SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  140
Télécharger pour lire hors ligne
การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย                                                              291


                                                 บทที่ 4
                                         กลุมอุตสาหกรรมอาหาร

             เมื่อกลาวถึงการพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ อุตสาหกรรมอาหารเปนหนึ่งในหลาย
อุตสาหกรรมที่มีบทบาทสําคัญเปนอยางยิ่ง เนื่องจากปจจุบันรัฐบาลมีแนวคิดและนโยบายใหประเทศไทยเปนผูนําทางการ
ผลิต และการสงออกอาหารอยางมีเสถียรภาพ โดยวาดฝนใหไทยเปน “ครัวของโลก” ซึ่งการดําเนินงานตามแนวนโยบาย
ของรัฐบาล คณะทํางานรวมระหวางสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และสถาบันบัณฑิต
บริหารธุรกิจ ศศินทร แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดวางกรอบการศึกษา โดยประยุกตใชหลักคิดตามทฤษฎีของ
Michael E. Porter มาใชในการประเมินและวิเคราะหอุตสาหกรรมอาหาร นั่นคือ การมองภาพของอุตสาหกรรม
ในลักษณะเครือขายวิสาหกิจ และใช Diamond Model เปนเครื่องมือในการวิเคราะหเครือขายวิสาหกิจ จุดเดนของการ
ศึกษาตามทฤษฎีท่กลาวมานั้น คือ กอนที่จะวางเปาหมายและทิศทางการดําเนินการของประเทศ จําเปนที่จะตองหันกลับ
                  ี
มามองภาพของประเทศใหแนชัดเสียกอน โดยการประเมินและวิเคราะหใหเห็นถึงศักยภาพที่แทจริง จุดแข็ง และจุดออน
ของอุตสาหกรรม ดังนั้นการศึกษาอุตสาหกรรมอาหารในครั้งนี้จึงมุงเนนในการวิเคราะหภาพรวมของอุตสาหกรรมมากกวา
การวิเคราะหแยกรายอุตสาหกรรมยอย เพื่อนําผลการวิเคราะหมาใชในการพัฒนาและแกไขปญหาของทั้งอุตสาหกรรม

4.1 ภาพรวมของอุตสาหกรรมอาหาร

     การประเมินขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรมอาหาร ตามทฤษฎีของ Michael E. Porter จะเริ่ม
จากการกลาวถึงประวัติการพัฒนาเครือขายวิสาหกิจ และองคประกอบของเครือขายวิสาหกิจ ตอจากนั้นจะเปนการ
วิเคราะหประสิทธิภาพของเครือขายวิสาหกิจ

      อุตสาหกรรมอาหารเปนอุตสาหกรรมขนาดใหญ ประกอบไปดวยอุตสาหกรรมกรรมยอยสาขาตาง ๆ มากมาย ดังนั้น
จึงจําเปนที่จะตองกําหนดขอบเขต และคําจํากัดความของอุตสาหกรรมอาหารใหมีความชัดเจนและครอบคลุม ดังที่จะได
กลาวถึงในรายละเอียดตอไปนี้

     4.1.1 โครงสรางและพัฒนาการเครือขายวิสาหกิจ (Cluster profile and development)

               อุตสาหกรรมอาหาร เปนอุตสาหกรรมหนึ่งที่มีกระบวนการผลิตหลากหลายขั้นตอนและผลผลิตของแตละ
ขั้นตอนนั้นยังสามารถนําไปใชงานตอไดในหลากหลายรูปแบบ เชน สินคาหนึ่งเมื่อผานกระบวนขั้นตนแลวก็จะสามารถนํา
ไปบริโภคโดยตรงทันที หรือนําไปผานกระบวนการปรุง การแปรรูปอยางงาย ไปจนถึงการแปรรูปขั้นสูงขึ้นไปไดเชนเดียวกัน
ในการศึกษานี้ไดใชแนวความคิดเครือขายวิสาหกิจ ดวยการจัดแบบกลุมกิจกรรมตางๆ ที่เกิดขึ้นทั้งที่เกี่ยวของโดยตรง
และที่เปนเพียงการสนับสนุนหรือองคกรอื่นๆ ดังแผนภาพที่ 4.1
292                                                                                                                            การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย


                                                                                                                                              หนวยงานภาครัฐ
                                                                                                                                               หนวยงานภาครัฐ
   อุตสาหกรรมสนับสนุนและเกี่ยวโยงกัน                                                                                                          ••กระทรวงเกษตรและสหกรณ
                                                                                                                                                กระทรวงเกษตรและสหกรณ
                                                                                                                                              ••กระทรวงอุตสาหกรรม
                                                                                                                                                กระทรวงอุตสาหกรรม
                                                                                                                                              ••คณะกรรมสงงเสริมการลงทุน 
                                                                                                                                                คณะกรรมส เสริมการลงทุน
      ภาคเกษตรกรรม                                                                  กิจกรรมหลัก                                               ••กระทรวงพาณิชย
                                                                                                                                                กระทรวงพาณิชย
      ภาคเกษตรกรรม                                                                                                                            ••กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
                                                                                                                                                กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
      •กสิกรรม
      •กสิกรรม                                                                                                                                ••กระทรวงแรงงาน
      •ปศุสัตว                                                                                                                                 กระทรวงแรงงาน
      •ปศุสัตว                                                                                                                               ••กระทรวงคมนาคม
                                                                                                                                                กระทรวงคมนาคม
      •ประมง
      •ประมง                                                                                                                                  ••กระทรวงตางประเทศ
                                                                                                                                                กระทรวงตางประเทศ
                                                        กิจกรรมหลังงเก็บเกี่ยว
                                                        กิจกรรมหลั เก็บเกี่ยว     กิจกรรมแปรรูปขั้นตน
                                                                                  กิจกรรมแปรรูปขั้นตน         กิจกรรมแปรรูปขั้นสูงง
                                                                                                               กิจกรรมแปรรูปขั้นสู            ••กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
                                                         (Post Harvest)            (Semi Process)               (Process)                       กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
                                                          (Post Harvest)            (Semi Process)               (Process)                      สิ่ง่งแวดลอม
                                                                                                                                                สิ แวดลอม
      อุตสาหกรรมที่เ่เกี่ยวโยงอื่น ๆ
      อุตสาหกรรมที กี่ยวโยงอื่น ๆ                                                                                                             ••กระทรวงสาธารณสุข
      •ผูเเพาะเลี้ยงพอพันธุแมพันธุ                                                                                                       กระทรวงสาธารณสุข
      •ผู พาะเลี้ยงพอพันธุแมพันธุ                    •คัดแยกเกรด
                                                        •คัดแยกเกรด               •โรงสี
                                                                                  •โรงสี                       •การ Dehydration
                                                                                                               •การ Dehydration               ••กระทรวงการคลังง
                                                                                                                                                กระทรวงการคลั
      •ตลาดประมูล
      •ตลาดประมูล                                                                                                                             ••กระทรวงมหาดไทย
                                                                                                                                                กระทรวงมหาดไทย
      •หองเย็น
      •หองเย็น                                         •โรงฆาสัตว
                                                        •โรงฆาสัตว              •การดอง การหมัก
                                                                                  •การดอง การหมัก              •การใชความรอน
                                                                                                               •การใชความรอน
      •บรรจุภัณฑ
      •บรรจุภัณฑ                                                                                               (Thermal)
                                                                                                                 (Thermal)
      •เครื่องมือ เครื่องจักรร
      •เครื่องมือ เครื่องจัก                                                      •ฉายแสง                                                     ธุรกิจบริการ
                                                                                                                                              ธุรกิจบริการ
                                                                                  •ฉายแสง                                                     •ประกันภัย // สถาบันการเงิน
                                                                                                                                              •ประกันภัย สถาบันการเงิน
      •บริการตรวจสอบคุณภาพ
      •บริการตรวจสอบคุณภาพ                                                                                     •การบรรจุกระปองง
                                                                                                               •การบรรจุกระปอ                •ธกส.
                                                                                                                                              •ธกส.
                                                                                  •การตมสุก
                                                                                  •การตมสุก                                                  •การขนสงง และลําเลียงสินคา
                                                                                                                                              •การขนส และลําเลียงสินคา
                                                                                                               •การแชแข็งงอาหารปรุงง
                                                                                                               •การแชแข็ อาหารปรุ             transportation
                                                                                                                                                transportation
      สถาบันการศึกษา
      สถาบันการศึกษา                                                              •การ Dehydration              สําาเร็จ                      •ตัววแทนจําหนาย // นายหนา /คาาปลีก
      •มหาวิทยาลัย
      •มหาวิทยาลัย                                                                •การ Dehydration              สํ เร็จ                       •ตั แทนจําหนาย นายหนา /ค ปลีก
      •อาชีวศึกษา
      •อาชีวศึกษา
      •โรงเรียนฝกอบรม
      •โรงเรียนฝกอบรม                                                            •การแชเเย็นและแชแข็งง
                                                                                  •การแช ย็นและแชแข็         •Cuisine
                                                                                                               •Cuisine
      •สถาบันอาหาร
      •สถาบันอาหาร                                                                                                                            สมาคมตางง ๆ
                                                                                                                                              สมาคมตา ๆ
      •สถาบันวิจัยตางงๆ
      •สถาบันวิจัยตา ๆ                                                                                                                       •สมาคมผูผลิตไกเเพื่อสงงออก
                                                                                                                                              •สมาคมผูผลิตไก พื่อส ออก
                                                                                                                                              •สมาคมผูผลิตอาหารสําาเร็จรูรูป
                                                                                                                                              •สมาคมผูผลิตอาหารสํ เร็จ ป
                                                                                                                                              •สมาคมผูเเลี้ยงผูผลิตและสงงออกกุงง
                                                                                                                                              •สมาคมผู ลี้ยงผูผลิตและส ออกกุ
                                                                                                                                               กุลาดํา
                                                                                                                                               กุลาดํา
                                                                                                                                              •สมาคมอาหารแชเเยือกแข็งงไทย
                                                                                                                                              •สมาคมอาหารแช ยือกแข็ ไทย
                                                                                                                                              •สภาอุตสาหกรรม
                                                                                                                                              •สภาอุตสาหกรรม
                                                                                                                                              •สมาคมผูเเพาะเลี้ยงสัตว
                                                                                                                                              •สมาคมผู พาะเลี้ยงสัตว
                                                                                                                                              •ฯลฯ
                                                                                                                                              •ฯลฯ


                                        แผนภาพที่ 4.1 แผนภาพเครือขายวิสาหกิจอุตสาหกรรมอาหาร (Cluster map)

              โดยที่ไดมีการแบงสวนตางๆของอุตสาหกรรมอาหารดังนี้ สวนแรกที่เปนสวนสําคัญที่สุดคือ กลุมกิจกรรม
หลัก ซึ่งประกอบไปดวย 3 กลุมกิจกรรมยอย ซึ่งมีความแตกตางกันในระดับการใชเทคโนโลยีและระดับการแปรรูปสินคา
คือ
                                   • กลุมกิจกรรมหลังการเก็บเกี่ยว (Post Harvest) เปนกลุมกิจกรรมที่มมูลคาเพิ่มในผลิตภัณฑนอยที่
                                                                                                      ี
สุด โดยลักษณะกิจกรรมจะใชเทคโนโลยีระดับพื้นฐาน และอาจตองผานกระบวนการเพิ่มเติมจึงจะสามารถบริโภคได (ยก
เวนผักและผลไมสด)
                                   • กลุมกิจกรรมแปรรูปขั้นตน/กลาง (Semi Process) คือ การแปรรูปสินคาใหอยูในรูปแบบที่พรอม
จะนําไปปรุงเพื่อการบริโภค คือ อาจมีการตกแตงหรือปรุงแตงวัตถุดิบใหมีมูลคาเพิ่มมากขึ้น หรือมีกระบวนการถนอม
อาหารใหมีอายุยาวขึ้น
                                   • กลุมกิจกรรมแปรรูปขั้นสูง (Process) คือ กิจกรรมที่ใชเทคโนโลยีในระดับที่เพิ่มสูงขึ้นเพื่อใหพรอม
กับการบริโภค เปนกิจกรรมที่เพิ่มมูลคาใหกับผลิตภัณฑอาหารสูงที่สุด

                                             ตารางที่ 4.1 แสดงความหมายของแตละกิจกรรมในเครือขายวิสาหกิจ
   คําอธิบายและขอกําหนด                                  กิจกรรมหลังเก็บเกี่ยว                             กิจกรรมแปรรูปขั้นตน                           กิจกรรมแปรรูปขั้นสูง

   วัตถุดิบ                                   จากการเก็บเกี่ยวโดยตรง                           จากกิจกรรมหลังเก็บเกี่ยว                       จากกิจกรรมหลังเก็บเกี่ยว หรือ กิจกรรม
                                                                                                                                              แปรรูปขั้นตน
   เทคโนโลยีท่เกี่ยวของ
              ี                               ไมมี หรือขั้นต่ํา                               ขั้นต่ําถึงปานกลาง                             ขั้นปานกลางถึงสูง

