SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  23
ตัว อย่า งแผนการจัด การเรีย นรู้
       วิช า สุข ศึก ษา ๕                        ชั้น
มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๕
       จำา นวน ๑ หน่ว ยกิต                       เวลา ๔๐
ชั่ว โมง /ปี
   หน่ว ย
                                                    เวลา
  การเรีย น          ชื่อ หน่ว ยการเรีย นรู้
                                                  (ชัว โมง)
                                                     ่
    รู้ท ี่
     ๑.       ระบบแห่งชีวต   ิ                        ๔
     ๒.       วางแผนดีชีวตมีสุขิ                     ๒
     ๓.       เพศกับวัฒนธรรมไทย                      ๒
     ๔.       ใส่ใจกับบทบาททางเพศ                    ๒
     ๕.       รู้จักสิทธิ                            ๒
     ๖.       พิษจากสื่อ                              ๔
    ๗.        โรคาพาให้ทุกข์                          ๔
     ๘.       กายจิตสัมพันธ์                         ๒
     ๙.       ชุมชนร่วมใจ ชีวิตปลอดภัย               ๒
    ๑๐.       อย่าไปหาสารเสพติด                       ๔
    ๑๑.       เฉียดเรื่องเสี่ยง                      ๒
    ๑๒.       หลีกเลี่ยงความขัดแย้ง                  ๒
    ๑๓.       ช่วยถูกวิธี ชีวิตปลอดภัย               ๒
    ๑๔.       ทดสอบความพร้อม                         ๒
                        สอบกลางภาค/สอบปลายภาค        ๔
                                          รวม        ๔๐
2


ภาพรวม (Big Idea)
3


                 โครงสร้า งการจัด การเรีย นรู้
วิช า สุข ศึก ษา ๕                                           ชั้น
มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๕
จำา นวน ๑ หน่ว ยกิต
เวลา ๔๐ ชั่ว โมง/ปี
     ชื่อ แผนการ                                               จำา นว
แผ
     จัด การเรีย น            เป้า หมายการเรีย นรู้            น(ชั่ว
นที่                                                           โมง)
            รู้
 ๑ ระบบแห่ง        สร้างเสริมและดำารงประสิทธิภาพการทำางาน         ๔
     ชีวิต         ของระบบอวัยวะต่างๆ ได้แก่ ระบบหายใจ
                   ระบบไหลเวียนเลือด ระบบย่อยอาหาร ระบบ
                   ขับถ่ายปัสสาวะ และการประสานงานทั้ง ๔
                   ระบบ ให้ทำาหน้าที่เป็นปกติ
 ๒ วางแผนดี        วางแผนและปฏิบัติในการดูแลสุขภาพ                  ๒
     ชีวิตมีสุข    พัฒนาสุขภาพของตนเองและบุคคลใน
                   ครอบครัวให้มีสุขภาพที่ดีตลอดไป
 ๓ เพศกับ          ๑. วิเคราะห์อิทธิพลของครอบครัว เพื่อน            ๒
     วัฒนธรรม         สังคม และวัฒนธรรมที่มีต่อพฤติกรรมทาง
     ไทย              เพศ และการดำาเนินชีวิตที่เหมาะสม
                   ๒. วิเคราะห์ค่านิยมในเรื่องเพศตาม
                      วัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมอื่นๆ ที่
                      เหมาะสม
 ๔ ใส่ใจกับ        ๑. วิเคราะห์อิทธิพลของครอบครัว เพื่อน            ๒
     บทบาท            สังคม และวัฒนธรรมที่มีต่อพฤติกรรมทาง
     ทางเพศ           เพศ และการดำาเนินชีวิตที่เหมาะสม
                   ๒. เลือกใช้ทักษะต่างๆ ในการป้องกัน ลด
                      ความขัดแย้ง และแก้ปัญหาเรื่องเพศ และ
                      ครอบครัว เช่น
                      - ทักษะการสื่อสารและสร้างสัมพันธภาพ
                      - ทักษะการต่อรอง
                      - ทักษะการปฏิเสธ
                      - ทักษะการคิดวิเคราะห์
                      - ทักษะการตัดสินใจ และแก้ไขปัญหา
                      ฯลฯ
 ๕ รู้จักสิทธิ     ปฏิบัติตนตามสิทธิพื้นฐานของผู้บริโภคและ          ๒
4

