SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  6
Télécharger pour lire hors ligne
Business Model to Business Plan
                                                                                  รัชกฤช คลองพยาบาล
                                                                ที่ปรึกษา SMEs ดานการเงินและรวมลงทุน
                       ฝายประสานและบริการ SMEs สํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.)

          ผูเขียนมักไดรบการสอบถามเกี่ยวกับเรื่องของการจัดทําแผนธุรกิจ จากผูประกอบการหรือผูเขา
                         ั
รับการอบรมวาแผนธุรกิจทีดีและถูกตองควรจะเปนเชนใด
                                ่                                 และตองมีองคประกอบใดบางจึงจะถือวา
ครบถวน ซึ่งในฐานะทีปรึกษาธุรกิจและวิทยากรอบรมดานการจัดทําแผนธุรกิจ ผูเขียนก็จะชี้แจง
                              ่
รายละเอียดตางๆใหผูถาม หรือผูอบรมรับทราบอยูเสมอถึงองคประกอบตางๆที่แผนธุรกิจควรมี รวมถึง
ไดเขียนคูมือการเขียนแผนธุรกิจ ที่ใชเปนคูมือในการจัดทําแผนธุรกิจใหแกผูประกอบการ และผูสนใจ
ทั่วไปทั้งที่เปนหนังสือคูมือ และการ Download File จาก Website ของสสว. แตก็ยังมีผูประกอบการ
บางรายสอบถามผูเขียนวา ถาตนเองเขียนหรือแสดงรายละเอียดตามหัวขอตางๆที่ปรากฏในคูมือการ
เขียนแผนธุรกิจของ สสว. หรือจากโครงสรางการเขียนแผนธุรกิจจากหนวยงานอื่นๆก็ตาม จะถือวาเปน
แผนธุรกิจที่ใชไดหรือเปนแผนธุรกิจที่ดีใชหรือไม ซึ่งผูเขียนก็ตอบประเด็นดังกลาว ไปตามลักษณะของ
แผนธุรกิจที่ผประกอบการรายนั้นสอบถามมาเปนกรณีไป
                 ู

        แตเนื่องจากคํานิยามของแผนธุรกิจมีคอนขางหลากหลาย สําหรับผูเขียนแลวคําจํากัดความของ
แผนธุรกิจจะหมายถึง “เอกสารซึ่งแสดงถึงขอมูลและรายละเอียดของธุรกิจ รวมถึงวิธีการและ
กระบวนการในการดําเนินการของธุรกิจในทุกดาน ที่ไดผานการวางแผนขึ้นตามเปาหมายและ
วัตถุประสงคของธุรกิจนั้น         รวมถึงแสดงใหเห็นถึงผลลัพธที่เกิดขึ้นของธุรกิจจากวิธีการและ
กระบวนการในการดําเนินการของธุรกิจที่ไดกําหนดขึ้น” ซึ่งที่ตองระบุวาเปนเอกสาร (Document)
นั้น ก็เพราะวาถาไมมีการจัดทําเปนเอกสารหรือลายลักษณอักษร ก็จะเปนเรื่องของการวางแผนธุรกิจ
(Business Planning) โดยมิไดพิจารณาถึงเรื่องของหนาที่ของแผนธุรกิจ ที่เปนเครื่องมือในการสื่อสาร
ของการวางแผนธุรกิจตอผูอานหรือบุคคลภายนอก หรือถากลาวโดยงาย แผนธุรกิจ (Business
                            
Plan) ก็คือเอกสารที่แสดงถึงการวางแผนของธุรกิจนั่นเอง ดังนั้นถาผูจัดทําแสดงรายละเอียดได
ครบถวน แตไมมการวางแผนในการทําธุรกิจที่ดี ก็จะเปนเพียงแตเอกสารที่เรียกวาแผนธุรกิจเทานั้น แต
                  ี
ไมถือไดวาเปนแผนธุรกิจทีถูกตองหรือเปนแผนธุรกิจที่ดี นอกจากนี้การวางแผนธุรกิจคือการวางแผนวา
                              ่
ธุรกิจจะทําอะไรในวันนี้ หรือปจจุบันรวมถึงในอนาคตของธุรกิจ และจะเกิดผลลัพธอะไรขึ้นจากการ
กระทํานั้น ดังนั้นถาไมสามารถแสดงผลลัพธหรือที่มาของการกระทําดังกลาวได ซึ่งมักเปนเรื่องของการ
ประมาณการตางๆ เชน ทีมาของลูกคา ยอดขาย ตนทุน ผลกําไร ใหเปนที่เชื่อถือของผูอานแผนธุรกิจวา
                          ่
เปนจริงหรือสามารถเกิดขึ้นไดตามที่ระบุไวในแผนธุรกิจ ก็ไมถือวาเปนแผนธุรกิจทีดีเชนเดียวกัน แมวา
                                                                                ่
จะมีขอมูลครบถวนตามหัวขอตางๆของแผนธุรกิจที่ควรมีก็ตาม




                                                                                                    1
เนื่องจากในปจจุบันความรูดานการจัดทําแผนธุรกิจ ถูกใหความสําคัญจากหนวยงานตางๆ ที่
                                    