   ผูดําเนินกิจกรรม                          สามารถกระทําโดยเกษตรกรเองหรือ                    สวนใหญจะดําเนินงานโดยโรงงาน                  สวนใหญจะดําเนินงานโดยโรงงาน หรือ
                                              โรงงาน                                                                                          รานอาหาร
   สินคาหลังผานกิจกรรม                      สินคายังอยูในรูปอาหารดิบ ตองมีการผาน         สินคายังอยูในรูปอาหารดิบแตพรอมที่จะ        สินคาอยูในรูปอาหารพรอมทานหรือ
                                              กระบวนการในการปรุงอาหาร เชน กุงตอง            นํามาปรุงอาหารไดทันทีเชน กุงที่ไดผานการ   บริการ อาจจะมีการผานกระบวนการ
                                              แกะเปลือก หรือตัดเปนชิ้นๆ และหลังจาก            แกะเปลือก หรือตัดเปนชิ้นๆ                     ปรุงอาหารบางเล็กนอยเชน กุงค็อกเทลที่
                                              นั้นจึงนํามาปรุงเปนอาหารRaw (ยกเวน                                                            ตองอุนโดยเครื่องไมโครเวฟ
                                              ผักและผลไม)
   สถานที่หรือกระบวนการ                       สามารถสงตรงไปยังตลาด กิจกรรมแปรรูป              สวนใหญสงตรงไปยังตลาด และสวนนอยสง         สงไปยังตลาดทั้งหมด
   หลังจากผานกิจกรรม                         ขั้นตน หรือขั้นสูง                              ตอไปยังกิจกรรมแปรรูปขั้นสูง
การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย                                                            293

                    สวนที่สองเกี่ยวของโดยตรงกับกลุมกิจกรรมหลักขางตน คือ กลุมอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของและสนับสนุน
     อื่นๆ โดยเฉพาะกลุมอุตสาหกรรมสนับสนุน เชน ภาคการเกษตร ไดแก การเพาะปลูก การเลี้ยงสัตว การประมง เปนตน
     รวมถึงกลุมอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องอื่นๆ เชน อุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงสายพันธุสัตว ตลาดการประมูล อุตสาหกรรม
     หองเย็น บรรจุภัณฑ เครื่องจักรกลทางการเกษตรและแปรรูป และบริการการตรวจสอบคุณภาพของสินคา

                     สวนสุดทายเปนสวนหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมอาหาร มีสวนในการสงเสริมและเพิ่ม
     ศักยภาพของอุตสาหกรรม เชน สถาบันการศึกษาพื้นฐาน วิทยาศาสตรการเกษตรและสถาบันเฉพาะดานอาหารรวมถึง
     สถาบันดานการวิจัยคนควาและพัฒนา หนวยงานสมาคม ชมรมทั้งที่จัดตั้งโดยภาครัฐหรือภาคเอกชนเอง นอกจากนี้ยังมี
     หนวยงานภาครัฐหลายหนวยงานมากมายที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมอาหารแลวแตความเกี่ยวของมากนอย ซึ่งการเขาใจ
     ถึงปญหาและหาสาเหตุของปญหารวมถึงการคิดวิธีการแกไขปญหาแบบบูรณาการจะตองอาศัยการมองปญหาแบบเครือขาย
     วิสาหกิจ ที่ทําใหเราเห็นภาพของอุตสาหกรรมอาหารแบบองครวมทั้งหมด

                   พัฒนาการของอุตสาหกรรมอาหารนั้นมีมาชานาน เปนอุตสาหกรรมลําดับแรกที่ไดรับการสนับสนุนมาตั้งแต
     ประเทศไทยเริ่มประกาศใชแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 1 ในป พ.ศ. 2504 (ดูตาราง 4.2 ประกอบ)
     เนื่องจากมีการเล็งเห็นวาเปนอุตสาหกรรมที่สําคัญและมีผลเชื่อมโยงตอเนื่องไปยังอุตสาหกรรมอื่นโดยเฉพาะอุตสาหกรรม
     การเกษตรที่จะสรางงานและรายไดมากมาย            โดยการพัฒนาในชวงแรกจะเนนการผลิตเพื่อทดแทนการนําเขาเปนหลัก
     จนเมื่อประสบผลสําเร็จในระดับหนึ่ง ตอมาไดมีการปรับเปลี่ยนนโยบายและเปาหมายหันมาเนนการผลิตเพื่อการสงออก
     มากขึ้นโดยเฉพาะในปจจุบันที่มีการแขงขันการคาเสรีทั่วโลก มีประเทศผูผลิตมากมายเกิดขึ้น จึงมีความจําเปนที่การ
     วางแผนดําเนินนโยบายอุตสาหกรรมอาหารจะตองมีการวิเคราะหปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมทันทวงที นอกจากนี้เมื่อประเทศ
     ตางๆ ไดมีการรวมตัวขึ้นในรูปขององคการการคาโลก รูปแบบการกีดกันทางการคาไดเปลี่ยนแปลงจากมาตรการที่ใชภาษี
     มาเปนมาตรการที่มิใชภาษี โดยจะเห็นไดวาตั้งแตชวงยุคการเปดเสรีทางการคาไดมีการกําหนดมาตรการตางๆ ดาน
     อาหารขึ้นมาใหมเปนจํานวนมากขึ้น        สงผลใหผูประกอบการอาหารไทยตองเผชิญกับภาวการณแขงขันในตลาดโลกที่
     เขมขนมากขึ้น และในบางครั้งก็ประสบปญหาความไมเปนธรรมในการคาจากมาตรการเหลานี้ดวย

                                         ตารางที่ 4.2 พัฒนาการอุตสาหกรรมอาหารโดยสังเขป
       ชวงเวลา            ลักษณะของอุตสาหกรรม                                     เหตุการณสําคัญ
                           • ผลผลิตสวนใหญใชเพื่อการบริโภคภายในประเทศ          • ประกาศใชกฎหมายเพื่อสงเสริมการสงออก
                           • สินคาสงออกประมาณรอยละ 70 เปนสินคาเกษตรสวนเกิน   ป 2503
                                 จากการบริโภคภายในประเทศ
ยุคการผลิตเพื่อการบริโภค   • การเก็บรักษาอาหารจะใชเทคโนโลยีอยางงายดวยภูมิ
      ภายในประเทศ                ปญญาชาวบาน เชน การตากแหง การดอง และการฉาบ
  (ชวงกอนป พ.ศ. 2503)         หรือเคลือบน้ําตาล เปนตน
294                                                                                การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย


      ชวงเวลา            ลักษณะของอุตสาหกรรม                                                เหตุการณสําคัญ
                          • แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1 ประกาศ • ประกาศใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
                              ใชเมื่อป พ.ศ. 2504 เพื่อนําเอาทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ               สังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1 เมื่อป 2504
 ยุคการสงเสริมอุตสาห
                              ของประเทศไปใชประโยชนในทางอุตสาหกรรม                          • เริ่มมีการใชมาตรฐาน CODEX และ
      กรรมการผลิต         • เริ่มนําเทคโนโลยีการผลิตและการแปรรูปจากประเทศ                          GMP ป 2506
 เพื่อทดแทนการนําเขา         ไตหวัน และญี่ปุนมาใชในการผลิตนมขนหวาน ผักและผล             • กอตั้งสภาอุตสาหกรรม ป 2510
  (ป พ.ศ. 2503-2513)         ไมกระปอง
                                                                                             • ประกาศใชกฎหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ
                          • เริ่มมีการนําผลผลิตจากการแปรรูปสงออกไปยังตาง                         อุตสาหกรรม ป 2511
                              ประเทศ
                                                                             • กอตั้งสมาคมอาหารแชเยือกแข็งไทย ป 2511
                      • อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปไดรบการสงเสริมจากภาครัฐให • กอตั้งสมาคมผูผลิตอาหารสําเร็จรูป ป 2513
                                                    ั
                        มีการเนนการผลิตเพื่อการสงออก เนื่องจากสามารถทําราย • ประกาศใชพรบ.อาหาร ป 2522
ยุคแหงการพัฒนาอุตสาห
                              ไดใหกับประเทศมากขึ้น
           กรรม
     เพื่อการสงออก       • เนื่องจากยังขาดความชํานาญทั้งในดานการผลิต และการ
 (ป พ.ศ. 2513-2523)          ตลาด จึงไดมีการพัฒนาและปรับปรุง technology know
                              how เพื่อใหสนคามีคุณภาพไดมาตรฐานและสามารถตอบ
                                           ิ
                              สนองความตองการของลูกคาในตางประเทศ
                          • อุตสาหกรรมอาหารของไทยประสบความสําเร็จและมีความ
                              เติบโตอยางรวดเร็วในการเขาสูตลาดตางประเทศ
                          • ประเทศไทยมีความไดเปรียบในเรื่องคาแรงงานซึ่งต่ํากวา
ยุคแหงการความเติบโต
                              ตางประเทศ
   ของอุตสาหกรรม
 (ป พ.ศ. 2523-2533)      • มีการนําเทคโนโลยีจากยุโรปและอเมริกาเขามาปรับปรุง
                              ประสิทธิภาพการผลิต
                          • ผูผลิตมีความรูและความชํานาญในการผลิตมากขึ้น จน
                              สามารถเกิด economy of scale ได
                          • การแขงขันของอุตสาหกรรมอาหารมีอยูสูง เนื่องจากผูผลิต •               กอตั้งสมาคมผูผลิตไกเพื่อสงออก ป 2534
                            รายใหมที่มีคาแรงที่ต่ําและมีวัตถุดิบที่คลายคลึงกับไทยเขา •         ประกาศใชพรบ.โรงงาน ป 2535
                            สูตลาดโลกมากขึ้น
                                                                                         •         เริ่มมีการใชมาตรฐาน Green dot ป 2537
                          • ผูประกอบการของไทยจําเปนที่จะตองพัฒนาความ
  ยุคแหงการเปดเสรี
                                                                                         •         เริ่มมีการใชมาตรฐาน HACCP ป 2538
                            สามารถทั้งในเรื่องเทคโนโลยีการผลิต การตลาด และการ
      ทางการคา             จัดการอยางตอเนื่อง พรอมทั้งพยายามผลิตสินคาใหมีมูล •               กอตั้งสถาบันอาหาร ป 2539
(ป พ.ศ. 2533-ปจจุบัน)     คาเพิ่มสูงขึ้น                                              •         Animal Welfare เริ่มมีบทบาทในการกีกัน
                          • ผูประกอบการไดรับแรงกดดันตาง ๆ จากประเทศผูนาเขา   ํ                ทางการคา ป 2540
                            อาหารในการออกมาตรการดานความสะอาดและสุข                      •         ยุโรปประกาศใช EU White Paper
                               อนามัย รวมทั้งมาตรฐานสากลตาง ๆ เชน ISO 9000,                      สําหรับอาหารที่นําเขา ป 2543
                               ISO 14000, HACCP เพื่อใหเกิดการยอมรับในตัวสินคา
การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย                                                                                      295

                    นับตั้งแตเริ่มมีการเปดเสรีทางการคา สงผลใหทุกอุตสาหกรรมมีการลงทุนที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องเพื่อ
รองรับกับการแขงขันที่รุนแรงขึ้น สําหรับการลงทุนในอุตสาหกรรมอาหารภายในชวงเวลาตั้งแตป 2535 จนถึงป 2545
พบวา โครงการลงทุนและการจางงานในโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารและเครื่องปรุงจะมีคาสูงที่สุด ซึ่งแสดงใหเห็น
วา ตลอดชวง 10 ปที่ผานมา ภาคเอกชนยังคงใหความสนใจในการลงทุนในอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารอยู และเมื่อ
พิจารณาภาพรวมแลวจะเห็นวา อุตสาหกรรมเกี่ยวโยงเองก็ไดรับความสนใจจากนักลงทุนอยูเชนกัน เชน การผลิตอาหาร
สัตว หองเย็น โรงฆาและชําแหละสัตว ผลิตผลการเกษตร การคัด บรรจุและรักษาผลิตภัณฑ เปนตน
                                       จํานวนโครงการ       การจางงาน (คน)     การลงทุน/โครงการ การจางงาน/โครงการ
                                                                               (ลานบาท)
  ผลิต ถนอมอาหาร และสิ่งปรุงแตง                    268                102,491          5                 382
          น้ํามันหรือไขมันพืช-สัตว            43            3,869                  3             90
                    ผลิตอาหารสัตว            38             3,465                        6       91
                            หองเย็น         36                       18,663              6                 518
              ผลิตผลทางการเกษตร              34                6,131                    5           180
                คัด บรรจุ เก็บรักษา        25                3,280                  3              131
                      การเลี้ยงสัตว      21                2,552                         6        122
 ขยายพันธุหรือคัดคุณภาพเมล็ดพันธุ      17                  4,051                  3                 238
                     ขยายพันธุสัตว     15                 1,991                       5          133
               ฆาและชําแหละสัตว       11                        11,052                    9                                 1,005
                     ประมงน้ําลึก 3                        152                        4          51
                   อบพืชและไซโล 2                          108                        4          54
      เพาะปลูกระบบ Hydroponics 1                           45                    1               45
    ที่มา: คณะกรรมการสงเสริมการลงทุน
                        แผนภาพที่ 4.2 สถิติการลงทุนสะสมที่ขอรับการสงเสริมการลงทุนชวงป 2535-2545

