ  การเปลียนแปลงเนืองมาจาก ่ ่ พัฒนาการ  หลักพัฒนาการ  ทฤษฎีพฒนาการ ั
  • 3. พัฒนาการ (Development) การเปลี่ยนแปลงของบุคคล ในทุก ๆ ด้านตามระยะเวลา ที่เปลี่ยนไป การ เปลี่ยนแปลงนั้นเป็นผลมา จาก ระบบชีววิทยาในตัว การเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อม
  • 4. การเจริญเติบโต การเปลี่ยนแปลงด้านขนาด ส่วนสูง นำ้าหนัก และ สัดส่วนในร่างกายของ บุคคล ซึ่งเป็นการ เปลียนแปลงในแง่ทเจริญ ่ ี่ ขึ้น ดีขึ้นตามอายุที่เพิ่มขึ้น
  • 5. วุฒภาวะ ิ (Maturation) หมายถึง รูปแบบพฤติกรรมในเชิงชีววิทยาที่ มีความสัมพันธ์กับอายุ โดยการเปลี่ยนแปลง ในแบบพฤติกรรมเหล่านี้จะได้รับการตั้งโปรม แกรมโดยยีนส์ ซึ่งได้รวมถึงควาสามารถทาง กายและความสามารถทางด้านความคิด
  • 6. การเรียนรู้ (Learning) หมายถึง รูปแบบการแปลง พฤติกรรมที่เป็นผลมาจาก การฝึกฝนและการฝึกหัด การ เรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่อมี วุฒิภาวะเป็นพืนฐาน โดยเด็ก ้ ทีมีวุฒิภาวะแล้วจะได้รับการ ่
  • 7. การเปลี่ยนแปลงเนื่องมา จากพัฒนาการ 1. การเปลี่ยนแปลงด้าน ขนาด 2. การเปลี่ยนแปลงด้าน สัดส่วน 3. การเปลียนแปลงที่เกิด ่ ขึ้นทำาให้ลกษณะเก่า ๆหาย ั
  • 8. พัฒนาการ 4 ด้าน 1. พัฒนาการทางกาย 2. พัฒนาการทางสติ ปัญญา 3. พัฒนาการทาง อารมณ์
  • 9. หลักของพัฒนาการ Principle of Development อาร์โนลด์ จีเซลล์ ได้สรุปหลักของ พัฒนาการของมนุษย์ 1.พัฒนาการของมนุษย์มีทิศทาง (Principle of Directions) - ทิศทางจากส่วนบนลงสู่สวนกลาง ่ (Cephalocaudal Law) เป็นการพัฒนาใน แนวดิง โดยยึดศีรษะเป็นอวัยวะหลัก ่ คือ อวัยวะใดที่อยู่ใกล้ศรษะมากที่สด ี ุ บุคคลก็จะสามารถควบคุมการ ทำางานของอวัยวะส่วนนั้นได้ก่อน
  • 10. หลักของพัฒนาการ Principle of Development  ทิศทางจากส่วนใกล้ไปสู่ส่วนไกล (Proximodistal Law) เป็นการพัฒนา ในแนวขวาง โดยยึดลำาตัวเป็น อวัยวะหลัก คืออวัยวะใดก็ตามที่ อยูใกล้ร่างกายมากทีสุดจะ ่ ่ สามารถควบคุมได้ก่อนส่วนอื่น ๆ ดังนันเด็กจึงขยับร่างกายได้ก่อน ้ ส่วนอื่น ๆ
  • 11. 2. พัฒนาการของมนุษย์มี ลักษณะต่อเนื่อง (Principle of Continuity)  พัฒนาการใดด้านใดก็ตามต้อง อาศัยระยะเวลาและความต่อ เนืองอย่างค่อยเป็นค่อย ไป ่ ไม่ใช่เกิดได้โดยฉับพลันทันที ทันใด โดยเริ่มพัฒนาการ ตั้งแต่วัยเด็ก และพัฒนาการ ถึงขีดสุดในวัยผู้ใหญ่ และ เสื่อมลงเมื่อถึงวัยชราตาม
  • 12. 3. พัฒนาการของมนุษย์เป็นไป ตามลำาดับขั้น (Principle of Developmental Sequence)  พัฒนาการของสิ่งต่าง ๆ ทั้ง หลายต่างก็มีแบบแผนเฉพาะ ของตน เมื่อพัฒนาการมี ลักษณะต่อเนื่อง ดังนั้นจึงไม่ สามารถที่จะข้ามขั้นได้ และเป็น ไปตามลำาดับขั้นตอนตาม ธรรมชาติ ตัวอย่างเช่น เด็กจะ
  • 13. 4. พัฒนาการของมนุษย์ต้องอาศัย วุฒิภาวะและการเรียนรู้ (Principle of Maturation and Learning)  วุฒิภาวะนั้นเป็นความพยายามขั้น ต้นของสิ่งมีชีวิตในการจัดระบบ เพื่อเตรียม ให้ได้มาซึ่ง ประสบการณ์ตาง ๆ อันยัง ่ ประโยชน์ให้กับตนเอง ส่วนการ เรียนรู้เป็นการเพิ่มความชำานาญ
  • 14. 5. พัฒนาการของมนุษย์แต่ละบุคคล มีอัตราแตกต่างกัน (Principle of Individual Growth Rate)  ช่วงชีวิตของแต่ ละบุคคลนั้น จะมีความถึงพร้อมซึงวุฒิ ่ ภาวะแตกต่างกัน เช่น ในเด็ก หญิงจะถึงวุฒิภาวะของความ เป็นสาวเร็วกว่าการถึงวุฒิ ภาวะความเป็นหนุ่ม ของเด็ก
  • 15. สรุปลักษณะเด่นของ พัฒนาการ 1. พัฒนาการเป็นไปตามแบบฉบับของตัว เอง 2. พัฒนาการไม่ว่าด้านใดก็ตามจะเริ่มจาก ส่วนใหญ่ไปหาส่วนย่อย ๆ 3. พัฒนาการทั้งหลายเป็นสิ่งที่ต่อเนื่องกัน ไป 4. อัตราพัฒนาการของบุคคลจะแตกต่าง กันไป 5. คุณลักษณะต่าง ๆ ของพัฒนาการจะมี ความสัมพันธ์กัน
  • 16.
  • 17. พัฒนาการในวัย ต่าง ๆ วัยทารก จะมีชวงเวลาตั้งแต่แรกเกิด – 2 ปี ่ วัยทารกยังเป็นวัยที่ยงช่วยเหลือตัว ั เองไม่ได้ ต้องอาศัยความช่วยเหลือ จากบุคคลอื่น วัยนี้มการเจริญเติบโต ี อย่างรวดเร็ว และเห็นพัฒนาการทาง ด้านร่างกายอย่างชัดเจน สิงที่สำาคัญ ่ คือการพัฒนากล้ามเนื้อ
  • 18.
  • 19.
  • 20. วัยเด็ก วัยเด็ก เป็นวัยที่อยู่ในช่วงอายุ 2 – 11 ปี มี การพัฒนากล้ามเนื้อทีใช้ในการเล่นมักมี ่ พฤติกรรมเลียนแบบผู้ใหญ่ทอยู่ใกล้ตัว ี่ พัฒนาการทางสติปัญญาจะก้าวหน้าอย่าง รวดเร็วในตอนปลายของวัย วัยเด็กจะมีการพัฒนาเอกลักษณ์ของตนเอง (Identification) เด็กจะรับเอาทัศนคติและ พฤติกรรมจากพ่อแม่ พฤติกรรมทางสังคม เด็กจะมีความสัมพันธ์
  • 21.