พยายามพัฒนาและผลักดันใหผูประกอบการ เพื่อใหผูประกอบการมีการวางแผน และสามารถจัดทําแผน
ธุรกิจอยางมีประสิทธิภาพ ไมวาจะเปนการจัดฝกอบรม การจัดทําคูมือเอกสาร รวมถึงตําราวิชาการ
ตางๆที่กลาวถึงการจัดทําแผนธุรกิจ การมีวิชาการเรียนการสอนดานการจัดทําแผนธุรกิจ เพื่อเปนการ
เตรียมความพรอมใหกับนักศึกษา ในการเปนผูประกอบการใหมในอนาคต ซึงรวมถึงการจัดประกวด
                                                                            ่
แผนธุรกิจทั้งในระดับอาชีวะ ปริญญาตรี ปริญญาโท จากหนวยงานหรือองคกรตางๆที่เปนผูสนับสนุน
ซึ่งผูเขียนในฐานะที่เปนทั้งวิทยากรอบรม และกรรมการพิจารณาตัดสินแผนธุรกิจในการประกวดบาง
รายการที่จัดขึ้นดังกลาว ไดเห็นถึงพัฒนาการของนักศึกษาที่มีความรูความเขาใจในการจัดทําแผนธุรกิจ
มากขึ้น             แตอยางไรก็ตามสวนใหญแลวนักศึกษายังขาดความเขาใจในประเด็นสําคัญบางประการ
โดยเฉพาะอยางยิ่งแผนธุรกิจในการแขงขันหรือการประกวด (Business Plan Competition) คือเรื่องของ
การมี Business Model ในแผนธุรกิจที่สงประกวด ที่ตองเนนในเรื่องของแนวความคิดใหมๆของธุรกิจ
(New Business Idea) หรือเปนธุรกิจที่มีความสามารถดานการแขงขัน (Competitive Edge) ดังนั้น
ผูเขียนจึงเห็นวาเรื่องของการพัฒนา Business Model สู Business Plan หรือแผนธุรกิจนี้ นาที่จะเปน
ประโยชนตอผูสนใจในเรื่องของการจัดทําแผนธุรกิจ ไมเฉพาะนักศึกษาหรือเฉพาะแผนธุรกิจที่สงเขา
ประกวดเทานัน แตยังรวมถึงผูประกอบการทั่วไปอีกดวย เพราะ Business Model ถือเปนแนวความคิด
                 ้
เริ่มตน และเปนแกนหลักสําคัญในการทีจะจัดทําแผนธุรกิจ เพื่อใหเปนแผนธุรกิจที่ดีและมีความสมบูรณ
                                         ่
ครบถวน รวมถึงกระบวนการในการคิด Business model นี้ยังเปนสิ่งที่ชวยในการกําหนดการเริ่มตน
ดําเนินการของธุรกิจ การปรับปรุงกระบวนการในการบริหารจัดการ หรือพัฒนาธุรกิจที่ดําเนินการอยู
แลวใหมีประสิทธิภาพมากยิงขึ้นอีกดวย
                              ่

          คําวา Business model นี้ยังไมมีคําจํากัดความที่ชัดเจน บางครั้งก็จะใชคําวา ตนแบบธุรกิจ
โครงรางธุรกิจ เปนตน ทั้งที่สวนใหญแลวคําวา Business model ก็เปนที่กลาวถึงและถูกใชกันอยาง
แพรหลาย แตกลับพบวาไมมีการกลาวถึงคําจํากัดความอยางชัดเจน หรือระบุถึงองคประกอบตางๆ ของ
สิ่งที่ระบุไดวา Business Model โดยคําจํากัดความของ Business model ตามที่ปรากฎในการอางอิง
ปจจุบันจาก Wikipedia, The free encyclopedia ไดระบุคําจํากัดความของ Business Model ไวคือ

         A conceptual tool that contains a set of elements and their relationships and allows
expressing the business logic of a specific firm. It is a description of the value a company offers
to one or several segments of customers and of the architecture of the firm and its network of
partners for creating, making and delivering this value and relationship capital, to generate
profitable and sustainable revenue streams.
         เครื่องมือทางความคิดที่ประกอบดวยการแสดงถึงองคประกอบตางๆ และตรรกะหรือความเปน
เหตุเปนผลในการดําเนินการขององคกร ซึ่งจะพรรณาถึงคุณคาของธุรกิจที่เสนอตอลูกคา โครงสรางของ



                                                                                                  2
องคกร และการสรางเครือขายความสัมพันธกับหุนสวนธุรกิจ การสรางและการสงมอบคุณคาและ
ความสัมพันธของการลงทุนในการสรางผลกําไรและกระแสรายรับอยางยั่งยืน
Source : Wikipedia:The free encyclopedia, Osterwalder, Pigneur and Tucci (2005)

         จากคํานิยามหรือคําจํากัดความดังกลาวขางตน อาจจะดูเปนเรื่องของนามธรรมซึ่งยากตอการ
ทําความเขาใจ ดังนั้นเพื่อใหงายตอการทําความเขาใจใน Business Model ที่จะพัฒนาไปสูการจัดทํา
แผนธุรกิจ จึงขอใหผูอานจากภาพที่แสดงถึงองคประกอบตางๆ 10 ประการที่ Business Model ควรมี
อยู หรือไดรับการคิดหรือวางแผนในการกําหนดขึ้น ตามภาพที่ 1




                     ภาพที่ 1 : องคประกอบ 10 สวนของ Business Model

Value Proposition
       สินคาหรือบริการของธุรกิจสามารถสรางอรรถประโยชน (Utility) หรือสามารถตอบสนองความ
พึงพอใจ (Satisfaction) ใหกับลูกคาไดอยางไร

Market Segments
         กลุมลูกคาที่มลักษณะทั่วไปหรือมีคุณลักษณะที่เหมาะสมกับสินคาหรือบริการของธุรกิจ ในการ
                        ี
ที่จะสรางอรรถประโยชน (Utility) หรือสามารถตอบสนองความพึงพอใจ (Satisfaction) ของธุรกิจ สินคา
หรือบริการใหกับลูกคาได




                                                                                             3
Distribution Channels
       วิธีการในการที่ธุรกิจจะเขาตลาด ซึ่งจะรวมความถึงการดําเนินการทางการตลาดและกลยุทธใน
การกําหนดชองทางจัดจําหนายที่สรางความสะดวกใหกบลูกคาเปาหมาย
                                                  ั

Customer Relationship
       วิธีการเชื่อมโยงในความสัมพันธระหวางธุรกิจกับลูกคาที่แตกตางกันในตลาด กระบวนการใน
การจัดการความเชื่อมโยงในความสัมพันธนี้ จะหมายรวมถึงการบริหารจัดการความสัมพันธของลูกคา
(Customer relationship management) ดวย

Value Configurations
       วิธีการในการจัดสรรทรัพยากรของธุรกิจ เชน ที่ดิน อาคาร เครื่องจักร อุปกรณ บุคลากร เงินทุน
รวมถึงกิจกรรมในการดําเนินการตางๆของธุรกิจที่กําหนดขึ้น ในการสรางคุณคาของธุรกิจ สินคาหรือ
บริการของธุรกิจใหเปนที่ยอมรับตอลูกคา

Core Capabilities
      ความสามารถและปจจัยสําคัญในการดําเนินการของธุรกิจสําหรับ Business Model ที่ธุรกิจ
กําหนดขึ้น