                       กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค
 ๖     พิษจากสื่อ      วิเคราะห์อิทธิพลของสื่อโฆษณาเกี่ยวกับ          ๔
                       สุขภาพ เพื่อเป็นแนวทาง ในการเลือกบริโภค
                       อย่างฉลาดและปลอดภัย

       ชือ แผนการ
         ่                                                          จำา นว
แผ
       จัด การเรีย น             เป้า หมายการเรีย นรู้              น(ชั่ว
นที่
             รู้                                                    โมง)
๗      โรคาพาให้๑. บอกบทบาทและความรับผิดชอบของ                        ๔
       ทุกข์       บุคคลที่มีต่อการ       สร้างเสริมสุขภาพ
                   และการป้องกันโรคในชุมชนได้
                ๒. วิเคราะห์สาเหตุของการเจ็บป่วยและการ
                   ตายของคนไทย เช่น โรคจากการ
                   ประกอบอาชีพ โรคทางพันธุกรรม และหา
                   ทางป้องกันการเจ็บป่วยจากโรคได้ถูกต้อง
                ๓. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลร้ายต่อสุขภาพของ
                   คนไทยและหาทางป้องกันได้ถูกต้อง เช่น
                   โรคฝุ่นหิน หรือโรคซิลิโคสิส โรคจากสาร
                   เคมีกำาจัดศัตรูพืช ฯลฯ
๘ กายจิต        ๑. บอกบทบาทและความรับผิดชอบของบุคคลที่                ๒
   สัมพันธ์        มีตอการสร้างเสริม สุขภาพและการป้องกัน
                       ่
                   โรคในชุมชนได้
                ๒. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลร้ายต่อสุขภาพของ
                   คนไทยและหาทางป้องกันได้ถูกต้อง
๙ ชุมชนร่วมใจ ๑. การปฏิบัติตนให้มีส่วนร่วมในการส่งเสริม               ๒
   ชีวิตปลอดภัย    และพัฒนาสุขภาพของบุคคลในชุมชน
                ๒. วางแผน กำาหนดแนวทางลดอุบัติเหตุ และ
                   สร้างเสริม         ความปลอดภัยในชุมชน
                   รวมทั้งจัดกิจกรรมการสร้างเสริมความ
                   ปลอดภัยในชุมชน
๑๐ อย่าไปหาสาร ๑. จัดกิจกรรมป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้                ๔
   เสพติด          สารเสพติด และ ความรุนแรง
                ๒. วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากการครอบ
                   ครอง การใช้ และ         การจำาหน่ายสาร
                   เสพติด (ตนเอง ครอบครัว เศรษฐกิจ
                   สังคม) รวมทังให้ความรูเรืองโทษทาง
                                ้           ้ ่
                   กฎหมายทีเกิดจากการครอบครอง การใช้
                              ่
                   และการจำาหน่ายสารเสพติดแก่ชุมชน
                   ครอบครัว และสังคมส่วนรวม ฯลฯ
๑๑ เฉียดเรื่อง  ๑. จัดกิจกรรมป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้               ๒
   เสี่ยง          สารเสพติด และ ความรุนแรง
                ๒. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลร้ายต่อสุขภาพของ
5