                 อุตสาหกรรมอาหารของไทยมีเปาหมายเพื่อการสงออกเปนหลัก โดยในป 2544 มีมลคาการสงออก
                                                                                             ู
มากกวา 4 แสนลานบาท ในจํานวนนี้มีมากกวาครึ่งหนึ่งเปนการสงออกผลิตภัณฑอาหารจากอุตสาหกรรมขนาดใหญ 5
อุตสาหกรรม คือ ผลิตภัณฑอาหารทะเลบรรจุกระปองและแปรรูป ขาว กุงแชแข็งแชเย็น ผลไมกระปองและแปรรูป ไกสด
แชแข็งและแปรรูป       ซึ่งเปนอุตสาหกรรมที่สําคัญทั้งในดานของปริมาณการสงออกและกลไกผลักดันสําคัญของ
อุตสาหกรรมอาหารโดยรวม ดังแสดงในแผนภาพที่ 4.3
           มูลคาการสงออกอาหาร
           พันลานบาท
                                                                                 สัดสวนสินคาสงออกที่สําคัญ ป 2544
              500                                             445
                          399                        399                                                     อาหารทะเลกระปอง
                                        377                                                                  และแปรรูป
              400
                                                                                                   20%
              300
                                                                                        อื่น ๆ              16%        ขาว
              200                                                                       42%

              100                                                                                                  12% กุงแชเย็น
                                                                                                                       และแชแข็ง
                 0                                                                                         5% ผลไมกระปองและแปรรูป
                                                                                                 5%
                         2541          2542         2543     2544                                ไกแชเย็นและแชแข็ง
           ที่มา: สถาบันอาหาร และกรมเจรจาการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย
                                              แผนภาพที่ 4.3 มูลคาการสงออกอาหารของไทย
296                                                                                                      การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย


                    นอกจากนี้เมื่อพิจารณาดานตลาดการสงออกแลวนั้นจะพบวาสินคาอาหารทั้ง 5 ชนิดขางตนนั้นยังเปน
สินคาที่การนําเขาสูงที่สุดจากตลาดตางประเทศที่สําคัญๆ ของไทย เชน สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ญี่ปุน ออสเตรเลีย
และกลุมประเทศมุสลิม1 โดยสหรัฐอเมริกาจะนําเขาอาหารทะเลกระปอง กุงแชเย็นและแชแข็ง และผลไมแปรรูป สหภาพ
ยุโรป จะเนนการนําเขาผลิตภัณฑไก อาหารทะเลกระปอง และผลไมแปรรูป ญี่ปุน มีสินคานําเขาสําคัญ คือ อาหารทะเล
กระปอง ผลิตภัณฑไก และผลิตภัณฑจากกุง ออสเตรเลีย เนนการนําเขาผลิตภัณฑอาหารทะเลแปรรูป และผลิตภัณฑกุง
ในขณะที่กลุมประเทศมุสลิมจะมีการนําเขาขาวและน้ําตาลเปนหลัก

                           ตารางที่ 4.3 เปรียบเทียบ 5 อันดับสินคาสงออกหลักในตลาดที่สําคัญของไทย
     ประเทศ                       อันดับที่ 1                อันดับที่ 2              อันดับที่ 3               อันดับที่ 4                   อันดับที่ 5
     สหรัฐอเมริกา         ปลาทีผานการปรุงหรือ
                               ่                   กุง กุงมังกรสดแชแข็ง     ผลไมที่ผานการปรุง       ขาว                        ผลิตภัณฑขาวสาลีและ
                          ถนอมอาหาร ปลาหมึกใน      หรือแชเย็น                 หรือถนอมอาหาร                                         สวนผสมในการทําอาหารอื่นๆ
                          ภาชนะบรรจุสุญญากาศ
     สห ภาพยุโรป          ไกที่ผานการปรุงอาหาร   ปลาที่ผานการปรุงหรือ       ผลไมที่ผานการปรุง       ชิ้นไกแชเย็นหรือแชแข็ง   ผลิตภัณฑแปงมันสําปะหลัง
                                                   ถนอมอาหาร ปลาหมึก           หรือถนอมอาหาร
                                                   ในภาชนะบรรจุ
                                                   สุญญากาศ
     ญี่ปน
          ุ               ปลาที่ผานการปรุงหรือ    ชิ้นไกแชเย็นหรือแชแข็ง   กุง กุงมังกรสดแชแข็ง   ชิ้นปลาหรือเนื้อปลา         ปลา ปลาหมึก ปลาหมึกยักษ
                          ถนอมอาหาร ปลาหมึกใน                                  หรือแชเย็น               อื่นๆ สดแชเย็นหรือแช      สดแชเย็นหรือแชแข็ง
                          ภาชนะบรรจุสุญญากาศ                                                             แข็ง
     ออสเตรเลีย           ปลาที่ผานการปรุงหรือ    กุง กุงมังกรสดแชแข็ง     ขาว                      ผลิตภัณฑขาวสาลีและ        ผลไมที่ผานการปรุงหรือถนอม
                                                                                                                                              
                          ถนอมอาหาร ปลาหมึกใน      หรือแชเย็น                                           สวนผสมในการ                อาหาร
                          ภาชนะบรรจุ สูญญากาศ                                                            ทําอาหารอื่นๆ

     กลุมประเทศมุสลิม    ขาว                     น้ําตาล                     ปลาทีผานการปรุงหรือ
                                                                                    ่                    นม และผลิตภัณฑจาก          ผลิตภัณฑแปงมันสําปะหลัง
                                                                               ถนอมอาหาร ปลาหมึก         นม
                                                                               ในภาชนะบรรจุ
                                                                               สูญญากาศ

    ที่มา: ทีมวิเคราะห


      4.1.2         สมรรถนะของเครือขายวิสาหกิจ (Cluster Performance)

               การวิเคราะหสมรรถนะของอุตสาหกรรมอาหารตอการพัฒนาประเทศ สามารถประเมินไดตามบทบาทการ
พัฒนาเศรษฐกิจ นั่นหมายถึง การวิเคราะหสมรรถนะทางการผลิต และการจางงาน ตลอดจนการศึกษาถึงผลการ
ดําเนินงานทางการตลาดและการสงออก โดยวิเคราะหความเปนผูนําทางการตลาด โอกาสของคูแขงขัน และความ
ไดเปรียบเชิงเปรียบเทียบ นอกจากนี้ยังจําเปนที่จะตองพิจารณาถึงกฎเกณฑ ระเบียบบนวิถีทางการคาโลก และอุปสรรค
ที่กาลังเผชิญอยู ซึ่งสามารถแยกพิจารณาไดดังนี้
    ํ




1
  ประกอบดวย บาหเรน อียิปต อิหราน อิรัก จอรแดน คูเวต เลบานอน ลิเบีย โอมาน การตาร ซาอุดิอาระเบีย ซีเรีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส และ
เยเมน
การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย                                                                                   297

           4.1.2.1        สมรรถนะทางเศรษฐกิจ

                      อุตสาหกรรมอาหารมีสวนสําคัญอยางยิ่งตอการพัฒนา และสรางความเจริญใหแกระบบเศรษฐกิจ
ของประเทศ เนื่องจากไทยเปนประเทศเกษตรกรรมที่คนสวนใหญของประเทศประกอบอาชีพการเกษตร และอาชีพอื่นๆ ที่
มีสวนเกี่ยวโยงตอเนื่องกันในวงกวางและหลากหลาย จึงทําใหอุตสาหกรรมอาหารนั้นมีสัดสวนมูลคามากที่สุด และมีสวน
สําคัญตอการขยายตัวและสรางความกาวหนาทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยมีมูลคาเพิ่มในแตละปไมต่ํากวา 1 แสนลาน
บาท และมีความเติบโตอยางตอเนื่องทุกป มีอัตราเติบโตเฉลี่ยชวงป 2540-2544 เทากับรอยละ 7.7 และมีสวนแบง
มูลคาเพิ่มในป 2544 เทากับรอยละ 9.0 ของหมวดการผลิต ขณะที่อุตสาหกรรมเครื่องดื่มซึ่งเปนอุตสาหกรรมที่เกี่ยวโยงกัน
มีอัตราเติบโตที่ไมแนนอน โดยเฉลี่ยชวงป 2540-2544 เติบโตที่ลดลงรอยละ 3.3 มีสัดสวนมูลคาเพิ่มป 2544 เทากับรอยละ
5.2 ของหมวดการผลิต และหากผนวกอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มเขาดวยกันแลว จะมีมูลคาสูงกวา 2 แสนลานบาท
ในป 2544 โดยมีสวนแบงอยูในระดับรอยละ 14.2 และมีความเติบโตเฉลี่ยชวงป 2540-2544 ประมาณรอยละ 2.9

                   ตารางที่ 4.4 ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศของอุตสาหกรรมจําแนกตามหมวดการผลิต
                                                                                                                  (พันลานบาท)
      หมวดการผลิต                               2539 2540 2541 2542 2543                        2544pสัดสวนป 44 CAGR 40-44
      อาหาร                                      102 110 134 129 145                              148       9.0%          7.7%
      เครื่องดื่ม                                 81    98 103 137        70                       86       5.2%         -3.3%
      ยาสูบ                                       28    34    33    31    32                       32       2.0%         -1.7%
      สิ่งทอ                                      88    89 101      99 106                        107       6.5%          4.7%
      เสื้อผา                                   152 163 154 156 162                              160       9.8%         -0.5%
      หนังและผลิตภัณฑหนัง                        41    47    49    55    60                       67       4.1%          9.2%
      ไมและผลิตภัณฑจากไม                        8     8     6     6     7                        8       0.5%         -0.6%
      เครื่องเรือนและเครื่องตกแตงที่ทําจากไม    34    26    21    20    25                       26       1.6%          0.4%
      เยื่อกระดาษและผลิตภัณฑกระดาษ               21    25    30    31    34                       35       2.1%          8.7%
      การพิมพและอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ              15    14    14    15    15                       16       0.9%          2.4%
      เคมีภัณฑ                                   46    53    59    63    86                       85       5.2%         12.4%
      โรงกลั่นน้ํามันปโตรเลียม                   99 126 140 126 122                              127       7.8%          0.3%
      ยางและผลิตภัณฑยาง                          34    37    42    42    53                       56       3.4%         10.6%
      อโลหะ                                       70    67    55    62    65                       71       4.4%          1.6%
      โลหะพื้นฐาน                                 20    19    16    14    16                       17       1.0%         -3.1%
      เครื่องมือโลหะ                              36    37    39    44    48                       51       3.1%          8.8%
      เครื่องจักร                                100 106 121 134 158                              160       9.8%         10.7%
      เครื่องจักรและเครื่องมือที่ใชไฟฟา        105 105 110 107 145                              120       7.3%          3.4%
      ขนสงและยานยนต                            113    88    36    66    95                      125       7.6%          9.1%
      อุตสาหกรรมอื่น ๆ                           111 109 101 112 132                              143       8.7%          7.1%
      รวมมูลคาเพิ่ม                           1,303 1,361 1,362 1,447 1,576                    1,639     100.0%          4.7%
     ที่มา : “รายไดประชาชาติของประเทศไทย ฉบับ พ.ศ. 2544” สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
298                                                                                                                                      การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย


                  เมื่อวิเคราะหถึงการสรางมูลคาเพิ่มในอุตสาหกรรมอาหาร จะพบวา ผลิตภัณฑอาหารที่มมูลคาเพิ่ม
                                                                                                           ี
ของไทยเกือบทุกชนิดมีอัตราการเติบโตที่ดี ทั้งในระดับปานกลางและสูงมากในบางสินคาอยางตอเนื่องตลอดชวงระยะ
เวลาป 2540 ถึงป 2544 ผลิตภัณฑที่สรางมูลคาเพิ่มสูงที่สุด 3 อันดับแรกของไทย คือ ผลิตภัณฑสัตวน้ําแปรรูปผลิตภัณฑ
สัตวน้ํากระปอง และผลิตภัณฑขาว ซึ่งมีสวนแบงมูลคาเพิ่มของแตละผลิตภัณฑประมาณรอยละ 15-20 ในป 2544
(ดังแสดงในแผนภาพที่ 4.4) นั่นแสดงใหเห็นวา ผูประกอบการในอุตสาหกรรมเริ่มใหความสนใจในการพัฒนาผลิตภัณฑ
อาหารที่เนนการสรางมูลคาเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะสงผลใหเกิดการพัฒนาและเพิ่มขีดความสามารถทางการแขงขันไดดียิ่งขึ้น
                                                                                                                                             = 10,000 ลานบาท
                                                                 25.0%
                  สวนแบงมูลคาเพิ่มในอุตสาหกรรมอาหาร ป 2544