Partner Network
        เครือขายความรวมมือระหวางธุรกิจกับธุรกิจอื่นหรือบุคคลภายนอก ที่จําเปนในการดําเนินการ
ในการสรางคุณคาของธุรกิจ สินคาหรือบริการอยางมีประสิทธิภาพ เชน ผูออกแบบ ผูผลิตสินคา
ผูพัฒนาและวิจัย ผูผลิตชิ้นสวนตางๆของสินคาหรือบริการ เปนตน

Commercialize Network
       เครือขายความรวมมือระหวางธุรกิจกับธุรกิจอื่นหรือบุคคลภายนอก ในการดําเนินการทางการ
พาณิชยของธุรกิจ เชน Supplier, Dealer, Distributor, Retailer, Creditor เปนตน

Cost Structure
       โครงสรางของตนทุนคาใชจายๆตางๆทีเกิดขึ้นในการดําเนินการของธุรกิจ
                                           ่

Revenue Structure
      วิธีการหรือทีมาของรายไดของธุรกิจ
                   ่




                                                                                              4
อยางไรก็ตามองคประกอบโครงสราง Business Model จากแหลงขอมูลอื่นๆ อาจมีความ
แตกตางออกไปจากที่ระบุไวนี้ จากที่ไดกลาวมาแลววาเรื่องของ Business Model ยังไมมีตําราหรือ
เอกสารที่กลาวถึงเรื่องดังกลาวอยางชัดเจน แตอยางไรก็ตามจะเห็นไดวาในองคประกอบตางๆทั้งหมด
ของ Business Model ดังกลาวขางตนนี้ ถาผูจัดทําไดมีการวางแผนการคิดหรือการดําเนินการอยางมี
ประสิทธิภาพ        ก็แทบจะเรียกไดวามีองคประกอบหรือขอมูลสําคัญสวนใหญของแผนธุรกิจ              และ
องคประกอบเหลานี้ถือเปนปจจัยสําคัญ ที่จะเปนสิ่งที่กําหนดวาแผนธุรกิจที่จัดทําขึ้นนี้ มีประสิทธิภาพ
หรือเปนแผนธุรกิจที่ดีเพียงใด

         ดังนั้นถาผูเขียนแผนธุรกิจสามารถกําหนด Business Model ที่ถูกตองและมีประสิทธิภาพได
โดยมีการเพิ่มเติมรายละเอียดเกี่ยวกับขอมูลทางดานเทคนิค เชน กระบวนการหรือขั้นตอนทางการผลิต
ขอมูลดานบุคลากร กระบวนการจัดสรรในการลงทุน หรือทรัพยากรตางๆ และขอมูลทางดานผลลัพธที่
เกิดขึ้นจากดานเศรษฐกิจ เชน สภาวะตลาด สภาวะอุตสาหกรรม แนวโนมของตลาด สภาวะการแขงขัน
รวมถึงผลลัพธทางเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นจากการดําเนินการ เชน ผลกําไรของกิจการ มูลคาของกิจการ
เปนตน ซึ่งการพิจารณาหรือเชื่อมโยงสวนประกอบดังกลาวอยางถูกตอง จะสามารถกําหนดหรือจัดทํา
เปนแผนธุรกิจที่ดีและเหมาะสมได โดยความสัมพันธของ Business Model ขอมูลทางดานเทคนิค
และผลลัพธที่เกิดขึ้นจากดานเศรษฐกิจนี้ จะมีความสัมพันธซึ่งกันและกัน ซึ่งธุรกิจจะตองมีการ
ปรับปรุง           หรือทําการปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมตามสภาพของธุรกิจของสวนประกอบหลักนี้
เพื่อใหไดผลลัพธที่ดีทสุดเทาที่จะเปนไปไดในกระบวนการวางแผนธุรกิจ (Business Planning)
                           ี่
และจัดทําเปนแผนธุรกิจขององคกรเพื่อดําเนินการตอไปตามภาพที่ 2




         ภาพที่ 2 : กระบวนการพัฒนา Business Model ไปสูการจัดทํา Business Plan




                                                                                                    5
ภาพที่ 3 : ความสัมพันธของแผนธุรกิจที่มีแนวความคิดของ Business Model เปนศูนยกลาง

          จากภาพที่ 3 จะเห็นไดวาจากการพัฒนา Business Model ซึ่งเปนแนวความคิดในการวางแผน
หลักๆของธุรกิจ ซึ่งยังอาจไมมีรายละเอียดตางๆที่ชดเจน ไปสูแผนธุรกิจที่มีกรอบและหัวขอของการ
                                                 ั
รายละเอียดธุรกิจที่ชัดเจนมากขึ้น           โดยองคประกอบหลักๆของโครงสรางแผนธุรกิจโดยทั่วไป
ประกอบดวยเรื่องของแนวความคิดในการทําธุรกิจ การวิเคราะหตลาดและอุตสาหกรรม การวิเคราะห
ความเสี่ยงตางๆของธุรกิจ เพื่อกําหนดแผนดําเนินการของธุรกิจ อันประกอบดวยแผนบริหารจัดการ
แผนการตลาด แผนการผลิตหรือการบริการ และแผนการเงิน โดยมีภาคผนวกหรือขอมูลประกอบ โดย
ทั้งหมดนี้จะมีแนวความคิดของการวางแผนธุรกิจหรือ Business Model เปนศูนยกลาง ดังนั้นถาธุรกิจ
หรือผูจัดทําแผนธุรกิจสามารถพัฒนา Business Model ไดอยางถูกตองและมีประสิทธิภาพ ก็จะสามารถ
สรางหรือจัดทําแผนธุรกิจทีถูกตองและมีประสิทธิภาพเชนเดียวกัน
                          ่

        สุดทายนี้หวังวาผูอานคงพอจะมีความเขาใจในการพัฒนา Business Model ของธุรกิจตนเอง
ไปสูการจัดทําแผนธุรกิจที่ครบถวนสมบูรณและมีประสิทธิภาพมากยิงขึ้น ไมวาจะเปนนักศึกษาที่กําลัง
                                                                ่
จะมีการจัดทําแผนธุรกิจในการเรียน เพื่อการประกวดแขงขัน หรือผูประกอบการที่ตองการจัดทําแผน
ธุรกิจ และสําหรับผูอานที่ตองการรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการจัดจําแผนธุรกิจ สามารถศึกษา
รายละเอียดยอนหลังจากบทความที่ผเขียนไดเคยเขียนเกี่ยวกับแผนธุรกิจไวในคอลัมนนี้ คือ “10 ขอพึง
                                     ู
ระวังสําหรับแผนธุรกิจ” และ “เขาใจสักนิดกอนคิดเขียนแผนธุรกิจ” จาก Website ของสํานักงาน
สงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.), www.sme.go.th ก็จะเขาใจในรายละเอียดเกี่ยวกับ
การจัดทําแผนธุรกิจไดมากยิ่งขึ้น รวมทั้งสามารถ Download File คูมือการเขียนแผนธุรกิจ ที่ผูเขียนได
เขียนไวจาก Website ของ สสว.ไดเชนกัน