                        คนไทยและหาทางป้องกันได้ถูกต้อง
                     ๓. วางแผน กำาหนดแนวทางลดอุบัติเหตุ และ
                        สร้างเสริม       ความปลอดภัยในชุมชน
                        รวมทั้งจัดกิจกรรมการสร้างเสริมความ
                        ปลอดภัยในชุมชน
                     ๔. สร้างทักษะในการตัดสินใจแก้ปัญหาใน
                        สถานการณ์ที่เสี่ยงต่อสุขภาพ
                                                                   จำา น
     ชือ แผนการ
       ่
แผ                                                                 วน(ชั่
     จัด การเรีย น             เป้า หมายการเรีย นรู้
นที่                                                               วโมง
           รู้                                                       )
๑๒ หลีกเลี่ยง        ๑. เลือกใช้ทักษะต่างๆ ในการป้องกัน ลด          ๒
   ความขัดแย้ง          ความขัดแย้ง และแก้ปัญหาเรื่องเพศและ
                        ครอบครัว เช่น
                        - ทักษะการสื่อสารและสร้างสัมพันธภาพ
                        - ทักษะการต่อรอง
                        - ทักษะการปฏิเสธ
                        - ทักษะการคิดวิเคราะห์
                        - ทักษะการตัดสินใจ และแก้ไขปัญหา
                     ฯลฯ
                     ๒. วิเคราะห์หาสาเหตุของความความขัดแย้ง
                        ที่อาจเกิดขึ้นระหว่างนักเรียนหรือเยาวชน
                        ในชุมชน และวิเคราะห์ผลกระทบ พร้อมทัง   ้
                        หาแนวทางแก้ปัญหาที่อาจเกิดจากความ
                        ขัดแย้งของนักเรียนหรือเยาวชนในชุมชน
                     ๓. สร้างทักษะในการตัดสินใจแก้ปัญหาใน
                        สถานการณ์ที่เสี่ยงต่อสุขภาพ
๑๓ ช่วยถูกวิธี       แสดงวิธีการช่วยฟื้นคืนชีพอย่างถูกวิธี           ๒
   ชีวิตปลอดภัย
๑๔ ทดสอบความ         ๑. การปฏิบัติตนให้มีส่วนร่วมในการส่งเสริม       ๒
   พร้อม                และพัฒนาสุขภาพของบุคคลในชุมชน
                     ๒.วางแผนพัฒนาสมรรถภาพทางกายและ
                        สมรรถภาพทางกลไก
                               สอบกลางภาค/สอบปลายภาค                ๔
                                                           รวม      ๔๐
6
7


              การออกแบบหน่ว ยการเรีย นรู้
           Backward Design
          กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ส ุข ศึก ษาและพลศึก ษา
วิช า สุข ศึก ษา ๕                              ชั้น
มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๕   เวลา ๔ ชั่ว โมง
หัว เรื่อ ง/Theme หน่ว ยการเรีย นรูท ี่ ๑ ระบบแห่ง ชีว ต
                                   ้                   ิ
๑. การกำา หนดเป้า หมายการเรีย นรู้
   1. การทำางานของระบบอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย
   2. ระบบหายใจ
   3. ระบบไหลเวียนเลือด
   4. ระบบย่อยอาหาร
   5. ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
   6. การประสานงานทั้ง ๔ ระบบ

                        ภาพรวม (Big Idea)




๒. มาตรฐานการเรีย นรู้ท เ ป็น เป้า หมาย
                        ี่
   มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
                 ของมนุษย์
๓. ตัว ชี้ว ด : สิ่ง ที่ผ เ รีย นพึง รูแ ละปฏิบ ต ิไ ด้
            ั             ู้           ้        ั
   ๑. อธิบายกระบวนการสร้างเสริมและดำารงประสิทธิภาพการทำางานของ
ระบบอวัยวะต่างๆ
๔. เป้า หมายการเรีย นรู้
   1. ความเข้า ใจที่ค งทน
      สร้างเสริมและดำารงประสิทธิภาพการทำางานของระบบอวัยวะต่างๆ ได้แก่
ระบบหายใจ ระบบไหลเวียนเลือด ระบบย่อยอาหาร ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
และการประสานงานทั้ง ๔ ระบบ ให้ทำาหน้าที่เป็นปกติ
   2. จิต พิส ัย
8