  • 22. วัยรุ่น การเข้าสู่วยรุนของเด็กชายและเด็กหญิงแตก ั ่ ต่างกัน เด็กชายจะมีอายุประมาณ 13 ปี ส่วน เด็กหญิงจะมีอายุประมาณ 11 ปี ทั้งนี้เพราะผู้ หญิงโตเร็วกว่าผู้ชาย กว่า 2 ปี และจะสิ้นสุด เมื่ออายุ 18-20 ปี พัฒนาการทางกายมีการเจริญเติบโตอย่าง รวดเร็ว เด็กผู้หญิงเริ่มมีประจำาเดือน เด็กผู้ชาย เริ่มฝันเปียก มีลักษณะเป็นวัยหนุ่มวัยสาว
  • 23. วัยรุ่น การสร้างมิตรภาพ วัยรุ่นมักชอบเพื่อน ทีมีบุคลิกภาพและความสนใจเดียวกัน วัย ่ รุ่นชายจะพัฒนาความสัมพันธ์โดยการทำา กิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน ผูหญิงพัฒนา ้ ความสัมพันธ์โดยการติดต่อสื่อสารซึ่งกัน และกัน วัยรุนเป็นวัยหนึ่งเป็นวัยทีมีปัญหา ซึ่ง ่ ่ อาจจะพบปัญหาการฆ่าตัวตายในวัยรุ่น อันเป็นมาจากการซึมเศร้า และความรู้สก ึ
  • 24.
  • 25. วัยผูใหญ่ ้ วัยผู้ใหญ่แบ่งออกเป็น 3 ช่วง อายุ คือ 1 วัยผู้ใหญ่ตอนต้น อายุ 18-45 ปี 2 วัยกลางคน อายุ 45-65 ปี 3 วัยชรา หรือผู้ใหญ่ตอนปลาย อายุ 65 ปีขึ้นไป
  • 26.
  • 27. พัฒนาการทางกาย วัยผู้ใหญ่ตอนต้น จัดว่าเป็นระยะที่ดีที่สด ุ ของชีวต ร่างกายมีการเจริญเติบโตมากที่สดตอน ิ ุ อายุ 20 ปี มีความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ วัยกลางคน ร่างกายจะเริ่มค่อย ๆ เสื่อมลง จากวัยผู้ใหญ่ตอนต้น วัยชรา กระบวนการเสือมในร่างกายเมกปราก ่ ฎอย่างรวดเร็ว ร่างกายจะสูญเสียความสามารถที่ ปกป้องตนเองจากโรคต่าง ๆ
  • 28. พัฒนาการทางสังคมและ บุคลิกภาพของผู้ใหญ่ วัยผู้ใหญ่เป็นวัยที่ประสบ ความสำาเร็จในงานอาชีพ จะเพิ่มมากขึนในระหว่าง ้ 20-40 ปี บุคคลจะมี ประสบการณ์ในการจัดการ กับสถานการณ์ต่าง ๆ ใน ชีวตประจำาวันและการงาน ิ อาชีพสิงเหล่านี้จะมีผลต่อ ่ บุคลิกภาพของบุคคลในวัย
  • 29. การแต่งงานและการมี ครอบครัว ผู้ใหญ่ตอนต้น เป็นวัยที่จัดว่าเป็น ช่วงของการสร้าง ความสนิทสนมกับ เพือนต่างเพศคนใด ่ คนหนึ่ง ซึงมักจะนำา ่ มาสูการแต่งงาน ่ และต่อมาก็คือการมี
  • 30. การเกษียณอายุ การเกษียณอายุมีอยู่ 6 ระยะด้วยกัน 1 ระยะก่อนการเกษียณอายุ 2 ระยะของการมีความสุข 3 ระยะของการหมดความสุข 4 ระยะการปรับตัวอีกครั้ง 5 ระยะความมั่นคง 6 ระยะสุดท้าย