                                                                                                                                         ผลิตภัณฑสัตวน้ํากระปอง
                                                                                   ผลิตภัณฑสัตวน้ําแปรรูป
                                                                 20.0%
                                                                                                                                                   ผลิตภัณฑขาว
                                                                 15.0%

                                                                 10.0%                  น้ําตาล                        น้ํามันและไขมัน
                                                                                                      อาหารสัตว
                                                                                                                                                    ผลิตภัณฑนม
                                                                                                                          ผักและผลไมกระปอง
                                                                 5.0%
                                                                         โรงฆา ชําแหละ และ              เบเกอรี่
                                                                         ถนอมผลิตภัณฑเนื้อสัตว                                          ผลิตภัณฑแปง
                                                                 0.0%                                           ผักและผลไมอบแหง

                                                                     -15.0% -10.0% -5.0% 0.0% 5.0% 10.0% 15.0% 20.0% 25.0%
                                                                                   สัดสวนการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยชวงป 2540-2544
                       ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ


                แผนภาพที่ 4.4 มูลคาเพิ่มของอุตสาหกรรมผลิตอาหาร ณ ราคาตลาด (ไมรวมเครื่องดื่ม)

                   ถึงแมวา อุตสาหกรรมอาหารจะไมเติบโตอยางรวดเร็วเทียบเทากับอุตสาหกรรมอื่นๆ บางประเภท
                          
เชน เคมีภัณฑ ยางและผลิตภัณฑยาง เครื่องจักร และขนสงและยานยนต แตเมื่อพิจารณาถึงอัตราการใชกําลังการผลิต
ของอุตสาหกรรมแลว พบวา ปจจุบนอุตสาหกรรมอาหารไดใชอัตราการใชกําลังการผลิตเพียงรอยละ 46.4 เทานั้น ซึ่ง
                                  ั
ต่ํากวาอุตสาหกรรมอื่นๆ นั่นแสดงใหเห็นวา อุตสาหกรรมอาหารมีโอกาสขยายกําลังการผลิตไดอีกมาก เปนขอไดเปรียบ
ที่เหนือกวาอุตสาหกรรมอื่น หากตองการที่จะเพิ่มกําลังการผลิตสินคา ซึ่งรายละเอียดอัตราการใชกําลังการผลิตเปรียบ
เทียบแตละกลุมอุตสาหกรรม ชวงป 2538-2545 แสดงไวในตารางที่ 4.5
การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย                                                             299

                  ตารางที่ 4.5 อัตราการใชกําลังการผลิตในอุตสาหกรรม จําแนกตามกลุมอุตสาหกรรม
                                                                                        รอยละ
               กลุมอุตสาหกรรม                    2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545
               อาหาร                               41.5 37.3 37.4 33.3 42.5 44.0 42.6 46.4
               เครื่องดื่ม                         82.3 83.0 79.1 77.2 101.9 32.6 36.4 50.5
               ยาสูบ                               75.2 84.2 75.8 60.4 54.4 53.7 52.1 53.8
               วัสดุกอสราง                       97.3 78.7 72.9 44.6 49.8 50.1 52.3 56.9
               เหล็ก และโลหะ                       64.2 65.2 50.6 35.9 39.6 47.0 50.0 60.6
               ยานยนตและชิ้นสวน                  81.4 67.6 48.5 23.4 35.6 40.1 44.5 54.6
               ปโตรเลียม                          93.2 85.7 90.1 84.0 85.7 83.9 74.8 76.2
               เครื่องใชไฟฟา                     63.9 67.8 62.2 47.5 53.4 65.4 47.5 59.7
               อื่น ๆ                              80.0 77.7 66.1 68.9 72.9 75.4 77.0 71.5
               รวม                                 77.4 72.5 64.8 52.8 61.2 55.8 53.5 60.0
               ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย


                        หากพิจารณาถึงรายประเภทของสินคาแลว พบวา กําลังการผลิตของสินคาอาหารเกือบทุกประเภท
ยังไมไดมีการใชงานอยางเต็มที่ ทําใหประเทศไทยยังมีศกยภาพและกําลังการผลิตที่เหลือเพียงพอเพื่อรองรับการขยาย
                                                         ั
ตลาดในอนาคต โดยเฉพาะสินคาอาหารที่สําคัญของไทย ไดแก กุงแชแข็ง ไกแชแข็ง มีการใชกําลังการผลิต ประมาณ
รอยละ 60-70 โดยเฉพาะอยางยิ่งผลิตภัณฑอาหารที่สรางมูลคาเพิ่ม เชน อาหารทะเลกระปอง ทูนากระปองและสับปะรด
กระปอง ซึ่งไทยผลิตและสงออกอยางมากใชกําลังการผลิตต่ํากวารอยละ 60 นั่นแสดงใหเห็นวา ไทยมีศักยภาพในการเพิ่ม
ปริมาณการผลิตสินคาเหลานี้ไดอีกมาก และเปนขอไดเปรียบสําหรับผูประกอบการไทยในอันที่จะพัฒนาผลิตภัณฑเหลานี้
ใหมีมูลคาเพิ่มยิ่งขึ้น และสรางความแตกตางของผลิตภัณฑ ดังแสดงในแผนภาพที่ 4.5

              90%
              80%                                                                       นม
                                                                                        ไกแชแข็ง*
              70%
                                                                                        กุงแชแข็ง*
              60%                                                                       อาหารทะเลกระปอง
                                                                                        ทูนากระปอง*
              50%
              40%                                                                       สัปปะรดกระปอง
              30%                                                                       น้ําตาล
              20%
              10%
               0%
                            2541              2542              2543   2544      2545
             * ขอมูลจากการสํารวจสถิติอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
             ที่มา: ธนาคารแหงประเทศไทย และกระทรวงอุตสาหกรรม

                                    แผนภาพที่ 4.5 การใชกําลังผลิตในอุตสาหกรรมอาหาร
300                                                                                                                การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย


          4.1.2.2                                         การจางงานในอุตสาหกรรมอาหาร

                     อุตสาหกรรมอาหารกอใหเกิดการจางงานอยางกวางขวาง ทั้งนี้เพราะวัตถุดิบที่ใชโดยสวนใหญเปน
วัตถุดิบที่หาไดภายในประเทศอันเกิดจากผลผลิตทางภาคเกษตร จึงสงผลทําใหจํานวนผูมีงานทํามาก ซึ่งจากตัวเลขการ
สํารวจของสํานักงานสถิติแหงชาติ จํานวนผูมีงานทําในป 2544 ทั้งประเทศมีจํานวนทั้งสิ้นประมาณ 33.5 ลานคน
(ดูแผนภาพที่ 4.6 ประกอบ) เปนบุคคลที่อยูในภาคเกษตรกรรมมากกวา 12 ลานคน หรือประมาณรอยละ 38 ของจํานวน
ผูมีงานทําทั้งประเทศ ถึงแมวาภาคเกษตรกรรมจะไมไดรวมถึงผลผลิตที่เปนอาหาร แตก็นับวาเปนแหลงวัตถุดิบเกือบ
                                 
ทั้งหมดของอุตสาหกรรมอาหาร ในชวงป 2540-2544 การเติบโตของผูมีงานทําในภาคเกษตรกรรมแมจะลดลงก็ตาม
แตความเติบโตของผูมีงานทําในอุตสาหกรรมอาหารมีอัตราเพิ่มขึ้นคอนขางสูงประมาณรอยละ 5.4 ที่เปนเชนนี้ สวนหนึ่ง
เปนเพราะวาแรงงานในภาคเกษตรบางสวนไดยายเขาสูภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ โดยเฉพาะในชวงที่ไมอยูในฤดูกาล
เก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตร ซึ่งแรงงานเหลานี้จะหันเขามาหางานทําในตัวเมืองหรือแหลงงานอื่น และสวนหนึ่งเมื่อได
งานที่มั่นคงจึงไมกลับเขาสูภาคเกษตร

                                                                                                                          = 1,000,000 คน
                                                        45.0%
                                                        40.0%
               สัดสวนตอผูมีงานทําทั้งประเทศป 2544




                                                        35.0%
                                                        30.0%         เกษตรกรรม
                                                        25.0%
                                                        20.0%                                   คาสงและคาปลีก                บริการ
                                                        15.0%
                                                        10.0%
                                                         5.0%       ขนสงและคมนาคม
                                                                                                                    อาหาร
                                                        0.0%
                                                            -4.0%      -2.0%       0.0%       2.0%      4.0%       6.0%    8.0%          10.0%
                                                                                  อัตราเติบโตของการจางงานชวงป 2540-2544
                       หมายเหตุ : จํานวนผูมีงานทําทั้งประเทศ ณ.สิ้นไตรมาสที่ 3 ป 2544 = 33.5 ลานคน
                       ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และสํานักงานสถิติแหงชาติ
               แผนภาพที่ 4.6 เปรียบเทียบขนาดสัดสวน ความเติบโต และจํานวนผูมีงานทําของประเทศ

                   สําหรับแรงงานในอุตสาหกรรมอาหาร โดยสวนใหญผูประกอบการในอุตสาหกรรมจะเนนการใช
แรงงานเพื่อการผลิตในโรงงานเสียมากกวาการใชแรงงานที่มีทักษะฝมือ หรือแรงงานที่มความรูเฉพาะดาน ทั้งนี้เนื่องจากวา
                                                                                 ี
การใชเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมอาหารโดยสวนใหญเปนการใชเทคโนโลยีขั้นพื้นฐาน ประกอบกับลักษณะการดําเนินธุรกิจ
จะมีรูปแบบการบริหารงานโดยเจาของเปนผูดูแลแตเพียงผูเดียว หรือเปนลักษณะการบริหารงานแบบครอบครัวที่สืบทอด
ความรูในการผลิตมาจากบรรพบุรุษ ดังนั้น แรงงานที่ใชจึงเนนเฉพาะแรงงานที่ใชกําลังมากกวาแรงงานที่ใชความรู เชน
คนงานคุมเครื่องจักรที่ใชผลิต คนงานลาง หั่น ตัด และตกแตงวัตถุดิบ คนงานบรรจุขวดหรือกระปอง คนงานติดฉลาก
เปนตน แรงงานเหลานี้เปนแรงงานที่มีคาจางต่ํา แตเปนแรงงานที่สําคัญของผูประกอบการแตละราย หากเปรียบเทียบ
คาแรงงานของคนงานในอุตสาหกรรมอาหารกับภาคธุรกิจอื่นๆ พบวา คาแรงงานตอปอยูในระดับต่ําแตก็มีแนวโนมการ
การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย                                                                        301

เพิ่มขึ้นของอัตราคาแรงงานอยางชัดเจนและตอเนื่องเชนเดียวกับภาคธุรกิจอื่นๆ ดังจะเห็นไดจากคาจางเฉลี่ยใน
อุตสาหกรรมอาหารอยูในระดับต่ํากวาการบริการ การคมนาคมและขนสง และธุรกิจคาสงและคาปลีก โดยคาจางแรงงาน
เฉลี่ยในอุตสาหกรรมอาหารอยูที่ประมาณ 73,458 บาทตอคนตอป ณ.ป 2544 แตเมื่อวัดถึงความคุมคาเมื่อเทียบกับ
ผลิตผลที่เกิดจากการใชงานในอุตสาหกรรมแลว แรงงานในอุตสาหกรรมอาหารกอใหเกิดความคุมคาตอเงินคาจางใน
อัตรา 1.5 เทา ซึ่งสูงกวาภาคธุรกิจบริการที่มีอัตราเพียง 0.5 เทา และภาคธุรกิจคาสงและคาปลีกที่มีอัตรา 1.03 เทา นั่นยอม
แสดงใหเห็นถึงศักยภาพของแรงงานในอุตสาหกรรมอาหารยังอยูในเกณฑที่นาพอใจเมื่อเทียบกับอุตสากรรมอื่น ๆ แตเมื่อ
เทียบกับตัวอุตสาหกรรมเองกลับมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง ดังตารางที่ 4.6

                     ตารางที่ 4.6 เปรียบเทียบคาจางและผลิตภาพของแรงงานในอุตสาหกรรมอาหาร
                                                2540       2541     2542     2543     2544
               คาจางเฉลี่ยตอป
               อุตสาหกรรมอาหาร                  65,656 64,290 61,442 67,448 73,458
               การบริการ                       103,382 110,057 107,079 107,267 139,945
               การคมนาคม และขนสง              136,482 157,830 145,565 157,184 151,245
               คาสง คาปลีก                   87,421 87,159 81,505 86,105 97,679
               ผลิตภาพแรงงาน
               อุตสาหกรรมอาหาร                 113,866 97,987 112,429 109,646 109,830
               การบริการ                        93,502 90,282 90,612 95,294 79,432
               การคมนาคม และขนสง              272,811 259,067 269,154 303,163 310,100
               คาสง คาปลีก                  117,644 99,378 98,442 98,978 100,981
               ผลิตภาพแรงงานตอคาจาง
               อุตสาหกรรมอาหาร                     1.73      1.52     1.83     1.63      1.50
               การบริการ                           0.90      0.82     0.85     0.89      0.57
               การคมนาคม และขนสง                  2.00      1.64     1.85     1.93      2.05
               คาสง คาปลีก                      1.35      1.14     1.21     1.15      1.03
               ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ




           4.1.2.3       สมรรถนะทางการตลาดและการสงออก

                   เมื่อพิจารณาถึงการสรางรายไดใหแกประเทศ ก็จะพบวา การสงออกอาหารนับตั้งแตป 2541 มีมูลคา
ปละกวา 4 แสนลานบาท ทั้งนี้เปนผลมาจากวิกฤตการณทางเศรษฐกิจและการปรับลดคาเงินบาทของประเทศ จึงทําให
มูลคาการสงออกอาหารในรูปของเงินบาทมีเปนจํานวนมาก ผลักดันใหสัดสวนการสงออกอาหารตอผลิตภัณฑมวลรวม
ของประเทศ จากเดิมเคยตกต่ําที่สุดในระดับประมาณรอยละ 6 เมื่อป 2539 สามารถเพิ่มขึ้นมาอยูในระดับสูงกวารอยละ
8.5 ในป 2544 ได อยางไรก็ตาม หากวิเคราะหถึงสัดสวนการสงออกอาหารตอการสงออกรวมแลว จะเห็นไดวา มีสัดสวน
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

Contenu connexe

Plus de Mahasarakham Business School, Mahasarakham University

การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireเนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภคReference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภคMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 

Plus de Mahasarakham Business School, Mahasarakham University (20)

Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
 
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
 
International market selection (Ch.4) - Global Marketing
International market selection (Ch.4) - Global MarketingInternational market selection (Ch.4) - Global Marketing
International market selection (Ch.4) - Global Marketing
 
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
 
Key economic indicators of thailand
Key economic indicators of thailandKey economic indicators of thailand
Key economic indicators of thailand
 
Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1
 
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
 
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
 
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
 
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
 
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
 
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireเนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
 
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
 
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
 
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior ClassPerception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
 
Branding&Positioning (Ch 4) for IMC student Class
Branding&Positioning  (Ch 4) for IMC student ClassBranding&Positioning  (Ch 4) for IMC student Class
Branding&Positioning (Ch 4) for IMC student Class
 
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
 
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภคReference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
 

Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

  • 1. การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 291 บทที่ 4 กลุมอุตสาหกรรมอาหาร เมื่อกลาวถึงการพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ อุตสาหกรรมอาหารเปนหนึ่งในหลาย อุตสาหกรรมที่มีบทบาทสําคัญเปนอยางยิ่ง เนื่องจากปจจุบันรัฐบาลมีแนวคิดและนโยบายใหประเทศไทยเปนผูนําทางการ ผลิต และการสงออกอาหารอยางมีเสถียรภาพ โดยวาดฝนใหไทยเปน “ครัวของโลก” ซึ่งการดําเนินงานตามแนวนโยบาย ของรัฐบาล คณะทํางานรวมระหวางสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และสถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจ ศศินทร แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดวางกรอบการศึกษา โดยประยุกตใชหลักคิดตามทฤษฎีของ Michael E. Porter มาใชในการประเมินและวิเคราะหอุตสาหกรรมอาหาร นั่นคือ การมองภาพของอุตสาหกรรม ในลักษณะเครือขายวิสาหกิจ และใช Diamond Model เปนเครื่องมือในการวิเคราะหเครือขายวิสาหกิจ จุดเดนของการ ศึกษาตามทฤษฎีท่กลาวมานั้น คือ กอนที่จะวางเปาหมายและทิศทางการดําเนินการของประเทศ จําเปนที่จะตองหันกลับ ี มามองภาพของประเทศใหแนชัดเสียกอน โดยการประเมินและวิเคราะหใหเห็นถึงศักยภาพที่แทจริง จุดแข็ง และจุดออน ของอุตสาหกรรม ดังนั้นการศึกษาอุตสาหกรรมอาหารในครั้งนี้จึงมุงเนนในการวิเคราะหภาพรวมของอุตสาหกรรมมากกวา การวิเคราะหแยกรายอุตสาหกรรมยอย เพื่อนําผลการวิเคราะหมาใชในการพัฒนาและแกไขปญหาของทั้งอุตสาหกรรม 4.1 ภาพรวมของอุตสาหกรรมอาหาร การประเมินขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรมอาหาร ตามทฤษฎีของ Michael E. Porter จะเริ่ม จากการกลาวถึงประวัติการพัฒนาเครือขายวิสาหกิจ และองคประกอบของเครือขายวิสาหกิจ ตอจากนั้นจะเปนการ วิเคราะหประสิทธิภาพของเครือขายวิสาหกิจ อุตสาหกรรมอาหารเปนอุตสาหกรรมขนาดใหญ ประกอบไปดวยอุตสาหกรรมกรรมยอยสาขาตาง ๆ มากมาย ดังนั้น จึงจําเปนที่จะตองกําหนดขอบเขต และคําจํากัดความของอุตสาหกรรมอาหารใหมีความชัดเจนและครอบคลุม ดังที่จะได กลาวถึงในรายละเอียดตอไปนี้ 4.1.1 โครงสรางและพัฒนาการเครือขายวิสาหกิจ (Cluster profile and development) อุตสาหกรรมอาหาร เปนอุตสาหกรรมหนึ่งที่มีกระบวนการผลิตหลากหลายขั้นตอนและผลผลิตของแตละ ขั้นตอนนั้นยังสามารถนําไปใชงานตอไดในหลากหลายรูปแบบ เชน สินคาหนึ่งเมื่อผานกระบวนขั้นตนแลวก็จะสามารถนํา ไปบริโภคโดยตรงทันที หรือนําไปผานกระบวนการปรุง การแปรรูปอยางงาย ไปจนถึงการแปรรูปขั้นสูงขึ้นไปไดเชนเดียวกัน ในการศึกษานี้ไดใชแนวความคิดเครือขายวิสาหกิจ ดวยการจัดแบบกลุมกิจกรรมตางๆ ที่เกิดขึ้นทั้งที่เกี่ยวของโดยตรง และที่เปนเพียงการสนับสนุนหรือองคกรอื่นๆ ดังแผนภาพที่ 4.1
  • 2. 292 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย หนวยงานภาครัฐ หนวยงานภาครัฐ อุตสาหกรรมสนับสนุนและเกี่ยวโยงกัน ••กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ ••กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ••คณะกรรมสงงเสริมการลงทุน  คณะกรรมส เสริมการลงทุน ภาคเกษตรกรรม กิจกรรมหลัก ••กระทรวงพาณิชย กระทรวงพาณิชย ภาคเกษตรกรรม ••กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี •กสิกรรม •กสิกรรม ••กระทรวงแรงงาน •ปศุสัตว กระทรวงแรงงาน •ปศุสัตว ••กระทรวงคมนาคม กระทรวงคมนาคม •ประมง •ประมง ••กระทรวงตางประเทศ กระทรวงตางประเทศ กิจกรรมหลังงเก็บเกี่ยว กิจกรรมหลั เก็บเกี่ยว กิจกรรมแปรรูปขั้นตน กิจกรรมแปรรูปขั้นตน กิจกรรมแปรรูปขั้นสูงง กิจกรรมแปรรูปขั้นสู ••กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ (Post Harvest) (Semi Process) (Process) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ (Post Harvest) (Semi Process) (Process) สิ่ง่งแวดลอม สิ แวดลอม อุตสาหกรรมที่เ่เกี่ยวโยงอื่น ๆ อุตสาหกรรมที กี่ยวโยงอื่น ๆ ••กระทรวงสาธารณสุข •ผูเเพาะเลี้ยงพอพันธุแมพันธุ  กระทรวงสาธารณสุข •ผู พาะเลี้ยงพอพันธุแมพันธุ •คัดแยกเกรด •คัดแยกเกรด •โรงสี •โรงสี •การ Dehydration •การ Dehydration ••กระทรวงการคลังง กระทรวงการคลั •ตลาดประมูล •ตลาดประมูล ••กระทรวงมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย •หองเย็น •หองเย็น •โรงฆาสัตว •โรงฆาสัตว •การดอง การหมัก •การดอง การหมัก •การใชความรอน •การใชความรอน •บรรจุภัณฑ •บรรจุภัณฑ (Thermal) (Thermal) •เครื่องมือ เครื่องจักรร •เครื่องมือ เครื่องจัก •ฉายแสง ธุรกิจบริการ ธุรกิจบริการ •ฉายแสง •ประกันภัย // สถาบันการเงิน •ประกันภัย สถาบันการเงิน •บริการตรวจสอบคุณภาพ •บริการตรวจสอบคุณภาพ •การบรรจุกระปองง •การบรรจุกระปอ •ธกส. •ธกส. •การตมสุก •การตมสุก •การขนสงง และลําเลียงสินคา •การขนส และลําเลียงสินคา •การแชแข็งงอาหารปรุงง •การแชแข็ อาหารปรุ transportation transportation สถาบันการศึกษา สถาบันการศึกษา •การ Dehydration สําาเร็จ •ตัววแทนจําหนาย // นายหนา /คาาปลีก •มหาวิทยาลัย •มหาวิทยาลัย •การ Dehydration สํ เร็จ •ตั แทนจําหนาย นายหนา /ค ปลีก •อาชีวศึกษา •อาชีวศึกษา •โรงเรียนฝกอบรม •โรงเรียนฝกอบรม •การแชเเย็นและแชแข็งง •การแช ย็นและแชแข็ •Cuisine •Cuisine •สถาบันอาหาร •สถาบันอาหาร สมาคมตางง ๆ สมาคมตา ๆ •สถาบันวิจัยตางงๆ •สถาบันวิจัยตา ๆ •สมาคมผูผลิตไกเเพื่อสงงออก •สมาคมผูผลิตไก พื่อส ออก •สมาคมผูผลิตอาหารสําาเร็จรูรูป •สมาคมผูผลิตอาหารสํ เร็จ ป •สมาคมผูเเลี้ยงผูผลิตและสงงออกกุงง •สมาคมผู ลี้ยงผูผลิตและส ออกกุ กุลาดํา กุลาดํา •สมาคมอาหารแชเเยือกแข็งงไทย •สมาคมอาหารแช ยือกแข็ ไทย •สภาอุตสาหกรรม •สภาอุตสาหกรรม •สมาคมผูเเพาะเลี้ยงสัตว •สมาคมผู พาะเลี้ยงสัตว •ฯลฯ •ฯลฯ แผนภาพที่ 4.1 แผนภาพเครือขายวิสาหกิจอุตสาหกรรมอาหาร (Cluster map) โดยที่ไดมีการแบงสวนตางๆของอุตสาหกรรมอาหารดังนี้ สวนแรกที่เปนสวนสําคัญที่สุดคือ กลุมกิจกรรม หลัก ซึ่งประกอบไปดวย 3 กลุมกิจกรรมยอย ซึ่งมีความแตกตางกันในระดับการใชเทคโนโลยีและระดับการแปรรูปสินคา คือ • กลุมกิจกรรมหลังการเก็บเกี่ยว (Post Harvest) เปนกลุมกิจกรรมที่มมูลคาเพิ่มในผลิตภัณฑนอยที่ ี สุด โดยลักษณะกิจกรรมจะใชเทคโนโลยีระดับพื้นฐาน และอาจตองผานกระบวนการเพิ่มเติมจึงจะสามารถบริโภคได (ยก เวนผักและผลไมสด) • กลุมกิจกรรมแปรรูปขั้นตน/กลาง (Semi Process) คือ การแปรรูปสินคาใหอยูในรูปแบบที่พรอม จะนําไปปรุงเพื่อการบริโภค คือ อาจมีการตกแตงหรือปรุงแตงวัตถุดิบใหมีมูลคาเพิ่มมากขึ้น หรือมีกระบวนการถนอม อาหารใหมีอายุยาวขึ้น • กลุมกิจกรรมแปรรูปขั้นสูง (Process) คือ กิจกรรมที่ใชเทคโนโลยีในระดับที่เพิ่มสูงขึ้นเพื่อใหพรอม กับการบริโภค เปนกิจกรรมที่เพิ่มมูลคาใหกับผลิตภัณฑอาหารสูงที่สุด ตารางที่ 4.1 แสดงความหมายของแตละกิจกรรมในเครือขายวิสาหกิจ คําอธิบายและขอกําหนด กิจกรรมหลังเก็บเกี่ยว กิจกรรมแปรรูปขั้นตน กิจกรรมแปรรูปขั้นสูง วัตถุดิบ จากการเก็บเกี่ยวโดยตรง จากกิจกรรมหลังเก็บเกี่ยว จากกิจกรรมหลังเก็บเกี่ยว หรือ กิจกรรม แปรรูปขั้นตน เทคโนโลยีท่เกี่ยวของ ี ไมมี หรือขั้นต่ํา ขั้นต่ําถึงปานกลาง ขั้นปานกลางถึงสูง ผูดําเนินกิจกรรม สามารถกระทําโดยเกษตรกรเองหรือ สวนใหญจะดําเนินงานโดยโรงงาน สวนใหญจะดําเนินงานโดยโรงงาน หรือ โรงงาน รานอาหาร สินคาหลังผานกิจกรรม สินคายังอยูในรูปอาหารดิบ ตองมีการผาน สินคายังอยูในรูปอาหารดิบแตพรอมที่จะ สินคาอยูในรูปอาหารพรอมทานหรือ กระบวนการในการปรุงอาหาร เชน กุงตอง นํามาปรุงอาหารไดทันทีเชน กุงที่ไดผานการ บริการ อาจจะมีการผานกระบวนการ แกะเปลือก หรือตัดเปนชิ้นๆ และหลังจาก แกะเปลือก หรือตัดเปนชิ้นๆ ปรุงอาหารบางเล็กนอยเชน กุงค็อกเทลที่ นั้นจึงนํามาปรุงเปนอาหารRaw (ยกเวน ตองอุนโดยเครื่องไมโครเวฟ ผักและผลไม) สถานที่หรือกระบวนการ สามารถสงตรงไปยังตลาด กิจกรรมแปรรูป สวนใหญสงตรงไปยังตลาด และสวนนอยสง สงไปยังตลาดทั้งหมด หลังจากผานกิจกรรม ขั้นตน หรือขั้นสูง ตอไปยังกิจกรรมแปรรูปขั้นสูง
  • 3. การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 293 สวนที่สองเกี่ยวของโดยตรงกับกลุมกิจกรรมหลักขางตน คือ กลุมอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของและสนับสนุน อื่นๆ โดยเฉพาะกลุมอุตสาหกรรมสนับสนุน เชน ภาคการเกษตร ไดแก การเพาะปลูก การเลี้ยงสัตว การประมง เปนตน รวมถึงกลุมอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องอื่นๆ เชน อุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงสายพันธุสัตว ตลาดการประมูล อุตสาหกรรม หองเย็น บรรจุภัณฑ เครื่องจักรกลทางการเกษตรและแปรรูป และบริการการตรวจสอบคุณภาพของสินคา สวนสุดทายเปนสวนหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมอาหาร มีสวนในการสงเสริมและเพิ่ม ศักยภาพของอุตสาหกรรม เชน สถาบันการศึกษาพื้นฐาน วิทยาศาสตรการเกษตรและสถาบันเฉพาะดานอาหารรวมถึง สถาบันดานการวิจัยคนควาและพัฒนา หนวยงานสมาคม ชมรมทั้งที่จัดตั้งโดยภาครัฐหรือภาคเอกชนเอง นอกจากนี้ยังมี หนวยงานภาครัฐหลายหนวยงานมากมายที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมอาหารแลวแตความเกี่ยวของมากนอย ซึ่งการเขาใจ ถึงปญหาและหาสาเหตุของปญหารวมถึงการคิดวิธีการแกไขปญหาแบบบูรณาการจะตองอาศัยการมองปญหาแบบเครือขาย วิสาหกิจ ที่ทําใหเราเห็นภาพของอุตสาหกรรมอาหารแบบองครวมทั้งหมด พัฒนาการของอุตสาหกรรมอาหารนั้นมีมาชานาน เปนอุตสาหกรรมลําดับแรกที่ไดรับการสนับสนุนมาตั้งแต ประเทศไทยเริ่มประกาศใชแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 1 ในป พ.ศ. 2504 (ดูตาราง 4.2 ประกอบ) เนื่องจากมีการเล็งเห็นวาเปนอุตสาหกรรมที่สําคัญและมีผลเชื่อมโยงตอเนื่องไปยังอุตสาหกรรมอื่นโดยเฉพาะอุตสาหกรรม การเกษตรที่จะสรางงานและรายไดมากมาย โดยการพัฒนาในชวงแรกจะเนนการผลิตเพื่อทดแทนการนําเขาเปนหลัก จนเมื่อประสบผลสําเร็จในระดับหนึ่ง ตอมาไดมีการปรับเปลี่ยนนโยบายและเปาหมายหันมาเนนการผลิตเพื่อการสงออก มากขึ้นโดยเฉพาะในปจจุบันที่มีการแขงขันการคาเสรีทั่วโลก มีประเทศผูผลิตมากมายเกิดขึ้น จึงมีความจําเปนที่การ วางแผนดําเนินนโยบายอุตสาหกรรมอาหารจะตองมีการวิเคราะหปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมทันทวงที นอกจากนี้เมื่อประเทศ ตางๆ ไดมีการรวมตัวขึ้นในรูปขององคการการคาโลก รูปแบบการกีดกันทางการคาไดเปลี่ยนแปลงจากมาตรการที่ใชภาษี มาเปนมาตรการที่มิใชภาษี โดยจะเห็นไดวาตั้งแตชวงยุคการเปดเสรีทางการคาไดมีการกําหนดมาตรการตางๆ ดาน อาหารขึ้นมาใหมเปนจํานวนมากขึ้น สงผลใหผูประกอบการอาหารไทยตองเผชิญกับภาวการณแขงขันในตลาดโลกที่ เขมขนมากขึ้น และในบางครั้งก็ประสบปญหาความไมเปนธรรมในการคาจากมาตรการเหลานี้ดวย ตารางที่ 4.2 พัฒนาการอุตสาหกรรมอาหารโดยสังเขป ชวงเวลา ลักษณะของอุตสาหกรรม เหตุการณสําคัญ • ผลผลิตสวนใหญใชเพื่อการบริโภคภายในประเทศ • ประกาศใชกฎหมายเพื่อสงเสริมการสงออก • สินคาสงออกประมาณรอยละ 70 เปนสินคาเกษตรสวนเกิน ป 2503 จากการบริโภคภายในประเทศ ยุคการผลิตเพื่อการบริโภค • การเก็บรักษาอาหารจะใชเทคโนโลยีอยางงายดวยภูมิ ภายในประเทศ ปญญาชาวบาน เชน การตากแหง การดอง และการฉาบ (ชวงกอนป พ.ศ. 2503) หรือเคลือบน้ําตาล เปนตน
  • 4. 294 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย ชวงเวลา ลักษณะของอุตสาหกรรม เหตุการณสําคัญ • แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1 ประกาศ • ประกาศใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ ใชเมื่อป พ.ศ. 2504 เพื่อนําเอาทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ สังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1 เมื่อป 2504 ยุคการสงเสริมอุตสาห ของประเทศไปใชประโยชนในทางอุตสาหกรรม • เริ่มมีการใชมาตรฐาน CODEX และ กรรมการผลิต • เริ่มนําเทคโนโลยีการผลิตและการแปรรูปจากประเทศ GMP ป 2506 เพื่อทดแทนการนําเขา ไตหวัน และญี่ปุนมาใชในการผลิตนมขนหวาน ผักและผล • กอตั้งสภาอุตสาหกรรม ป 2510 (ป พ.ศ. 2503-2513) ไมกระปอง • ประกาศใชกฎหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ • เริ่มมีการนําผลผลิตจากการแปรรูปสงออกไปยังตาง อุตสาหกรรม ป 2511 ประเทศ • กอตั้งสมาคมอาหารแชเยือกแข็งไทย ป 2511 • อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปไดรบการสงเสริมจากภาครัฐให • กอตั้งสมาคมผูผลิตอาหารสําเร็จรูป ป 2513 ั มีการเนนการผลิตเพื่อการสงออก เนื่องจากสามารถทําราย • ประกาศใชพรบ.อาหาร ป 2522 ยุคแหงการพัฒนาอุตสาห ไดใหกับประเทศมากขึ้น กรรม เพื่อการสงออก • เนื่องจากยังขาดความชํานาญทั้งในดานการผลิต และการ (ป พ.ศ. 2513-2523) ตลาด จึงไดมีการพัฒนาและปรับปรุง technology know how เพื่อใหสนคามีคุณภาพไดมาตรฐานและสามารถตอบ ิ สนองความตองการของลูกคาในตางประเทศ • อุตสาหกรรมอาหารของไทยประสบความสําเร็จและมีความ เติบโตอยางรวดเร็วในการเขาสูตลาดตางประเทศ • ประเทศไทยมีความไดเปรียบในเรื่องคาแรงงานซึ่งต่ํากวา ยุคแหงการความเติบโต ตางประเทศ ของอุตสาหกรรม (ป พ.ศ. 2523-2533) • มีการนําเทคโนโลยีจากยุโรปและอเมริกาเขามาปรับปรุง ประสิทธิภาพการผลิต • ผูผลิตมีความรูและความชํานาญในการผลิตมากขึ้น จน สามารถเกิด economy of scale ได • การแขงขันของอุตสาหกรรมอาหารมีอยูสูง เนื่องจากผูผลิต • กอตั้งสมาคมผูผลิตไกเพื่อสงออก ป 2534 รายใหมที่มีคาแรงที่ต่ําและมีวัตถุดิบที่คลายคลึงกับไทยเขา • ประกาศใชพรบ.โรงงาน ป 2535 สูตลาดโลกมากขึ้น • เริ่มมีการใชมาตรฐาน Green dot ป 2537 • ผูประกอบการของไทยจําเปนที่จะตองพัฒนาความ ยุคแหงการเปดเสรี • เริ่มมีการใชมาตรฐาน HACCP ป 2538 สามารถทั้งในเรื่องเทคโนโลยีการผลิต การตลาด และการ ทางการคา จัดการอยางตอเนื่อง พรอมทั้งพยายามผลิตสินคาใหมีมูล • กอตั้งสถาบันอาหาร ป 2539 (ป พ.ศ. 2533-ปจจุบัน) คาเพิ่มสูงขึ้น • Animal Welfare เริ่มมีบทบาทในการกีกัน • ผูประกอบการไดรับแรงกดดันตาง ๆ จากประเทศผูนาเขา ํ ทางการคา ป 2540 อาหารในการออกมาตรการดานความสะอาดและสุข • ยุโรปประกาศใช EU White Paper อนามัย รวมทั้งมาตรฐานสากลตาง ๆ เชน ISO 9000, สําหรับอาหารที่นําเขา ป 2543 ISO 14000, HACCP เพื่อใหเกิดการยอมรับในตัวสินคา
  • 5. การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 295 นับตั้งแตเริ่มมีการเปดเสรีทางการคา สงผลใหทุกอุตสาหกรรมมีการลงทุนที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องเพื่อ รองรับกับการแขงขันที่รุนแรงขึ้น สําหรับการลงทุนในอุตสาหกรรมอาหารภายในชวงเวลาตั้งแตป 2535 จนถึงป 2545 พบวา โครงการลงทุนและการจางงานในโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารและเครื่องปรุงจะมีคาสูงที่สุด ซึ่งแสดงใหเห็น วา ตลอดชวง 10 ปที่ผานมา ภาคเอกชนยังคงใหความสนใจในการลงทุนในอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารอยู และเมื่อ พิจารณาภาพรวมแลวจะเห็นวา อุตสาหกรรมเกี่ยวโยงเองก็ไดรับความสนใจจากนักลงทุนอยูเชนกัน เชน การผลิตอาหาร สัตว หองเย็น โรงฆาและชําแหละสัตว ผลิตผลการเกษตร การคัด บรรจุและรักษาผลิตภัณฑ เปนตน จํานวนโครงการ การจางงาน (คน) การลงทุน/โครงการ การจางงาน/โครงการ (ลานบาท) ผลิต ถนอมอาหาร และสิ่งปรุงแตง 268 102,491 5 382 น้ํามันหรือไขมันพืช-สัตว 43 3,869 3 90 ผลิตอาหารสัตว 38 3,465 6 91 หองเย็น 36 18,663 6 518 ผลิตผลทางการเกษตร 34 6,131 5 180 คัด บรรจุ เก็บรักษา 25 3,280 3 131 การเลี้ยงสัตว 21 2,552 6 122 ขยายพันธุหรือคัดคุณภาพเมล็ดพันธุ 17 4,051 3 238 ขยายพันธุสัตว 15 1,991 5 133 ฆาและชําแหละสัตว 11 11,052 9 1,005 ประมงน้ําลึก 3 152 4 51 อบพืชและไซโล 2 108 4 54 เพาะปลูกระบบ Hydroponics 1 45 1 45 ที่มา: คณะกรรมการสงเสริมการลงทุน แผนภาพที่ 4.2 สถิติการลงทุนสะสมที่ขอรับการสงเสริมการลงทุนชวงป 2535-2545 อุตสาหกรรมอาหารของไทยมีเปาหมายเพื่อการสงออกเปนหลัก โดยในป 2544 มีมลคาการสงออก ู มากกวา 4 แสนลานบาท ในจํานวนนี้มีมากกวาครึ่งหนึ่งเปนการสงออกผลิตภัณฑอาหารจากอุตสาหกรรมขนาดใหญ 5 อุตสาหกรรม คือ ผลิตภัณฑอาหารทะเลบรรจุกระปองและแปรรูป ขาว กุงแชแข็งแชเย็น ผลไมกระปองและแปรรูป ไกสด แชแข็งและแปรรูป ซึ่งเปนอุตสาหกรรมที่สําคัญทั้งในดานของปริมาณการสงออกและกลไกผลักดันสําคัญของ อุตสาหกรรมอาหารโดยรวม ดังแสดงในแผนภาพที่ 4.3 มูลคาการสงออกอาหาร พันลานบาท สัดสวนสินคาสงออกที่สําคัญ ป 2544 500 445 399 399 อาหารทะเลกระปอง 377 และแปรรูป 400 20% 300 อื่น ๆ 16% ขาว 200 42% 100 12% กุงแชเย็น และแชแข็ง 0 5% ผลไมกระปองและแปรรูป 5% 2541 2542 2543 2544 ไกแชเย็นและแชแข็ง ที่มา: สถาบันอาหาร และกรมเจรจาการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย แผนภาพที่ 4.3 มูลคาการสงออกอาหารของไทย
  • 6. 296 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย นอกจากนี้เมื่อพิจารณาดานตลาดการสงออกแลวนั้นจะพบวาสินคาอาหารทั้ง 5 ชนิดขางตนนั้นยังเปน สินคาที่การนําเขาสูงที่สุดจากตลาดตางประเทศที่สําคัญๆ ของไทย เชน สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ญี่ปุน ออสเตรเลีย และกลุมประเทศมุสลิม1 โดยสหรัฐอเมริกาจะนําเขาอาหารทะเลกระปอง กุงแชเย็นและแชแข็ง และผลไมแปรรูป สหภาพ ยุโรป จะเนนการนําเขาผลิตภัณฑไก อาหารทะเลกระปอง และผลไมแปรรูป ญี่ปุน มีสินคานําเขาสําคัญ คือ อาหารทะเล กระปอง ผลิตภัณฑไก และผลิตภัณฑจากกุง ออสเตรเลีย เนนการนําเขาผลิตภัณฑอาหารทะเลแปรรูป และผลิตภัณฑกุง ในขณะที่กลุมประเทศมุสลิมจะมีการนําเขาขาวและน้ําตาลเปนหลัก ตารางที่ 4.3 เปรียบเทียบ 5 อันดับสินคาสงออกหลักในตลาดที่สําคัญของไทย ประเทศ อันดับที่ 1 อันดับที่ 2 อันดับที่ 3 อันดับที่ 4 อันดับที่ 5 สหรัฐอเมริกา ปลาทีผานการปรุงหรือ ่ กุง กุงมังกรสดแชแข็ง ผลไมที่ผานการปรุง ขาว ผลิตภัณฑขาวสาลีและ ถนอมอาหาร ปลาหมึกใน หรือแชเย็น หรือถนอมอาหาร สวนผสมในการทําอาหารอื่นๆ ภาชนะบรรจุสุญญากาศ สห ภาพยุโรป ไกที่ผานการปรุงอาหาร ปลาที่ผานการปรุงหรือ ผลไมที่ผานการปรุง ชิ้นไกแชเย็นหรือแชแข็ง ผลิตภัณฑแปงมันสําปะหลัง ถนอมอาหาร ปลาหมึก หรือถนอมอาหาร ในภาชนะบรรจุ สุญญากาศ ญี่ปน ุ ปลาที่ผานการปรุงหรือ ชิ้นไกแชเย็นหรือแชแข็ง กุง กุงมังกรสดแชแข็ง ชิ้นปลาหรือเนื้อปลา ปลา ปลาหมึก ปลาหมึกยักษ ถนอมอาหาร ปลาหมึกใน หรือแชเย็น อื่นๆ สดแชเย็นหรือแช สดแชเย็นหรือแชแข็ง ภาชนะบรรจุสุญญากาศ แข็ง ออสเตรเลีย ปลาที่ผานการปรุงหรือ กุง กุงมังกรสดแชแข็ง ขาว ผลิตภัณฑขาวสาลีและ ผลไมที่ผานการปรุงหรือถนอม  ถนอมอาหาร ปลาหมึกใน หรือแชเย็น สวนผสมในการ อาหาร ภาชนะบรรจุ สูญญากาศ ทําอาหารอื่นๆ กลุมประเทศมุสลิม ขาว น้ําตาล ปลาทีผานการปรุงหรือ ่ นม และผลิตภัณฑจาก ผลิตภัณฑแปงมันสําปะหลัง ถนอมอาหาร ปลาหมึก นม ในภาชนะบรรจุ สูญญากาศ ที่มา: ทีมวิเคราะห 4.1.2 สมรรถนะของเครือขายวิสาหกิจ (Cluster Performance) การวิเคราะหสมรรถนะของอุตสาหกรรมอาหารตอการพัฒนาประเทศ สามารถประเมินไดตามบทบาทการ พัฒนาเศรษฐกิจ นั่นหมายถึง การวิเคราะหสมรรถนะทางการผลิต และการจางงาน ตลอดจนการศึกษาถึงผลการ ดําเนินงานทางการตลาดและการสงออก โดยวิเคราะหความเปนผูนําทางการตลาด โอกาสของคูแขงขัน และความ ไดเปรียบเชิงเปรียบเทียบ นอกจากนี้ยังจําเปนที่จะตองพิจารณาถึงกฎเกณฑ ระเบียบบนวิถีทางการคาโลก และอุปสรรค ที่กาลังเผชิญอยู ซึ่งสามารถแยกพิจารณาไดดังนี้ ํ 1 ประกอบดวย บาหเรน อียิปต อิหราน อิรัก จอรแดน คูเวต เลบานอน ลิเบีย โอมาน การตาร ซาอุดิอาระเบีย ซีเรีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส และ เยเมน
  • 7. การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 297 4.1.2.1 สมรรถนะทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมอาหารมีสวนสําคัญอยางยิ่งตอการพัฒนา และสรางความเจริญใหแกระบบเศรษฐกิจ ของประเทศ เนื่องจากไทยเปนประเทศเกษตรกรรมที่คนสวนใหญของประเทศประกอบอาชีพการเกษตร และอาชีพอื่นๆ ที่ มีสวนเกี่ยวโยงตอเนื่องกันในวงกวางและหลากหลาย จึงทําใหอุตสาหกรรมอาหารนั้นมีสัดสวนมูลคามากที่สุด และมีสวน สําคัญตอการขยายตัวและสรางความกาวหนาทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยมีมูลคาเพิ่มในแตละปไมต่ํากวา 1 แสนลาน บาท และมีความเติบโตอยางตอเนื่องทุกป มีอัตราเติบโตเฉลี่ยชวงป 2540-2544 เทากับรอยละ 7.7 และมีสวนแบง มูลคาเพิ่มในป 2544 เทากับรอยละ 9.0 ของหมวดการผลิต ขณะที่อุตสาหกรรมเครื่องดื่มซึ่งเปนอุตสาหกรรมที่เกี่ยวโยงกัน มีอัตราเติบโตที่ไมแนนอน โดยเฉลี่ยชวงป 2540-2544 เติบโตที่ลดลงรอยละ 3.3 มีสัดสวนมูลคาเพิ่มป 2544 เทากับรอยละ 5.2 ของหมวดการผลิต และหากผนวกอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มเขาดวยกันแลว จะมีมูลคาสูงกวา 2 แสนลานบาท ในป 2544 โดยมีสวนแบงอยูในระดับรอยละ 14.2 และมีความเติบโตเฉลี่ยชวงป 2540-2544 ประมาณรอยละ 2.9 ตารางที่ 4.4 ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศของอุตสาหกรรมจําแนกตามหมวดการผลิต (พันลานบาท) หมวดการผลิต 2539 2540 2541 2542 2543 2544pสัดสวนป 44 CAGR 40-44 อาหาร 102 110 134 129 145 148 9.0% 7.7% เครื่องดื่ม 81 98 103 137 70 86 5.2% -3.3% ยาสูบ 28 34 33 31 32 32 2.0% -1.7% สิ่งทอ 88 89 101 99 106 107 6.5% 4.7% เสื้อผา 152 163 154 156 162 160 9.8% -0.5% หนังและผลิตภัณฑหนัง 41 47 49 55 60 67 4.1% 9.2% ไมและผลิตภัณฑจากไม 8 8 6 6 7 8 0.5% -0.6% เครื่องเรือนและเครื่องตกแตงที่ทําจากไม 34 26 21 20 25 26 1.6% 0.4% เยื่อกระดาษและผลิตภัณฑกระดาษ 21 25 30 31 34 35 2.1% 8.7% การพิมพและอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ 15 14 14 15 15 16 0.9% 2.4% เคมีภัณฑ 46 53 59 63 86 85 5.2% 12.4% โรงกลั่นน้ํามันปโตรเลียม 99 126 140 126 122 127 7.8% 0.3% ยางและผลิตภัณฑยาง 34 37 42 42 53 56 3.4% 10.6% อโลหะ 70 67 55 62 65 71 4.4% 1.6% โลหะพื้นฐาน 20 19 16 14 16 17 1.0% -3.1% เครื่องมือโลหะ 36 37 39 44 48 51 3.1% 8.8% เครื่องจักร 100 106 121 134 158 160 9.8% 10.7% เครื่องจักรและเครื่องมือที่ใชไฟฟา 105 105 110 107 145 120 7.3% 3.4% ขนสงและยานยนต 113 88 36 66 95 125 7.6% 9.1% อุตสาหกรรมอื่น ๆ 111 109 101 112 132 143 8.7% 7.1% รวมมูลคาเพิ่ม 1,303 1,361 1,362 1,447 1,576 1,639 100.0% 4.7% ที่มา : “รายไดประชาชาติของประเทศไทย ฉบับ พ.ศ. 2544” สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