        เข้าใจกระบวนการสร้างเสริมและดำารงประสิทธิภาพการทำางานของ
ระบบอวัยวะต่างๆ ได้แก่ ระบบหายใจ ระบบไหลเวียนเลือด ระบบย่อยอาหาร
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ และการประสานงานทั้ง ๔ ระบบ ให้ทำาหน้าที่           เป็น
ปกติ
    ๓. สมรรถนะสำา คัญ ของผู้เ รีย น
       ๑) ความสามารถในการสื่อสาร
       ๒) ความสามารถในการคิด
       ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา
       ๔) ความสามารถในการใช้ทกษะชีวต
                                  ั       ิ
       ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
    ๔. คุณ ลัก ษณะที่พ ง ประสงค์
                          ึ
       ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
       ๒) ซื่อสัตย์สุจริต
       ๓) มีวินัย
       ๔) ใฝ่เรียนรู้
       ๕) อยู่อย่างพอเพียง
       ๖) มุ่งมั่นในการทำางาน
       ๗)        รักความเป็นไทย
       ๘) มีจิตสาธารณะ
    ๕. ความรู้แ ละทัก ษะเฉพาะวิช า
       ๑) การทำางานของระบบอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย
       ๒) ระบบหายใจ
       ๓) ระบบไหลเวียนเลือด
       ๔) ระบบย่อยอาหาร
       ๕) ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
       ๖) การประสานงานทั้ง ๔ ระบบ
    ๖. ทัก ษะคร่อ มวิช า
       ๑) ทักษะการฟัง การฟังครูอธิบาย และเพื่อนๆ แสดงความคิดเห็นใน
ชั้นเรียน
       ๒) ทักษะการอ่าน        การอ่านเนื้อหาสาระหน่วยการเรียนรู้ที่ ๑
       ๓) ทักษะการเขียน การเขียนรายงาน การทำาแบบฝึกหัด และการทำา
รายงาน
       ๔) ทักษะการนำาเสนอ (การพูด) การนำาเสนอเนื้อหาสาระในหน่วยการ
เรียนรู้
       ๕) ทักษะการทำางานกลุ่ม ระดมความคิดในการทำางานกลุ่ม
       ๖) การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ การเขียนผังความคิด (Mind
Mapping)
9


                 แผนการจัด การเรีย นรู้ท ี่ ๑
วิช า สุข ศึก ษา ๕
ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๕
หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ ๑   เรื่อ ง ระบบแห่ง ชีว ิต
                เวลา ๔ ชั่ว โมง
๑. เป้า หมายการเรีย นรู้
       สร้างเสริมและดำารงประสิทธิภาพการทำางานของระบบอวัยวะต่างๆ
ได้แก่ ระบบหายใจ ระบบไหลเวียนเลือด ระบบย่อยอาหาร ระบบขับถ่าย
ปัสสาวะ และการประสานงานทั้ง ๔ ระบบ ให้ทำาหน้าที่เป็นปกติ
๒. สาระสำา คัญ
       มนุษย์ทุกคนต้องหายใจเพื่อการดำารงชีวิตอยู่ กระบวนการหายใจเกิด
ขึ้นกับเซลล์ในร่างกายอยู่ตลอดเวลา การหายใจเป็นการนำาอากาศเข้าและ
ออกจากร่างกาย ส่งผลให้ก๊าซออกซิเจนที่เราได้รับจากการหายใจเข้าทำา
ปฏิกิริยากับสารอาหารได้พลังงานและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ การทำางาน
ของระบบหายใจจะประสานสัมพันธ์กับระบบอวัยวะอื่นๆ โดยเฉพาะระบบไหล
เวียนเลือด เพราะระบบไหลเวียนเลือดจะนำาออกซิเจนจากปอดที่ได้รับจาก
การหายใจไปสู่ระบบย่อยอาหารเพื่อเผาผลาญอาหารทำาให้เกิดพลังงานซึ่ง
ร่างกายนำาไปใช้ในการดำารงชีวิต ในขณะที่ระบบขับถ่ายปัสสาวะทำาหน้าที่
ขับถ่ายของเสียออกไปจากร่างกาย การดูแลรักษาระบบหายใจและระบบไหล
เวียนเลือด ระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายปัสสาวะจึงมีความจำาเป็นอย่าง
ยิ่งในการจะดำารงรักษาสุขภาพให้ทำางาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๓. มาตรฐานและตัว ชีว ัด
                   ้
   มาตรฐาน พ ๑.๑      เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและ
พัฒนาการของมนุษย์
   ตัว ชี้ว ด : สิ่ง ที่ผ ู้เ รีย นพึง รู้แ ละปฏิบ ัต ไ ด้
            ั                                         ิ
  ๑. อธิบายกระบวนการสร้างเสริมและดำารงประสิทธิภาพการทำางานของ
ระบบอวัยวะต่างๆ
๔. สาระการเรีย นรู้
   1. การทำางานของระบบอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย
   2. ระบบหายใจ
   3. ระบบไหลเวียนเลือด
   4. ระบบย่อยอาหาร
   5. ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
10

     6. การประสานงานทั้ง ