SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  8
Télécharger pour lire hors ligne
คูมือครูสาระการเรียนรูพื้นฐาน
คณิตศาสตร เลม ๒
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
จัดทําโดย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
คําชี้แจง
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ไดรับมอบหมายจาก
กระทรวงศึกษาธิการใหพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ของกลุมสาระ
การเรียนรูคณิตศาสตร กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร รวมทั้งสาระการออกแบบและเทคโนโลยี
และสาระเทคโนโลยีสารสนเทศในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ตลอดจน
จัดทําสื่อการเรียนรูตามหลักสูตรดังกลาว
คูมือครูเลมนี้เปนสวนหนึ่งของสื่อการเรียนรูตามหลักสูตรของกลุมสาระการเรียนรู
คณิตศาสตร ใชประกอบการเรียนการสอนควบคูกับหนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน
คณิตศาสตร เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เพื่อใหครูผูสอนใชเปนแนวทางในการจัดการเรียนรู
คณิตศาสตรใหผูเรียนบรรลุมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไว
ในการจัดทําคูมือครูเลมนี้ สสวท. ไดรับความรวมมืออยางดียิ่งจากคณาจารย ผูทรงคุณวุฒิ
และนักวิชาการ จากหลายหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน สสวท. จึงขอขอบคุณทุกทานไว ณ ที่นี้
และหวังเปนอยางยิ่งวาคูมือครูเลมนี้จะเปนประโยชนสําหรับครูผูสอนคณิตศาสตรใหสามารถ
นําไปใชหรือปรับใชใหเหมาะสมกับศักยภาพของผูเรียน
หากมีขอเสนอแนะใดที่จะทําใหคูมือครูเลมนี้สมบูรณยิ่งขึ้นโปรดแจง สสวท. ทราบดวย
จักขอบคุณยิ่ง
รองผูอํานวยการ รักษาการ
ผูอํานวยการสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คําชี้แจงการใชคูมือครู
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไดพิจารณาเห็นวา เพื่อใหการจัดการเรียน
การสอนคณิตศาสตรมีประสิทธิภาพและบรรลุมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไวในหลักสูตรอยางครบถวน
ทั้งสามดาน ไดแก ดานความรู ดานทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร และดานคุณธรรม จริยธรรม
และคานิยม จึงไดจัดทําคูมือครูซึ่งเสนอแนะแนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไวโดยละเอียดเพื่อใช
ควบคูกับหนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน คณิตศาสตร เลม2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ดังนั้นครูตองศึกษา
คูมือครูใหเขาใจถองแท ควรทดลองปฏิบัติกิจกรรมเพื่อใหเกิดความพรอมในการสอนกอนเขาสอนทุก
บทเรียน และดําเนินกิจกรรมตามที่เสนอแนะไว ครูอาจปรับเปลี่ยนกิจกรรมและวิธีจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนไดตามความเหมาะสมโดยคํานึงถึงศักยภาพของนักเรียนเปนสําคัญ
คูมือครูของแตละบทประกอบดวยหัวขอตอไปนี้
1. ชื่อบทและหัวขอเรื่องประจําบท ระบุจํานวนชั่วโมงที่ใชในการเรียนการสอนของแตละบท
และแตละหัวขอไวโดยประมาณ ครูอาจยืดหยุนไดตามที่เห็นสมควร
2. คํานําประจําบท บอกสาระสําคัญของบทเรียนทั่วไป สิ่งที่ควรปฏิบัติและสิ่งที่ควรย้ํา
3. ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป ในแตละบทเรียนจะระบุผลการเรียนรูที่คาดหวังรายปตามที่
ปรากฏอยูในหนังสือคูมือการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ครูตองคํานึงถึงเสมอวา
จะตองจัดกิจกรรมการเรียนรูใหนักเรียนเกิดผลการเรียนรูตามที่กําหนด เพื่อการวัดและประเมินผลหลัง
จบการเรียนการสอน ผลการเรียนรูที่ผานการประเมินนี้จะทําใหผูเรียนบรรลุผลตามมาตรฐานการเรียนรู
ชวงชั้นที่ 3 ดวย
4. แนวทางในการจัดการเรียนรู ในแตละหัวขอยอยของแตละบทไดใหรายละเอียดของหัวขอ
ตอไปนี้
1) จุดประสงค ระบุไวเพื่อใหครูคํานึงถึงเสมอวาจะตองจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ใหนักเรียนมีความรูและมีความสามารถตรงตามจุดประสงคที่วางไว ซึ่งจะตอง
เกิดขึ้นระหวางเรียนหรือดําเนินกิจกรรม ครูตองประเมินผลใหตรงตามจุดประสงค
และใชวิธีการประเมินผลที่หลากหลายเพื่อใหบรรลุถึงผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
การประเมินผลที่หลากหลายอาจเปนการสังเกต การตอบคําถาม การทํา
แบบฝกหัด การทํากิจกรรม หรือการทดสอบยอย จุดประสงคใดที่ครูเห็นวา
นักเรียนสวนใหญยังไมผาน ในชั่วโมงตอไปครูควรนําบทเรียนนั้นมาสอน
ซอมเสริมใหม
ข
2) ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เปนสวนสําคัญของคูมือครู
ครูควรศึกษาและทําความเขาใจควบคูกับหนังสือเรียน เพื่อเตรียมจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนใหสอดคลองกับจุดประสงคและเหมาะสมกับความสามารถของ
นักเรียน
5. คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม คําถามทุกคําถามในกิจกรรมและแบบฝกหัดทุกขอมี
คําตอบใหและบางขอมีเฉลยแนวคิดไวใหเพื่อเปนแนวทางในการหาคําตอบ บางขอมีหลายคําตอบแตให
ไวเปนตัวอยางอยางนอยหนึ่งคําตอบ ทั้งนี้เพราะกิจกรรมหรือแบบฝกหัดที่ใหนักเรียนทําไดสอดแทรก
ปญหาที่เปดโอกาสใหนักเรียนไดสืบเสาะ สังเกต รวบรวมขอมูล วิเคราะห สรางขอความคาดการณและ