                                                                                                 6

Contenu connexe

Tendances

แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]kvlovelove
 
Business Model Canvas Handbook - Food Business
Business Model Canvas Handbook - Food BusinessBusiness Model Canvas Handbook - Food Business
Business Model Canvas Handbook - Food Businessdewberry
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการผลิต]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการผลิต]คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการผลิต]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการผลิต]siep
 
บทที่ 5 การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่คนกลาง
บทที่ 5 การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่คนกลางบทที่ 5 การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่คนกลาง
บทที่ 5 การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่คนกลางThananya Chotikakul
 
เทคนิคการสร้าง Business Model Canvas
เทคนิคการสร้าง Business Model Canvasเทคนิคการสร้าง Business Model Canvas
เทคนิคการสร้าง Business Model CanvasRatchakrit Klongpayabal
 
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์tra thailand
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการค้า]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการค้า]คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการค้า]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการค้า]siep
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจการค้า สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย...
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจการค้า สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย...คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจการค้า สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย...
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจการค้า สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย...Vorawut Wongumpornpinit
 
การวิเคราะห์ SWOT
การวิเคราะห์ SWOTการวิเคราะห์ SWOT
การวิเคราะห์ SWOTHenry Shen
 
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
เทคนิคการสร้าง Value proposition canvas
เทคนิคการสร้าง Value proposition canvasเทคนิคการสร้าง Value proposition canvas
เทคนิคการสร้าง Value proposition canvasRatchakrit Klongpayabal
 
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภคการส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภคUsableLabs
 
The balanced scorecard (bsc)
The balanced scorecard (bsc)The balanced scorecard (bsc)
The balanced scorecard (bsc)Tum Aditap
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecreamตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecreamNattakorn Sunkdon
 

Tendances (20)

การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอการเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
 
แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]
 
Business Model Canvas Tools
Business Model Canvas ToolsBusiness Model Canvas Tools
Business Model Canvas Tools
 
Business Model Canvas Handbook - Food Business
Business Model Canvas Handbook - Food BusinessBusiness Model Canvas Handbook - Food Business
Business Model Canvas Handbook - Food Business
 
BrandNew
BrandNewBrandNew
BrandNew
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการผลิต]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการผลิต]คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการผลิต]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการผลิต]
 
บทที่ 5 การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่คนกลาง
บทที่ 5 การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่คนกลางบทที่ 5 การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่คนกลาง
บทที่ 5 การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่คนกลาง
 
เทคนิคการสร้าง Business Model Canvas
เทคนิคการสร้าง Business Model Canvasเทคนิคการสร้าง Business Model Canvas
เทคนิคการสร้าง Business Model Canvas
 
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
 
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการค้า]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการค้า]คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการค้า]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการค้า]
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจการค้า สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย...
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจการค้า สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย...คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจการค้า สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย...
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจการค้า สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย...
 
การวิเคราะห์ SWOT
การวิเคราะห์ SWOTการวิเคราะห์ SWOT
การวิเคราะห์ SWOT
 
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
 
เทคนิคการสร้าง Value proposition canvas
เทคนิคการสร้าง Value proposition canvasเทคนิคการสร้าง Value proposition canvas
เทคนิคการสร้าง Value proposition canvas
 
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภคการส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
 
The balanced scorecard (bsc)
The balanced scorecard (bsc)The balanced scorecard (bsc)
The balanced scorecard (bsc)
 
STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)
STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)
STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecreamตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
 

En vedette

Channel Of Distribution
Channel Of DistributionChannel Of Distribution
Channel Of DistributionChill Ochawin
 
Operation Management 01
Operation Management 01Operation Management 01
Operation Management 01Chill Ochawin
 
ตลากบางกอก
ตลากบางกอกตลากบางกอก
ตลากบางกอกtdtime
 
บัญชีเบื้องต้น
บัญชีเบื้องต้นบัญชีเบื้องต้น
บัญชีเบื้องต้นkraisri2503
 
การบริหารการจัดจำหน่าย
การบริหารการจัดจำหน่าย การบริหารการจัดจำหน่าย
การบริหารการจัดจำหน่าย Boohsapun Thopkuntho
 
BUILK SiteWalk - Available on App Store
BUILK SiteWalk - Available on App StoreBUILK SiteWalk - Available on App Store
BUILK SiteWalk - Available on App StorePatai Padungtin
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketinghalato
 
งบการเงิน
งบการเงินงบการเงิน
งบการเงินsiriwaan seudee
 
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารการบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารYeah Pitloke
 
การจัดการและการปฏิบัติงานส่วนหน้า
การจัดการและการปฏิบัติงานส่วนหน้าการจัดการและการปฏิบัติงานส่วนหน้า
การจัดการและการปฏิบัติงานส่วนหน้าNattapakwichan Joysena
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดNattakorn Sunkdon
 
งานนำเสนอจริง
งานนำเสนอจริงงานนำเสนอจริง
งานนำเสนอจริงpeace naja
 
CREATIVE BUSINESS - CITY BRANDING | TK PARK YALA 2013
CREATIVE BUSINESS - CITY BRANDING | TK PARK YALA 2013CREATIVE BUSINESS - CITY BRANDING | TK PARK YALA 2013
CREATIVE BUSINESS - CITY BRANDING | TK PARK YALA 2013Anunta Intra-aksorn
 

En vedette (20)

Channel Of Distribution
Channel Of DistributionChannel Of Distribution
Channel Of Distribution
 
Operation Management 01
Operation Management 01Operation Management 01
Operation Management 01
 