  • 31. บุคคลในวัยชรามี ลักษณะดังนี้ 1 โครงสร้างของร่างกาย เปลี่ยนแปลง 2 จุกจิกจู้จี้ ขี้บ่น 3 หลงลืมได้ง่าย 4 ขี้น้อยใจ 5 เจ็บป่วยได้ง่าย
  • 32. จุดจบของชีวิต (การ ตาย) 1 การปฏิเสธ 2 ความโกรธ 3 อาการที่บุคคลคาดหวังว่าจะ ต่อรองได้ 4 ความซึมเศร้า 5 การยอมรับ
  • 34. ทฤษฎีการพัฒนา ของฟรอยด์ พัฒนาการความต้องการทาง เพศและบุคลิกภาพของบุคคล ต้องอาศัยการพัฒนาที่ตอเนื่อง ่ อย่างเป็นลำาดับขั้นจนกลายเป็น บุคลิกภาพที่ถาวรในที่สุด พัฒนาการแต่ละขั้นเป็นการ ตอบสนองความสุขความพึง
  • 35. ลำาดับขั้นพัฒนาการของซิ กมันด์ฟรอยด์ 1. ขั้นพึงพอใจทางปาก (Oral Stage) 2. ขั้นพึงพอใจทางทวาร (Anal Stage) 3. ขั้นสนใจอวัยวะเพศของ ตน (Phallic)
  • 36. ตังแต่แรกเกิดถึงประมาณ ้ 1-2 ปี เด็กจะชอบ ดูด กัด อม เช่น ดูดนม กัดแทะของ เล่น ดูดนิ้ว เล่นนำ้าลาย และ ทำาเสียงต่าง ๆ ถ้าถูกขัดขวางจะเกิด Oral
  • 37. อยู่ในช่วงอายุ 2-3 ปี ระยะนี้ เด็กจะพึงพอใจกับการขับ ถ่าย การฝึกการขับถ่ายควร ทำาค่อยเป็นค่อยไปด้วย ความอ่อนโยนอย่าบังคับ ถ้า เกิดการติดตรึงจะทำาให้ เป็น พวกชอบสะสมของ หวงของ
  • 38. อยูระหว่าง 3-5 ปี เด็กจะมีความ ่ พึงพอใจกับการได้สมผัสอวัยวะ ั เพศของตนเองถ้าไม่ได้รับการ ตอบสนองจะเกิดความแปรปรวน ทางเพศขึ้นในวัยผูใหญ่ ้ ชาย = ปมออดิปุส หญิง = ปมอิเล็กตรา
  • 39. อายุ 6 -12 ปี ระยะนี้จะเป็น ระยะพักเด็กจะเริ่มแสวงหา บทบาทที่เหมาะสมให้กับ ตนเอง ชอบเล่นในกลุม ่ เพศเดียวกัน เล่นกีฬา เล่น เกม และกิจกรรมต่าง ๆที่
  • 40. อายุตั้งแต่ 13 ปีขึ้นไป ถ้า เด็กผ่านขั้นอวัยวะเพศ ไปได้อย่างราบรื่น เด็กจะ แสดงบทบาทความเป็น ชายและหญิงตรงตาม เพศของตน
  • 41. ทฤษฎีการพัฒนา ของเพียเจท์ 1. ขั้นใช้อวัยวะสัมผัสและ กล้ามเนื้อ 2. ขั้นเริ่มคิดเริ่มเข้าใจ 3. ขั้นคิดออกเองโดยไม่ ต้องใช้เหตุผล 4. ขั้นใช้ความคิดเชิงรูป
  • 42. ตั้งแต่แรกเกิดถึง 2 ปี เป็นวัยทีเริ่ม ่ เรียนรู้โดยใช้ประสาทสัมผัสและ การเคลื่อนไหวของร่างกายเพื่อ ตอบสนองสิ่งแวดล้อมเด็กที่ สามารถใช้ประสาทสัมผัสกับสิง ่ แวดล้อมได้มากเท่าใดก็จะช่วย พัฒนาเชาวน์ปัญญาของเด็กได้
  • 43. อายุตั้งแต่ 2-4 ขวบ เริ่มเรียน รู้การใช้ภาษาเรียกสิ่งของ เช่น ข้าว นม เป็นต้น
  • 44. อายุ 4 -7 ปี เชือตัวเองไม่ยอม ่ เปลี่ยนความคิด หรือเชื่อใน เรื่องการทรงภาวะเดิมของ วัตถุ ก ข
  • 45. อายุ 7 – 11 ปี เป็นระยะทีเด็ก ่ สามารถคิดอย่างมีเหตุผลใน เรื่องทีเป็นรูปธรรม ถ้าให้วาด ่ ภาพครอบครัวของฉัน เด็กใน วัยนีจะสามารถวางภาพได้ใกล้ ้ เคียงความเป็นจริง จัดหมวด หมู่ได้ เรียงลำาดับได้
  • 46. เด็กอายุระหว่าง 11 ถึง 15 ปี เด็กจะเริ่มคิดได้แบบผู้ใหญ่ สามารถเข้าใจสิ่งที่เป็น นามธรรมได้ คิดตั้ง สมมติฐานและสร้างทฤษฎี แบบนักวิทยาศาสตร์ได้ เป็น ตัวของตนเอง ต้องการความ
  • 47. ทฤษฎีการพัฒนาของ อีริคสัน 1. ขันไว้ใจกับไม่ไว้ใจผูอื่น ้ ้ 2. ขันทีมีความอิสระกับความ ้ ่ สงสัย 3. ขั้นความคิดริเริ่มกับความ รู้สึกผิด 4. ขันขยันหมั่นเพียรกับความ ้ รู้สึกมีปมด้อย 5. ขันเข้าใจเอกลักษณ์ของ ้
  • 48. ตังแต่แรกเกิดจนถึง 1 ปี ถ้าเด็ก ้ ได้รับความรัก ความอบอุ่น และ การดูแลจากคนใกล้ชิด เด็กโต ขึ้นก็จะเกิดความรู้สึกไว้วางใจ สังคม แต่ถ้าไม่ไเด็รับพ่อแม่ ก ้ ผู้ที่มีบทบาทกับ ด้ ก ความรัผู ความอบอุ่น เมื่อโตขึ้นก็จะหลีก ปกครอง หรือพี่เลี้ยง หนีสังคม
  • 49. อายุ 2-3 ปี เด็กจะเรียนรู้การ เดิน การพูด และทำาอะไรตาม อิสระ พ่อแม่ควรให้อิสระกับ เด็กในการทำากิจกรรมต่าง ๆ ด้วยตนเองพยายามให้เด็ก ช่วยเหลือตนเองให้มากที่สุด ไม่ข่มขู่ลงโทษเมื่อเด็กทำาผิด ผู้มีบทบาท พ่อเด็กจะเกิ้เลี้ยงดู อย่างรุนแรง แม่และผูดความ
  • 50. อายุ 3 - 5 ปี เด็กจะใช้ของเล่น ทดแทนจินตนาการ โดยนำา ของเล่นรวมกันแล้วสร้างเป็น เรื่องราวขึ้นมา เด็กพอใจที่จะ เลียนแบบพฤติกรรมผู้ใหญ่ที่ ใกล้ชิด ดังนั้นหากพ่อแม่ ผู้ทมีบทบาทคือ้ยงดูยอมรับผลงาน ี่ และคนเลี บุคคลในครอบครัว
  • 51. อายุ 6-11 ปี เด็กในวัยนีไม่อยูนง ้ ่ ิ่ ชอบเขียน อ่าน ทำาในสิ่งทีตน ่ อยากทำาขยันในการทำางานต่าง ๆ และภาคภูมิใจในผลงานทีได้รับ ่ ความสำาเร็จเนืองจากความ ่ พยายามของตน ผูใหญ่ต้องไม่ ้ คาดหวัทบาท เด็กสูงเกินไป จน ผู้มีบ งในตัว พ่อแม่ ครู และ
  • 52. อายุ 12-18 ปี ช่วงนีถือเป็นช่วง ้ วิกฤตมากที่สด เมือเด็กเกิด ุ ่ ปัญหาใด ๆ ขึ้น เขาจะเกิด ความสับสนว่าควรจะเชื่อใครดี ระหว่างพ่อแม่ ตนเอง หรือ เพื่อน เด็กวัยนีคือการแสวงหา ้ ตนเองเพื่อให้รู้จักตนเองในแง่ มุมต่าง ๆ
  • 53. วัยผูใหญ่ตอนต้น เริ่มนัดหมาย ้ การแต่งงานและชีวิตครอบครัว ถ้าหากว่าแต่ละคนได้พัฒนา ความเข้าใจเอกลักษณ์ตนเองดี พอ แต่ถ้าบุคคลใดไม่สามารถ ผ่านขั้นนีไปได้ จะกลายเป็นคน ้ รักตนเองและไม่สามารถจะ แสดงความรักต่อผู้อื่นได้
  • 55. วัยชรา เขาจะมีความไว้วางใจ เพื่อนร่วมโลกและตัวเองถ้า เขามีความทรงจำาในด้านความ สุขความสบายใจ แต่ถ้าเขามี ความทรงจำาเกี่ยวกับความผิด หวังตลอดเวลาเขาก็ไม่มีความ สุขในชีวิต
  • 56. ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม ของโคห์ลเบิร์ก (Kohlberg’s Moral Development)  เป็นทฤษฎีทมีแนวคิดพื้นฐาน ี่ มาจากทฤษฎีพัฒนาการทาง เชาวน์ปัญญาของเพียเจต์ โดย ได้ขยายขอบเขตงานวิจัยให้ ครอบคลุมกว้างขวางมากยิงขึ้น ่ โคห์ลเบิร์กได้สรุปทฤษฎี พัฒนาการทางจริยธรรมของ
  • 57. ระดับที่ 1 ระดับก่อนเกณฑ์ทาง สังคม (Pre-conventional Level)  เด็กจะรับรู้ถึงกฎเกณฑ์ที่ดีและไม่ดีจากคนที่มี อิทธิพลเหนือตน เช่น พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู หรือ เด็กที่โตกว่า และจะนึกถึงรางวัลและการลงโทษ เป็นส่วนประกอบในการแสดงพฤติกรรม  ขั้นของการลงโทษและเชือฟัง (Punishment and ่ obedience orientation) แรกเกิดถึง 7 ปี เป็นหลักของการใช้เหตุผลของการแสดงพฤติกรรมเป็น เครื่องช่วยตัดสินว่าถูกหรือ 2. ขั้นการแสวงหารางวัล (Naively egoistic orientation)
  • 58. ระดับที่ 2 ระดับแสดงจริยธรรมตาม กฎเกณฑ์ของสังคม (Conventional Level)  การแสดงออกของพฤติกรรมทีเป็นไป ่ ตามความคาดหวัง ของสังคมที่เป็น สมาชิกอยู่ โดยในขั้นนี้เด็กจะไม่คำานึง ถึงรางวัลหรือการลงโทษแล้ว แต่จะ ยึดถือมาตรฐานที่สังคมกำาหนด 1.ขั้นทำาตามเพื่อเพื่อนและสิงทีสังคม ่ ่ ยอมรับ (Interpersonalconcordance of “Goodboy-Nicegirl” orientation)
  • 59. ระดับที่ 3 ระดับจริยธรรมเหนือกฎ เกณฑ์ทางสังคม (Post-conventional Level)  พฤติกรรมเกิดจากการใชวิจารณญาณของ ตนเป็นมาตรฐานในการตัดสิน การปฏิบัติ โดยปราศจากอิทธิพลของบุคคลและสิ่ง แวดล้อมในสังคมเข้ามาเกี่ยวข้อง  ขั้นทำาตามสัญญา (Social contract orientation) เป็นขั้นหลักการมีเหตุผลและเคารพตนเอง อยู่ในช่วงอายุ 16 ปีขึ้นไป 2. ขั้นอุดมคติสากล (Universal ethical principle orient ation)กฎระเบียบของสังคม และทำาหน้าที่