พิสูจนงาย ๆ การเฉลยคําตอบหรือการใหเหตุผลประกอบคําตอบไดคํานึงถึงพื้นฐานความรูและวุฒิภาวะ
ของนักเรียนเปนหลัก การใหเหตุผลหรือคําอธิบายของนักเรียนอาจแตกตางจากที่เฉลยไว ในการตรวจ
แบบฝกหัดครูควรพิจารณาอยางรอบคอบ ยอมรับคําตอบที่เห็นวามีความถูกตองและเปนไปได ถึงแมวา
จะไมเหมือนกับคําตอบที่เฉลยไว ปญหาที่มีลักษณะเปนปญหาชวนคิด มีคําตอบอยูในสวนนี้ดวย
คําแนะนําการใชหนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน คณิตศาสตร
หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน คณิตศาสตร ประกอบดวย
1. เนื้อหาสาระ ในการนําเสนอเนื้อหาสาระของแตละบทเรียน ไดคํานึงถึงการเชื่อมโยงความรูใหม
กับความรูพื้นฐานเดิมของนักเรียน โดยพยายามใชตัวอยางจากชีวิตจริงและความรูจากศาสตรอื่น
ประกอบการอธิบายเพื่อใหไดขอสรุปเปนความรูใหมตอไป
2. ตัวอยาง มีไวเสริมความเขาใจในเนื้อหาสาระและการนําไปใช
3. แบบฝกหัดทายหัวขอ แบบฝกหัดที่นําเสนอไวมีหลายลักษณะ คือฝกทักษะการคิดคํานวณ แก
โจทยปญหา ฝกวิเคราะห ใหเหตุผล และฝกหาขอสรุปเพื่อนําไปสูการสรางขอความคาดการณ
4. ปญหาชวนคิดหรือเรื่องนารู เปนโจทยปญหาหรือสถานการณกระตุนใหนักเรียนไดใชความรูที่
เรียนมาเพื่อแกปญหาหรือหาขอสรุปใหม
เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการใชหนังสือเรียน ครูควรปฏิบัติดังนี้
1. ศึกษาเนื้อหาสาระและวิธีนําเสนอควบคูกับกิจกรรมของแตละเรื่องที่เสนอแนะไวในคูมือครู ให
เขาใจอยางถองแท
2. ทําแบบฝกหัดทายหัวขอและแสวงหาวิธีการที่เหมาะสมที่สุดในการหาคําตอบ โดยเฉพาะอยางยิ่ง
ขอที่มีวิธีคิดหรือคําตอบที่หลากหลาย
ค
3. วางแผนการจัดการเรียนรูตลอดภาคเรียนใหครอบคลุมทุกเนื้อหาสาระและเหมาะสมกับเวลา
4. ในการสอนเนื้อหาสาระแตละเรื่องไมควรดวนบอกนักเรียนทันที ควรใชวิธีการสอนผานกิจกรรม
หรืออภิปรายโตตอบ เพื่อใหนักเรียนสรุปความคิดรวบยอดดวยตนเองเทาที่จะสามารถทําได
5. สรางสถานการณหรือโจทยที่สอดคลองกับเนื้อหาสาระในบทเรียนเพิ่มเติมจากสิ่งที่อยูใกลตัวหรือ
ภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อใหนักเรียนมีความเขาใจในเนื้อหาสาระมากขึ้นและสามารถเชื่อมโยงความรู
ตาง ๆ เปนแนวทางในการประยุกตตอไป
กําหนดเวลาสอนโดยประมาณ
หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐานคณิตศาสตร เลม 2
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
บทที่ เรื่อง จํานวนชั่วโมง
1
2
3
4
อสมการ
ความนาจะเปน
สถิติ
ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร
12
14
20
14
รวม 60
สารบัญ
หนา
คําชี้แจง
คําชี้แจงการใชคูมือครู ก
กําหนดเวลาสอนโดยประมาณ ง
บทที่ 1 อสมการ 1
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1
แนวทางในการจัดการเรียนรู 2
1.1 อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว 2
จุดประสงค 2
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 2
1.2 การแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว 3
จุดประสงค 3
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3
1.3 โจทยปญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว 4
จุดประสงค 4
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 4
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม 5
บทที่ 2 ความนาจะเปน 11
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 11
แนวทางในการจัดการเรียนรู 12
2.1 ความนาจะเปน 12
จุดประสงค 12
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 12
2.2 การทดลองสุมและเหตุการณ 13
จุดประสงค 13
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 13
2.3 ความนาจะเปนของเหตุการณ 14
จุดประสงค 14
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 15
2.4 ความนาจะเปนกับการตัดสินใจ 16
จุดประสงค 16
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 16
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม 17
บทที่ 3 สถิติ 25
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 25
แนวทางในการจัดการเรียนรู 26
3.1 ขอมูลและการนําเสนอขอมูล 26
จุดประสงค 26
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 26
3.2 คากลางของขอมูล 28
จุดประสงค 28
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 28
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม 30
บทที่ 4 ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร 43
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 44
แนวทางในการจัดการเรียนรู 45
4.1 กิจกรรมพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร 45
จุดประสงค 45
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 45
4.2 ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรกับตรีโกณมิติ 48
จุดประสงค 48
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 48
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม 49
คณะกรรมการจัดทําสื่อการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