ตลากบางกอก
ตลากบางกอกตลากบางกอก
ตลากบางกอก
 
บัญชีเบื้องต้น
บัญชีเบื้องต้นบัญชีเบื้องต้น
บัญชีเบื้องต้น
 
Verbs1
Verbs1Verbs1
Verbs1
 
การบริหารการจัดจำหน่าย
การบริหารการจัดจำหน่าย การบริหารการจัดจำหน่าย
การบริหารการจัดจำหน่าย
 
BUILK SiteWalk - Available on App Store
BUILK SiteWalk - Available on App StoreBUILK SiteWalk - Available on App Store
BUILK SiteWalk - Available on App Store
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
งบการเงิน
งบการเงินงบการเงิน
งบการเงิน
 
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
 
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารการบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหาร
 
การจัดการและการปฏิบัติงานส่วนหน้า
การจัดการและการปฏิบัติงานส่วนหน้าการจัดการและการปฏิบัติงานส่วนหน้า
การจัดการและการปฏิบัติงานส่วนหน้า
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
 
Lean present opd_2551
Lean present opd_2551Lean present opd_2551
Lean present opd_2551
 
ยุทธศาสตร์ พช 60 64
ยุทธศาสตร์ พช 60 64ยุทธศาสตร์ พช 60 64
ยุทธศาสตร์ พช 60 64
 
แนวสรุปนักพัฒนาชุมชน99
แนวสรุปนักพัฒนาชุมชน99แนวสรุปนักพัฒนาชุมชน99
แนวสรุปนักพัฒนาชุมชน99
 
งานนำเสนอจริง
งานนำเสนอจริงงานนำเสนอจริง
งานนำเสนอจริง
 
CREATIVE BUSINESS - CITY BRANDING | TK PARK YALA 2013
CREATIVE BUSINESS - CITY BRANDING | TK PARK YALA 2013CREATIVE BUSINESS - CITY BRANDING | TK PARK YALA 2013
CREATIVE BUSINESS - CITY BRANDING | TK PARK YALA 2013
 
Business plan
Business planBusiness plan
Business plan
 

Similaire à Business model to Business plan

หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจthanathip
 
Business Plan Guideline_Supavadee 17012023.pdf
Business Plan Guideline_Supavadee 17012023.pdfBusiness Plan Guideline_Supavadee 17012023.pdf
Business Plan Guideline_Supavadee 17012023.pdfSupavadee(Noi) Tantiyanon
 
ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI
ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI
ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI maruay songtanin
 
แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planinnoobecgoth
 
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัด
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัดPresentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัด
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัดNopporn Thepsithar
 
804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)pattarawadee
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจภาคการผลิต
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจภาคการผลิตคู่มือการเขียนแผนธุรกิจภาคการผลิต
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจภาคการผลิตMobile_Clinic
 
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรการบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรWichien Juthamongkol
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Wichien Juthamongkol
 
#8 boston consulting group
#8 boston consulting group#8 boston consulting group
#8 boston consulting groupSaran Yuwanna
 
คู่มือการวางแผนธุรกิจ
คู่มือการวางแผนธุรกิจคู่มือการวางแผนธุรกิจ
คู่มือการวางแผนธุรกิจMobile_Clinic
 
(Vision.mission,goal,strategy sales team)
(Vision.mission,goal,strategy sales team)(Vision.mission,goal,strategy sales team)
(Vision.mission,goal,strategy sales team)Nipat Supatkosit
 
บทที่2 การวางแผนธุรกิจที่ดีมีประโยชน์อย่างไร
บทที่2 การวางแผนธุรกิจที่ดีมีประโยชน์อย่างไรบทที่2 การวางแผนธุรกิจที่ดีมีประโยชน์อย่างไร
บทที่2 การวางแผนธุรกิจที่ดีมีประโยชน์อย่างไรkkampanat
 

Similaire à Business model to Business plan (20)

หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
 
Business Plan Guideline_Supavadee 17012023.pdf
Business Plan Guideline_Supavadee 17012023.pdfBusiness Plan Guideline_Supavadee 17012023.pdf
Business Plan Guideline_Supavadee 17012023.pdf
 
Business plan chap4
Business plan chap4Business plan chap4
Business plan chap4
 
ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI
ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI
ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI
 
แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Plan
 
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัด
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัดPresentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัด
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัด
 
Plans
PlansPlans
Plans
 
804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจภาคการผลิต
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจภาคการผลิตคู่มือการเขียนแผนธุรกิจภาคการผลิต
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจภาคการผลิต
 
คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้
 
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรการบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
#8 boston consulting group
#8 boston consulting group#8 boston consulting group
#8 boston consulting group
 
Case Study : Customer Centric & Lead User 2
Case Study : Customer Centric & Lead User 2Case Study : Customer Centric & Lead User 2
Case Study : Customer Centric & Lead User 2
 
คู่มือการวางแผนธุรกิจ
คู่มือการวางแผนธุรกิจคู่มือการวางแผนธุรกิจ
คู่มือการวางแผนธุรกิจ
 
Financial Management for NEC
Financial Management for NECFinancial Management for NEC
Financial Management for NEC
 
e-commerce
e-commercee-commerce
e-commerce
 
(Vision.mission,goal,strategy sales team)
(Vision.mission,goal,strategy sales team)(Vision.mission,goal,strategy sales team)
(Vision.mission,goal,strategy sales team)
 
บทที่2 การวางแผนธุรกิจที่ดีมีประโยชน์อย่างไร
บทที่2 การวางแผนธุรกิจที่ดีมีประโยชน์อย่างไรบทที่2 การวางแผนธุรกิจที่ดีมีประโยชน์อย่างไร
บทที่2 การวางแผนธุรกิจที่ดีมีประโยชน์อย่างไร
 
B2B_Brochure_200914_10.10
B2B_Brochure_200914_10.10B2B_Brochure_200914_10.10
B2B_Brochure_200914_10.10
 

Plus de Mahasarakham Business School, Mahasarakham University

การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireเนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 

Plus de Mahasarakham Business School, Mahasarakham University (20)

Google 2010 case study gm
Google 2010 case study gmGoogle 2010 case study gm
Google 2010 case study gm
 
ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
 
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
 
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
 
Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)
 
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
 
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
 
International market selection (Ch.4) - Global Marketing
International market selection (Ch.4) - Global MarketingInternational market selection (Ch.4) - Global Marketing
International market selection (Ch.4) - Global Marketing
 
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
 
Key economic indicators of thailand
Key economic indicators of thailandKey economic indicators of thailand
Key economic indicators of thailand
 
Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1
 
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
 
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
 
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
 
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
 
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireเนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
 
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
 
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
 

Business model to Business plan

  • 1. Business Model to Business Plan รัชกฤช คลองพยาบาล ที่ปรึกษา SMEs ดานการเงินและรวมลงทุน ฝายประสานและบริการ SMEs สํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.) ผูเขียนมักไดรบการสอบถามเกี่ยวกับเรื่องของการจัดทําแผนธุรกิจ จากผูประกอบการหรือผูเขา ั รับการอบรมวาแผนธุรกิจทีดีและถูกตองควรจะเปนเชนใด ่ และตองมีองคประกอบใดบางจึงจะถือวา ครบถวน ซึ่งในฐานะทีปรึกษาธุรกิจและวิทยากรอบรมดานการจัดทําแผนธุรกิจ ผูเขียนก็จะชี้แจง ่ รายละเอียดตางๆใหผูถาม หรือผูอบรมรับทราบอยูเสมอถึงองคประกอบตางๆที่แผนธุรกิจควรมี รวมถึง ไดเขียนคูมือการเขียนแผนธุรกิจ ที่ใชเปนคูมือในการจัดทําแผนธุรกิจใหแกผูประกอบการ และผูสนใจ ทั่วไปทั้งที่เปนหนังสือคูมือ และการ Download File จาก Website ของสสว. แตก็ยังมีผูประกอบการ บางรายสอบถามผูเขียนวา ถาตนเองเขียนหรือแสดงรายละเอียดตามหัวขอตางๆที่ปรากฏในคูมือการ เขียนแผนธุรกิจของ สสว. หรือจากโครงสรางการเขียนแผนธุรกิจจากหนวยงานอื่นๆก็ตาม จะถือวาเปน แผนธุรกิจที่ใชไดหรือเปนแผนธุรกิจที่ดีใชหรือไม ซึ่งผูเขียนก็ตอบประเด็นดังกลาว ไปตามลักษณะของ แผนธุรกิจที่ผประกอบการรายนั้นสอบถามมาเปนกรณีไป ู แตเนื่องจากคํานิยามของแผนธุรกิจมีคอนขางหลากหลาย สําหรับผูเขียนแลวคําจํากัดความของ แผนธุรกิจจะหมายถึง “เอกสารซึ่งแสดงถึงขอมูลและรายละเอียดของธุรกิจ รวมถึงวิธีการและ กระบวนการในการดําเนินการของธุรกิจในทุกดาน ที่ไดผานการวางแผนขึ้นตามเปาหมายและ วัตถุประสงคของธุรกิจนั้น รวมถึงแสดงใหเห็นถึงผลลัพธที่เกิดขึ้นของธุรกิจจากวิธีการและ กระบวนการในการดําเนินการของธุรกิจที่ไดกําหนดขึ้น” ซึ่งที่ตองระบุวาเปนเอกสาร (Document) นั้น ก็เพราะวาถาไมมีการจัดทําเปนเอกสารหรือลายลักษณอักษร ก็จะเปนเรื่องของการวางแผนธุรกิจ (Business Planning) โดยมิไดพิจารณาถึงเรื่องของหนาที่ของแผนธุรกิจ ที่เปนเครื่องมือในการสื่อสาร ของการวางแผนธุรกิจตอผูอานหรือบุคคลภายนอก หรือถากลาวโดยงาย แผนธุรกิจ (Business  Plan) ก็คือเอกสารที่แสดงถึงการวางแผนของธุรกิจนั่นเอง ดังนั้นถาผูจัดทําแสดงรายละเอียดได ครบถวน แตไมมการวางแผนในการทําธุรกิจที่ดี ก็จะเปนเพียงแตเอกสารที่เรียกวาแผนธุรกิจเทานั้น แต ี ไมถือไดวาเปนแผนธุรกิจทีถูกตองหรือเปนแผนธุรกิจที่ดี นอกจากนี้การวางแผนธุรกิจคือการวางแผนวา ่ ธุรกิจจะทําอะไรในวันนี้ หรือปจจุบันรวมถึงในอนาคตของธุรกิจ และจะเกิดผลลัพธอะไรขึ้นจากการ กระทํานั้น ดังนั้นถาไมสามารถแสดงผลลัพธหรือที่มาของการกระทําดังกลาวได ซึ่งมักเปนเรื่องของการ ประมาณการตางๆ เชน ทีมาของลูกคา ยอดขาย ตนทุน ผลกําไร ใหเปนที่เชื่อถือของผูอานแผนธุรกิจวา ่ เปนจริงหรือสามารถเกิดขึ้นไดตามที่ระบุไวในแผนธุรกิจ ก็ไมถือวาเปนแผนธุรกิจทีดีเชนเดียวกัน แมวา ่ จะมีขอมูลครบถวนตามหัวขอตางๆของแผนธุรกิจที่ควรมีก็ตาม 1
  • 2. เนื่องจากในปจจุบันความรูดานการจัดทําแผนธุรกิจ ถูกใหความสําคัญจากหนวยงานตางๆ ที่  พยายามพัฒนาและผลักดันใหผูประกอบการ เพื่อใหผูประกอบการมีการวางแผน และสามารถจัดทําแผน ธุรกิจอยางมีประสิทธิภาพ ไมวาจะเปนการจัดฝกอบรม การจัดทําคูมือเอกสาร รวมถึงตําราวิชาการ ตางๆที่กลาวถึงการจัดทําแผนธุรกิจ การมีวิชาการเรียนการสอนดานการจัดทําแผนธุรกิจ เพื่อเปนการ เตรียมความพรอมใหกับนักศึกษา ในการเปนผูประกอบการใหมในอนาคต ซึงรวมถึงการจัดประกวด ่ แผนธุรกิจทั้งในระดับอาชีวะ ปริญญาตรี ปริญญาโท จากหนวยงานหรือองคกรตางๆที่เปนผูสนับสนุน ซึ่งผูเขียนในฐานะที่เปนทั้งวิทยากรอบรม และกรรมการพิจารณาตัดสินแผนธุรกิจในการประกวดบาง รายการที่จัดขึ้นดังกลาว ไดเห็นถึงพัฒนาการของนักศึกษาที่มีความรูความเขาใจในการจัดทําแผนธุรกิจ มากขึ้น แตอยางไรก็ตามสวนใหญแลวนักศึกษายังขาดความเขาใจในประเด็นสําคัญบางประการ โดยเฉพาะอยางยิ่งแผนธุรกิจในการแขงขันหรือการประกวด (Business Plan Competition) คือเรื่องของ การมี Business Model ในแผนธุรกิจที่สงประกวด ที่ตองเนนในเรื่องของแนวความคิดใหมๆของธุรกิจ (New Business Idea) หรือเปนธุรกิจที่มีความสามารถดานการแขงขัน (Competitive Edge) ดังนั้น ผูเขียนจึงเห็นวาเรื่องของการพัฒนา Business Model สู Business Plan หรือแผนธุรกิจนี้ นาที่จะเปน ประโยชนตอผูสนใจในเรื่องของการจัดทําแผนธุรกิจ ไมเฉพาะนักศึกษาหรือเฉพาะแผนธุรกิจที่สงเขา ประกวดเทานัน แตยังรวมถึงผูประกอบการทั่วไปอีกดวย เพราะ Business Model ถือเปนแนวความคิด ้ เริ่มตน และเปนแกนหลักสําคัญในการทีจะจัดทําแผนธุรกิจ เพื่อใหเปนแผนธุรกิจที่ดีและมีความสมบูรณ ่ ครบถวน รวมถึงกระบวนการในการคิด Business model นี้ยังเปนสิ่งที่ชวยในการกําหนดการเริ่มตน ดําเนินการของธุรกิจ การปรับปรุงกระบวนการในการบริหารจัดการ หรือพัฒนาธุรกิจที่ดําเนินการอยู แลวใหมีประสิทธิภาพมากยิงขึ้นอีกดวย ่ คําวา Business model นี้ยังไมมีคําจํากัดความที่ชัดเจน บางครั้งก็จะใชคําวา ตนแบบธุรกิจ โครงรางธุรกิจ เปนตน ทั้งที่สวนใหญแลวคําวา Business model ก็เปนที่กลาวถึงและถูกใชกันอยาง แพรหลาย แตกลับพบวาไมมีการกลาวถึงคําจํากัดความอยางชัดเจน หรือระบุถึงองคประกอบตางๆ ของ สิ่งที่ระบุไดวา Business Model โดยคําจํากัดความของ Business model ตามที่ปรากฎในการอางอิง ปจจุบันจาก Wikipedia, The free encyclopedia ไดระบุคําจํากัดความของ Business Model ไวคือ A conceptual tool that contains a set of elements and their relationships and allows expressing the business logic of a specific firm. It is a description of the value a company offers to one or several segments of customers and of the architecture of the firm and its network of partners for creating, making and delivering this value and relationship capital, to generate profitable and sustainable revenue streams. เครื่องมือทางความคิดที่ประกอบดวยการแสดงถึงองคประกอบตางๆ และตรรกะหรือความเปน เหตุเปนผลในการดําเนินการขององคกร ซึ่งจะพรรณาถึงคุณคาของธุรกิจที่เสนอตอลูกคา โครงสรางของ 2
  • 3. องคกร และการสรางเครือขายความสัมพันธกับหุนสวนธุรกิจ การสรางและการสงมอบคุณคาและ ความสัมพันธของการลงทุนในการสรางผลกําไรและกระแสรายรับอยางยั่งยืน Source : Wikipedia:The free encyclopedia, Osterwalder, Pigneur and Tucci (2005) จากคํานิยามหรือคําจํากัดความดังกลาวขางตน อาจจะดูเปนเรื่องของนามธรรมซึ่งยากตอการ ทําความเขาใจ ดังนั้นเพื่อใหงายตอการทําความเขาใจใน Business Model ที่จะพัฒนาไปสูการจัดทํา แผนธุรกิจ จึงขอใหผูอานจากภาพที่แสดงถึงองคประกอบตางๆ 10 ประการที่ Business Model ควรมี อยู หรือไดรับการคิดหรือวางแผนในการกําหนดขึ้น ตามภาพที่ 1 ภาพที่ 1 : องคประกอบ 10 สวนของ Business Model Value Proposition สินคาหรือบริการของธุรกิจสามารถสรางอรรถประโยชน (Utility) หรือสามารถตอบสนองความ พึงพอใจ (Satisfaction) ใหกับลูกคาไดอยางไร Market Segments กลุมลูกคาที่มลักษณะทั่วไปหรือมีคุณลักษณะที่เหมาะสมกับสินคาหรือบริการของธุรกิจ ในการ ี ที่จะสรางอรรถประโยชน (Utility) หรือสามารถตอบสนองความพึงพอใจ (Satisfaction) ของธุรกิจ สินคา หรือบริการใหกับลูกคาได 3
  • 4. Distribution Channels วิธีการในการที่ธุรกิจจะเขาตลาด ซึ่งจะรวมความถึงการดําเนินการทางการตลาดและกลยุทธใน การกําหนดชองทางจัดจําหนายที่สรางความสะดวกใหกบลูกคาเปาหมาย ั Customer Relationship วิธีการเชื่อมโยงในความสัมพันธระหวางธุรกิจกับลูกคาที่แตกตางกันในตลาด กระบวนการใน การจัดการความเชื่อมโยงในความสัมพันธนี้ จะหมายรวมถึงการบริหารจัดการความสัมพันธของลูกคา (Customer relationship management) ดวย Value Configurations วิธีการในการจัดสรรทรัพยากรของธุรกิจ เชน ที่ดิน อาคาร เครื่องจักร อุปกรณ บุคลากร เงินทุน รวมถึงกิจกรรมในการดําเนินการตางๆของธุรกิจที่กําหนดขึ้น ในการสรางคุณคาของธุรกิจ สินคาหรือ บริการของธุรกิจใหเปนที่ยอมรับตอลูกคา Core Capabilities ความสามารถและปจจัยสําคัญในการดําเนินการของธุรกิจสําหรับ Business Model ที่ธุรกิจ กําหนดขึ้น Partner Network เครือขายความรวมมือระหวางธุรกิจกับธุรกิจอื่นหรือบุคคลภายนอก ที่จําเปนในการดําเนินการ ในการสรางคุณคาของธุรกิจ สินคาหรือบริการอยางมีประสิทธิภาพ เชน ผูออกแบบ ผูผลิตสินคา ผูพัฒนาและวิจัย ผูผลิตชิ้นสวนตางๆของสินคาหรือบริการ เปนตน Commercialize Network เครือขายความรวมมือระหวางธุรกิจกับธุรกิจอื่นหรือบุคคลภายนอก ในการดําเนินการทางการ พาณิชยของธุรกิจ เชน Supplier, Dealer, Distributor, Retailer, Creditor เปนตน Cost Structure โครงสรางของตนทุนคาใชจายๆตางๆทีเกิดขึ้นในการดําเนินการของธุรกิจ ่ Revenue Structure วิธีการหรือทีมาของรายไดของธุรกิจ ่ 4
  • 5. อยางไรก็ตามองคประกอบโครงสราง Business Model จากแหลงขอมูลอื่นๆ อาจมีความ แตกตางออกไปจากที่ระบุไวนี้ จากที่ไดกลาวมาแลววาเรื่องของ Business Model ยังไมมีตําราหรือ เอกสารที่กลาวถึงเรื่องดังกลาวอยางชัดเจน แตอยางไรก็ตามจะเห็นไดวาในองคประกอบตางๆทั้งหมด ของ Business Model ดังกลาวขางตนนี้ ถาผูจัดทําไดมีการวางแผนการคิดหรือการดําเนินการอยางมี ประสิทธิภาพ ก็แทบจะเรียกไดวามีองคประกอบหรือขอมูลสําคัญสวนใหญของแผนธุรกิจ และ องคประกอบเหลานี้ถือเปนปจจัยสําคัญ ที่จะเปนสิ่งที่กําหนดวาแผนธุรกิจที่จัดทําขึ้นนี้ มีประสิทธิภาพ หรือเปนแผนธุรกิจที่ดีเพียงใด ดังนั้นถาผูเขียนแผนธุรกิจสามารถกําหนด Business Model ที่ถูกตองและมีประสิทธิภาพได โดยมีการเพิ่มเติมรายละเอียดเกี่ยวกับขอมูลทางดานเทคนิค เชน กระบวนการหรือขั้นตอนทางการผลิต ขอมูลดานบุคลากร กระบวนการจัดสรรในการลงทุน หรือทรัพยากรตางๆ และขอมูลทางดานผลลัพธที่ เกิดขึ้นจากดานเศรษฐกิจ เชน สภาวะตลาด สภาวะอุตสาหกรรม แนวโนมของตลาด สภาวะการแขงขัน รวมถึงผลลัพธทางเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นจากการดําเนินการ เชน ผลกําไรของกิจการ มูลคาของกิจการ เปนตน ซึ่งการพิจารณาหรือเชื่อมโยงสวนประกอบดังกลาวอยางถูกตอง จะสามารถกําหนดหรือจัดทํา เปนแผนธุรกิจที่ดีและเหมาะสมได โดยความสัมพันธของ Business Model ขอมูลทางดานเทคนิค และผลลัพธที่เกิดขึ้นจากดานเศรษฐกิจนี้ จะมีความสัมพันธซึ่งกันและกัน ซึ่งธุรกิจจะตองมีการ ปรับปรุง หรือทําการปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมตามสภาพของธุรกิจของสวนประกอบหลักนี้ เพื่อใหไดผลลัพธที่ดีทสุดเทาที่จะเปนไปไดในกระบวนการวางแผนธุรกิจ (Business Planning) ี่ และจัดทําเปนแผนธุรกิจขององคกรเพื่อดําเนินการตอไปตามภาพที่ 2 ภาพที่ 2 : กระบวนการพัฒนา Business Model ไปสูการจัดทํา Business Plan 5
  • 6. ภาพที่ 3 : ความสัมพันธของแผนธุรกิจที่มีแนวความคิดของ Business Model เปนศูนยกลาง จากภาพที่ 3 จะเห็นไดวาจากการพัฒนา Business Model ซึ่งเปนแนวความคิดในการวางแผน หลักๆของธุรกิจ ซึ่งยังอาจไมมีรายละเอียดตางๆที่ชดเจน ไปสูแผนธุรกิจที่มีกรอบและหัวขอของการ ั รายละเอียดธุรกิจที่ชัดเจนมากขึ้น โดยองคประกอบหลักๆของโครงสรางแผนธุรกิจโดยทั่วไป ประกอบดวยเรื่องของแนวความคิดในการทําธุรกิจ การวิเคราะหตลาดและอุตสาหกรรม การวิเคราะห ความเสี่ยงตางๆของธุรกิจ เพื่อกําหนดแผนดําเนินการของธุรกิจ อันประกอบดวยแผนบริหารจัดการ แผนการตลาด แผนการผลิตหรือการบริการ และแผนการเงิน โดยมีภาคผนวกหรือขอมูลประกอบ โดย ทั้งหมดนี้จะมีแนวความคิดของการวางแผนธุรกิจหรือ Business Model เปนศูนยกลาง ดังนั้นถาธุรกิจ หรือผูจัดทําแผนธุรกิจสามารถพัฒนา Business Model ไดอยางถูกตองและมีประสิทธิภาพ ก็จะสามารถ สรางหรือจัดทําแผนธุรกิจทีถูกตองและมีประสิทธิภาพเชนเดียวกัน ่ สุดทายนี้หวังวาผูอานคงพอจะมีความเขาใจในการพัฒนา Business Model ของธุรกิจตนเอง ไปสูการจัดทําแผนธุรกิจที่ครบถวนสมบูรณและมีประสิทธิภาพมากยิงขึ้น ไมวาจะเปนนักศึกษาที่กําลัง ่ จะมีการจัดทําแผนธุรกิจในการเรียน เพื่อการประกวดแขงขัน หรือผูประกอบการที่ตองการจัดทําแผน ธุรกิจ และสําหรับผูอานที่ตองการรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการจัดจําแผนธุรกิจ สามารถศึกษา รายละเอียดยอนหลังจากบทความที่ผเขียนไดเคยเขียนเกี่ยวกับแผนธุรกิจไวในคอลัมนนี้ คือ “10 ขอพึง ู ระวังสําหรับแผนธุรกิจ” และ “เขาใจสักนิดกอนคิดเขียนแผนธุรกิจ” จาก Website ของสํานักงาน สงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.), www.sme.go.th ก็จะเขาใจในรายละเอียดเกี่ยวกับ การจัดทําแผนธุรกิจไดมากยิ่งขึ้น รวมทั้งสามารถ Download File คูมือการเขียนแผนธุรกิจ ที่ผูเขียนได เขียนไวจาก Website ของ สสว.ไดเชนกัน 6