  • 8. 298 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย เมื่อวิเคราะหถึงการสรางมูลคาเพิ่มในอุตสาหกรรมอาหาร จะพบวา ผลิตภัณฑอาหารที่มมูลคาเพิ่ม ี ของไทยเกือบทุกชนิดมีอัตราการเติบโตที่ดี ทั้งในระดับปานกลางและสูงมากในบางสินคาอยางตอเนื่องตลอดชวงระยะ เวลาป 2540 ถึงป 2544 ผลิตภัณฑที่สรางมูลคาเพิ่มสูงที่สุด 3 อันดับแรกของไทย คือ ผลิตภัณฑสัตวน้ําแปรรูปผลิตภัณฑ สัตวน้ํากระปอง และผลิตภัณฑขาว ซึ่งมีสวนแบงมูลคาเพิ่มของแตละผลิตภัณฑประมาณรอยละ 15-20 ในป 2544 (ดังแสดงในแผนภาพที่ 4.4) นั่นแสดงใหเห็นวา ผูประกอบการในอุตสาหกรรมเริ่มใหความสนใจในการพัฒนาผลิตภัณฑ อาหารที่เนนการสรางมูลคาเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะสงผลใหเกิดการพัฒนาและเพิ่มขีดความสามารถทางการแขงขันไดดียิ่งขึ้น = 10,000 ลานบาท 25.0% สวนแบงมูลคาเพิ่มในอุตสาหกรรมอาหาร ป 2544 ผลิตภัณฑสัตวน้ํากระปอง ผลิตภัณฑสัตวน้ําแปรรูป 20.0% ผลิตภัณฑขาว 15.0% 10.0% น้ําตาล น้ํามันและไขมัน อาหารสัตว ผลิตภัณฑนม ผักและผลไมกระปอง 5.0% โรงฆา ชําแหละ และ เบเกอรี่ ถนอมผลิตภัณฑเนื้อสัตว ผลิตภัณฑแปง 0.0% ผักและผลไมอบแหง -15.0% -10.0% -5.0% 0.0% 5.0% 10.0% 15.0% 20.0% 25.0% สัดสวนการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยชวงป 2540-2544 ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนภาพที่ 4.4 มูลคาเพิ่มของอุตสาหกรรมผลิตอาหาร ณ ราคาตลาด (ไมรวมเครื่องดื่ม) ถึงแมวา อุตสาหกรรมอาหารจะไมเติบโตอยางรวดเร็วเทียบเทากับอุตสาหกรรมอื่นๆ บางประเภท  เชน เคมีภัณฑ ยางและผลิตภัณฑยาง เครื่องจักร และขนสงและยานยนต แตเมื่อพิจารณาถึงอัตราการใชกําลังการผลิต ของอุตสาหกรรมแลว พบวา ปจจุบนอุตสาหกรรมอาหารไดใชอัตราการใชกําลังการผลิตเพียงรอยละ 46.4 เทานั้น ซึ่ง ั ต่ํากวาอุตสาหกรรมอื่นๆ นั่นแสดงใหเห็นวา อุตสาหกรรมอาหารมีโอกาสขยายกําลังการผลิตไดอีกมาก เปนขอไดเปรียบ ที่เหนือกวาอุตสาหกรรมอื่น หากตองการที่จะเพิ่มกําลังการผลิตสินคา ซึ่งรายละเอียดอัตราการใชกําลังการผลิตเปรียบ เทียบแตละกลุมอุตสาหกรรม ชวงป 2538-2545 แสดงไวในตารางที่ 4.5
  • 9. การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 299 ตารางที่ 4.5 อัตราการใชกําลังการผลิตในอุตสาหกรรม จําแนกตามกลุมอุตสาหกรรม รอยละ กลุมอุตสาหกรรม 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 อาหาร 41.5 37.3 37.4 33.3 42.5 44.0 42.6 46.4 เครื่องดื่ม 82.3 83.0 79.1 77.2 101.9 32.6 36.4 50.5 ยาสูบ 75.2 84.2 75.8 60.4 54.4 53.7 52.1 53.8 วัสดุกอสราง 97.3 78.7 72.9 44.6 49.8 50.1 52.3 56.9 เหล็ก และโลหะ 64.2 65.2 50.6 35.9 39.6 47.0 50.0 60.6 ยานยนตและชิ้นสวน 81.4 67.6 48.5 23.4 35.6 40.1 44.5 54.6 ปโตรเลียม 93.2 85.7 90.1 84.0 85.7 83.9 74.8 76.2 เครื่องใชไฟฟา 63.9 67.8 62.2 47.5 53.4 65.4 47.5 59.7 อื่น ๆ 80.0 77.7 66.1 68.9 72.9 75.4 77.0 71.5 รวม 77.4 72.5 64.8 52.8 61.2 55.8 53.5 60.0 ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย หากพิจารณาถึงรายประเภทของสินคาแลว พบวา กําลังการผลิตของสินคาอาหารเกือบทุกประเภท ยังไมไดมีการใชงานอยางเต็มที่ ทําใหประเทศไทยยังมีศกยภาพและกําลังการผลิตที่เหลือเพียงพอเพื่อรองรับการขยาย ั ตลาดในอนาคต โดยเฉพาะสินคาอาหารที่สําคัญของไทย ไดแก กุงแชแข็ง ไกแชแข็ง มีการใชกําลังการผลิต ประมาณ รอยละ 60-70 โดยเฉพาะอยางยิ่งผลิตภัณฑอาหารที่สรางมูลคาเพิ่ม เชน อาหารทะเลกระปอง ทูนากระปองและสับปะรด กระปอง ซึ่งไทยผลิตและสงออกอยางมากใชกําลังการผลิตต่ํากวารอยละ 60 นั่นแสดงใหเห็นวา ไทยมีศักยภาพในการเพิ่ม ปริมาณการผลิตสินคาเหลานี้ไดอีกมาก และเปนขอไดเปรียบสําหรับผูประกอบการไทยในอันที่จะพัฒนาผลิตภัณฑเหลานี้ ใหมีมูลคาเพิ่มยิ่งขึ้น และสรางความแตกตางของผลิตภัณฑ ดังแสดงในแผนภาพที่ 4.5 90% 80% นม ไกแชแข็ง* 70% กุงแชแข็ง* 60% อาหารทะเลกระปอง ทูนากระปอง* 50% 40% สัปปะรดกระปอง 30% น้ําตาล 20% 10% 0% 2541 2542 2543 2544 2545 * ขอมูลจากการสํารวจสถิติอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ที่มา: ธนาคารแหงประเทศไทย และกระทรวงอุตสาหกรรม แผนภาพที่ 4.5 การใชกําลังผลิตในอุตสาหกรรมอาหาร
  • 10. 300 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 4.1.2.2 การจางงานในอุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมอาหารกอใหเกิดการจางงานอยางกวางขวาง ทั้งนี้เพราะวัตถุดิบที่ใชโดยสวนใหญเปน วัตถุดิบที่หาไดภายในประเทศอันเกิดจากผลผลิตทางภาคเกษตร จึงสงผลทําใหจํานวนผูมีงานทํามาก ซึ่งจากตัวเลขการ สํารวจของสํานักงานสถิติแหงชาติ จํานวนผูมีงานทําในป 2544 ทั้งประเทศมีจํานวนทั้งสิ้นประมาณ 33.5 ลานคน (ดูแผนภาพที่ 4.6 ประกอบ) เปนบุคคลที่อยูในภาคเกษตรกรรมมากกวา 12 ลานคน หรือประมาณรอยละ 38 ของจํานวน ผูมีงานทําทั้งประเทศ ถึงแมวาภาคเกษตรกรรมจะไมไดรวมถึงผลผลิตที่เปนอาหาร แตก็นับวาเปนแหลงวัตถุดิบเกือบ  ทั้งหมดของอุตสาหกรรมอาหาร ในชวงป 2540-2544 การเติบโตของผูมีงานทําในภาคเกษตรกรรมแมจะลดลงก็ตาม แตความเติบโตของผูมีงานทําในอุตสาหกรรมอาหารมีอัตราเพิ่มขึ้นคอนขางสูงประมาณรอยละ 5.4 ที่เปนเชนนี้ สวนหนึ่ง เปนเพราะวาแรงงานในภาคเกษตรบางสวนไดยายเขาสูภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ โดยเฉพาะในชวงที่ไมอยูในฤดูกาล เก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตร ซึ่งแรงงานเหลานี้จะหันเขามาหางานทําในตัวเมืองหรือแหลงงานอื่น และสวนหนึ่งเมื่อได งานที่มั่นคงจึงไมกลับเขาสูภาคเกษตร = 1,000,000 คน 45.0% 40.0% สัดสวนตอผูมีงานทําทั้งประเทศป 2544 35.0% 30.0% เกษตรกรรม 25.0% 20.0% คาสงและคาปลีก บริการ 15.0% 10.0% 5.0% ขนสงและคมนาคม อาหาร 0.0% -4.0% -2.0% 0.0% 2.0% 4.0% 6.0% 8.0% 10.0% อัตราเติบโตของการจางงานชวงป 2540-2544 หมายเหตุ : จํานวนผูมีงานทําทั้งประเทศ ณ.สิ้นไตรมาสที่ 3 ป 2544 = 33.5 ลานคน ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และสํานักงานสถิติแหงชาติ แผนภาพที่ 4.6 เปรียบเทียบขนาดสัดสวน ความเติบโต และจํานวนผูมีงานทําของประเทศ สําหรับแรงงานในอุตสาหกรรมอาหาร โดยสวนใหญผูประกอบการในอุตสาหกรรมจะเนนการใช แรงงานเพื่อการผลิตในโรงงานเสียมากกวาการใชแรงงานที่มีทักษะฝมือ หรือแรงงานที่มความรูเฉพาะดาน ทั้งนี้เนื่องจากวา ี การใชเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมอาหารโดยสวนใหญเปนการใชเทคโนโลยีขั้นพื้นฐาน ประกอบกับลักษณะการดําเนินธุรกิจ จะมีรูปแบบการบริหารงานโดยเจาของเปนผูดูแลแตเพียงผูเดียว หรือเปนลักษณะการบริหารงานแบบครอบครัวที่สืบทอด ความรูในการผลิตมาจากบรรพบุรุษ ดังนั้น แรงงานที่ใชจึงเนนเฉพาะแรงงานที่ใชกําลังมากกวาแรงงานที่ใชความรู เชน คนงานคุมเครื่องจักรที่ใชผลิต คนงานลาง หั่น ตัด และตกแตงวัตถุดิบ คนงานบรรจุขวดหรือกระปอง คนงานติดฉลาก เปนตน แรงงานเหลานี้เปนแรงงานที่มีคาจางต่ํา แตเปนแรงงานที่สําคัญของผูประกอบการแตละราย หากเปรียบเทียบ คาแรงงานของคนงานในอุตสาหกรรมอาหารกับภาคธุรกิจอื่นๆ พบวา คาแรงงานตอปอยูในระดับต่ําแตก็มีแนวโนมการ
  • 11. การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 301 เพิ่มขึ้นของอัตราคาแรงงานอยางชัดเจนและตอเนื่องเชนเดียวกับภาคธุรกิจอื่นๆ ดังจะเห็นไดจากคาจางเฉลี่ยใน อุตสาหกรรมอาหารอยูในระดับต่ํากวาการบริการ การคมนาคมและขนสง และธุรกิจคาสงและคาปลีก โดยคาจางแรงงาน เฉลี่ยในอุตสาหกรรมอาหารอยูที่ประมาณ 73,458 บาทตอคนตอป ณ.ป 2544 แตเมื่อวัดถึงความคุมคาเมื่อเทียบกับ ผลิตผลที่เกิดจากการใชงานในอุตสาหกรรมแลว แรงงานในอุตสาหกรรมอาหารกอใหเกิดความคุมคาตอเงินคาจางใน อัตรา 1.5 เทา ซึ่งสูงกวาภาคธุรกิจบริการที่มีอัตราเพียง 0.5 เทา และภาคธุรกิจคาสงและคาปลีกที่มีอัตรา 1.03 เทา นั่นยอม แสดงใหเห็นถึงศักยภาพของแรงงานในอุตสาหกรรมอาหารยังอยูในเกณฑที่นาพอใจเมื่อเทียบกับอุตสากรรมอื่น ๆ แตเมื่อ เทียบกับตัวอุตสาหกรรมเองกลับมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง ดังตารางที่ 4.6 ตารางที่ 4.6 เปรียบเทียบคาจางและผลิตภาพของแรงงานในอุตสาหกรรมอาหาร 2540 2541 2542 2543 2544 คาจางเฉลี่ยตอป อุตสาหกรรมอาหาร 65,656 64,290 61,442 67,448 73,458 การบริการ 103,382 110,057 107,079 107,267 139,945 การคมนาคม และขนสง 136,482 157,830 145,565 157,184 151,245 คาสง คาปลีก 87,421 87,159 81,505 86,105 97,679 ผลิตภาพแรงงาน อุตสาหกรรมอาหาร 113,866 97,987 112,429 109,646 109,830 การบริการ 93,502 90,282 90,612 95,294 79,432 การคมนาคม และขนสง 272,811 259,067 269,154 303,163 310,100 คาสง คาปลีก 117,644 99,378 98,442 98,978 100,981 ผลิตภาพแรงงานตอคาจาง อุตสาหกรรมอาหาร 1.73 1.52 1.83 1.63 1.50 การบริการ 0.90 0.82 0.85 0.89 0.57 การคมนาคม และขนสง 2.00 1.64 1.85 1.93 2.05 คาสง คาปลีก 1.35 1.14 1.21 1.15 1.03 ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 4.1.2.3 สมรรถนะทางการตลาดและการสงออก เมื่อพิจารณาถึงการสรางรายไดใหแกประเทศ ก็จะพบวา การสงออกอาหารนับตั้งแตป 2541 มีมูลคา ปละกวา 4 แสนลานบาท ทั้งนี้เปนผลมาจากวิกฤตการณทางเศรษฐกิจและการปรับลดคาเงินบาทของประเทศ จึงทําให มูลคาการสงออกอาหารในรูปของเงินบาทมีเปนจํานวนมาก ผลักดันใหสัดสวนการสงออกอาหารตอผลิตภัณฑมวลรวม ของประเทศ จากเดิมเคยตกต่ําที่สุดในระดับประมาณรอยละ 6 เมื่อป 2539 สามารถเพิ่มขึ้นมาอยูในระดับสูงกวารอยละ 8.5 ในป 2544 ได อยางไรก็ตาม หากวิเคราะหถึงสัดสวนการสงออกอาหารตอการสงออกรวมแลว จะเห็นไดวา มีสัดสวน