Contenu connexe

En vedette

เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามRitthinarongron School
 

En vedette (7)

Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Add m3-2-chapter4
Add m3-2-chapter4Add m3-2-chapter4
Add m3-2-chapter4
 
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
 
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
 
Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนาม
 

Similaire à Basic m3-2-link

หลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdf
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdfหลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdf
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdfJiruttiPommeChuaikho
 
อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่
อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่
อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่suwat Unthanon
 
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน สถาปัตยกรรม
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน สถาปัตยกรรมครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน สถาปัตยกรรม
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน สถาปัตยกรรมTotsaporn Inthanin
 
CuriculumManual_T1.pdf
CuriculumManual_T1.pdfCuriculumManual_T1.pdf
CuriculumManual_T1.pdfPookRammanee
 
ปก สารบัญการงานฯ
ปก สารบัญการงานฯปก สารบัญการงานฯ
ปก สารบัญการงานฯWittawas Kaewpradis
 
ประวัติผู้สอน
ประวัติผู้สอนประวัติผู้สอน
ประวัติผู้สอนRinry LunlaClub
 
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน เทคโนโลยียานยนต์
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน เทคโนโลยียานยนต์ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน เทคโนโลยียานยนต์
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน เทคโนโลยียานยนต์Totsaporn Inthanin
 
design and technology
design and technology design and technology
design and technology Tarn Takpit
 

Similaire à Basic m3-2-link (20)

Basic m2-1-link
Basic m2-1-linkBasic m2-1-link
Basic m2-1-link
 
Plan jeeranun
Plan jeeranunPlan jeeranun
Plan jeeranun
 
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdf
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdfหลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdf
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdf
 
Planjeeranun
PlanjeeranunPlanjeeranun
Planjeeranun
 
อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่
อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่
อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่
 
Add m2-1-link
Add m2-1-linkAdd m2-1-link
Add m2-1-link
 
Add m2-1-link
Add m2-1-linkAdd m2-1-link
Add m2-1-link
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน สถาปัตยกรรม
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน สถาปัตยกรรมครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน สถาปัตยกรรม
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน สถาปัตยกรรม
 
Keydesign
KeydesignKeydesign
Keydesign
 
Add m3-1-link
Add m3-1-linkAdd m3-1-link
Add m3-1-link
 
Add m1-1-link
Add m1-1-linkAdd m1-1-link
Add m1-1-link
 
Add m2-2-link
Add m2-2-linkAdd m2-2-link
Add m2-2-link
 
CuriculumManual_T1.pdf
CuriculumManual_T1.pdfCuriculumManual_T1.pdf
CuriculumManual_T1.pdf
 
ปก สารบัญการงานฯ
ปก สารบัญการงานฯปก สารบัญการงานฯ
ปก สารบัญการงานฯ
 
Book design example
Book design exampleBook design example
Book design example
 
ประวัติผู้สอน
ประวัติผู้สอนประวัติผู้สอน
ประวัติผู้สอน
 
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน เทคโนโลยียานยนต์
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน เทคโนโลยียานยนต์ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน เทคโนโลยียานยนต์
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน เทคโนโลยียานยนต์
 
design and technology
design and technology design and technology
design and technology
 
Basic m2-2-link
Basic m2-2-linkBasic m2-2-link
Basic m2-2-link
 

Plus de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

Plus de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3
 
Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2
 
Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1
 
Basic m3-1-chapter4
Basic m3-1-chapter4Basic m3-1-chapter4
Basic m3-1-chapter4
 
Add m3-2-chapter3
Add m3-2-chapter3Add m3-2-chapter3
Add m3-2-chapter3
 

Basic m3-2-link

  • 1. คูมือครูสาระการเรียนรูพื้นฐาน คณิตศาสตร เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ จัดทําโดย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คําชี้แจง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ไดรับมอบหมายจาก กระทรวงศึกษาธิการใหพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ของกลุมสาระ การเรียนรูคณิตศาสตร กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร รวมทั้งสาระการออกแบบและเทคโนโลยี และสาระเทคโนโลยีสารสนเทศในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ตลอดจน จัดทําสื่อการเรียนรูตามหลักสูตรดังกลาว คูมือครูเลมนี้เปนสวนหนึ่งของสื่อการเรียนรูตามหลักสูตรของกลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร ใชประกอบการเรียนการสอนควบคูกับหนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน คณิตศาสตร เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เพื่อใหครูผูสอนใชเปนแนวทางในการจัดการเรียนรู คณิตศาสตรใหผูเรียนบรรลุมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไว ในการจัดทําคูมือครูเลมนี้ สสวท. ไดรับความรวมมืออยางดียิ่งจากคณาจารย ผูทรงคุณวุฒิ และนักวิชาการ จากหลายหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน สสวท. จึงขอขอบคุณทุกทานไว ณ ที่นี้ และหวังเปนอยางยิ่งวาคูมือครูเลมนี้จะเปนประโยชนสําหรับครูผูสอนคณิตศาสตรใหสามารถ นําไปใชหรือปรับใชใหเหมาะสมกับศักยภาพของผูเรียน หากมีขอเสนอแนะใดที่จะทําใหคูมือครูเลมนี้สมบูรณยิ่งขึ้นโปรดแจง สสวท. ทราบดวย จักขอบคุณยิ่ง รองผูอํานวยการ รักษาการ ผูอํานวยการสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 3. คําชี้แจงการใชคูมือครู สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไดพิจารณาเห็นวา เพื่อใหการจัดการเรียน การสอนคณิตศาสตรมีประสิทธิภาพและบรรลุมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไวในหลักสูตรอยางครบถวน ทั้งสามดาน ไดแก ดานความรู ดานทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร และดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม จึงไดจัดทําคูมือครูซึ่งเสนอแนะแนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไวโดยละเอียดเพื่อใช ควบคูกับหนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน คณิตศาสตร เลม2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ดังนั้นครูตองศึกษา คูมือครูใหเขาใจถองแท ควรทดลองปฏิบัติกิจกรรมเพื่อใหเกิดความพรอมในการสอนกอนเขาสอนทุก บทเรียน และดําเนินกิจกรรมตามที่เสนอแนะไว ครูอาจปรับเปลี่ยนกิจกรรมและวิธีจัดกิจกรรมการเรียน การสอนไดตามความเหมาะสมโดยคํานึงถึงศักยภาพของนักเรียนเปนสําคัญ คูมือครูของแตละบทประกอบดวยหัวขอตอไปนี้ 1. ชื่อบทและหัวขอเรื่องประจําบท ระบุจํานวนชั่วโมงที่ใชในการเรียนการสอนของแตละบท และแตละหัวขอไวโดยประมาณ ครูอาจยืดหยุนไดตามที่เห็นสมควร 2. คํานําประจําบท บอกสาระสําคัญของบทเรียนทั่วไป สิ่งที่ควรปฏิบัติและสิ่งที่ควรย้ํา 3. ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป ในแตละบทเรียนจะระบุผลการเรียนรูที่คาดหวังรายปตามที่ ปรากฏอยูในหนังสือคูมือการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ครูตองคํานึงถึงเสมอวา จะตองจัดกิจกรรมการเรียนรูใหนักเรียนเกิดผลการเรียนรูตามที่กําหนด เพื่อการวัดและประเมินผลหลัง จบการเรียนการสอน ผลการเรียนรูที่ผานการประเมินนี้จะทําใหผูเรียนบรรลุผลตามมาตรฐานการเรียนรู ชวงชั้นที่ 3 ดวย 4. แนวทางในการจัดการเรียนรู ในแตละหัวขอยอยของแตละบทไดใหรายละเอียดของหัวขอ ตอไปนี้ 1) จุดประสงค ระบุไวเพื่อใหครูคํานึงถึงเสมอวาจะตองจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ใหนักเรียนมีความรูและมีความสามารถตรงตามจุดประสงคที่วางไว ซึ่งจะตอง เกิดขึ้นระหวางเรียนหรือดําเนินกิจกรรม ครูตองประเมินผลใหตรงตามจุดประสงค และใชวิธีการประเมินผลที่หลากหลายเพื่อใหบรรลุถึงผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป การประเมินผลที่หลากหลายอาจเปนการสังเกต การตอบคําถาม การทํา แบบฝกหัด การทํากิจกรรม หรือการทดสอบยอย จุดประสงคใดที่ครูเห็นวา นักเรียนสวนใหญยังไมผาน ในชั่วโมงตอไปครูควรนําบทเรียนนั้นมาสอน ซอมเสริมใหม
  • 4. ข 2) ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เปนสวนสําคัญของคูมือครู ครูควรศึกษาและทําความเขาใจควบคูกับหนังสือเรียน เพื่อเตรียมจัดกิจกรรม การเรียนการสอนใหสอดคลองกับจุดประสงคและเหมาะสมกับความสามารถของ นักเรียน 5. คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม คําถามทุกคําถามในกิจกรรมและแบบฝกหัดทุกขอมี คําตอบใหและบางขอมีเฉลยแนวคิดไวใหเพื่อเปนแนวทางในการหาคําตอบ บางขอมีหลายคําตอบแตให ไวเปนตัวอยางอยางนอยหนึ่งคําตอบ ทั้งนี้เพราะกิจกรรมหรือแบบฝกหัดที่ใหนักเรียนทําไดสอดแทรก ปญหาที่เปดโอกาสใหนักเรียนไดสืบเสาะ สังเกต รวบรวมขอมูล วิเคราะห สรางขอความคาดการณและ พิสูจนงาย ๆ การเฉลยคําตอบหรือการใหเหตุผลประกอบคําตอบไดคํานึงถึงพื้นฐานความรูและวุฒิภาวะ ของนักเรียนเปนหลัก การใหเหตุผลหรือคําอธิบายของนักเรียนอาจแตกตางจากที่เฉลยไว ในการตรวจ แบบฝกหัดครูควรพิจารณาอยางรอบคอบ ยอมรับคําตอบที่เห็นวามีความถูกตองและเปนไปได ถึงแมวา จะไมเหมือนกับคําตอบที่เฉลยไว ปญหาที่มีลักษณะเปนปญหาชวนคิด มีคําตอบอยูในสวนนี้ดวย คําแนะนําการใชหนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน คณิตศาสตร หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน คณิตศาสตร ประกอบดวย 1. เนื้อหาสาระ ในการนําเสนอเนื้อหาสาระของแตละบทเรียน ไดคํานึงถึงการเชื่อมโยงความรูใหม กับความรูพื้นฐานเดิมของนักเรียน โดยพยายามใชตัวอยางจากชีวิตจริงและความรูจากศาสตรอื่น ประกอบการอธิบายเพื่อใหไดขอสรุปเปนความรูใหมตอไป 2. ตัวอยาง มีไวเสริมความเขาใจในเนื้อหาสาระและการนําไปใช 3. แบบฝกหัดทายหัวขอ แบบฝกหัดที่นําเสนอไวมีหลายลักษณะ คือฝกทักษะการคิดคํานวณ แก โจทยปญหา ฝกวิเคราะห ใหเหตุผล และฝกหาขอสรุปเพื่อนําไปสูการสรางขอความคาดการณ 4. ปญหาชวนคิดหรือเรื่องนารู เปนโจทยปญหาหรือสถานการณกระตุนใหนักเรียนไดใชความรูที่ เรียนมาเพื่อแกปญหาหรือหาขอสรุปใหม เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการใชหนังสือเรียน ครูควรปฏิบัติดังนี้ 1. ศึกษาเนื้อหาสาระและวิธีนําเสนอควบคูกับกิจกรรมของแตละเรื่องที่เสนอแนะไวในคูมือครู ให เขาใจอยางถองแท 2. ทําแบบฝกหัดทายหัวขอและแสวงหาวิธีการที่เหมาะสมที่สุดในการหาคําตอบ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ขอที่มีวิธีคิดหรือคําตอบที่หลากหลาย
  • 5. ค 3. วางแผนการจัดการเรียนรูตลอดภาคเรียนใหครอบคลุมทุกเนื้อหาสาระและเหมาะสมกับเวลา 4. ในการสอนเนื้อหาสาระแตละเรื่องไมควรดวนบอกนักเรียนทันที ควรใชวิธีการสอนผานกิจกรรม หรืออภิปรายโตตอบ เพื่อใหนักเรียนสรุปความคิดรวบยอดดวยตนเองเทาที่จะสามารถทําได 5. สรางสถานการณหรือโจทยที่สอดคลองกับเนื้อหาสาระในบทเรียนเพิ่มเติมจากสิ่งที่อยูใกลตัวหรือ ภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อใหนักเรียนมีความเขาใจในเนื้อหาสาระมากขึ้นและสามารถเชื่อมโยงความรู ตาง ๆ เปนแนวทางในการประยุกตตอไป
  • 6. กําหนดเวลาสอนโดยประมาณ หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐานคณิตศาสตร เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 บทที่ เรื่อง จํานวนชั่วโมง 1 2 3 4 อสมการ ความนาจะเปน สถิติ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร 12 14 20 14 รวม 60
  • 7. สารบัญ หนา คําชี้แจง คําชี้แจงการใชคูมือครู ก กําหนดเวลาสอนโดยประมาณ ง บทที่ 1 อสมการ 1 ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1 แนวทางในการจัดการเรียนรู 2 1.1 อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว 2 จุดประสงค 2 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 2 1.2 การแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว 3 จุดประสงค 3 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3 1.3 โจทยปญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว 4 จุดประสงค 4 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 4 คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม 5 บทที่ 2 ความนาจะเปน 11 ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 11 แนวทางในการจัดการเรียนรู 12 2.1 ความนาจะเปน 12 จุดประสงค 12 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 12 2.2 การทดลองสุมและเหตุการณ 13 จุดประสงค 13 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 13 2.3 ความนาจะเปนของเหตุการณ 14 จุดประสงค 14 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 15
  • 8. 2.4 ความนาจะเปนกับการตัดสินใจ 16 จุดประสงค 16 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 16 คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม 17 บทที่ 3 สถิติ 25 ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 25 แนวทางในการจัดการเรียนรู 26 3.1 ขอมูลและการนําเสนอขอมูล 26 จุดประสงค 26 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 26 3.2 คากลางของขอมูล 28 จุดประสงค 28 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 28 คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม 30 บทที่ 4 ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร 43 ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 44 แนวทางในการจัดการเรียนรู 45 4.1 กิจกรรมพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร 45 จุดประสงค 45 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 45 4.2 ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรกับตรีโกณมิติ 48 จุดประสงค 48 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 48 คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม 49 คณะกรรมการจัดทําสื่อการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนตน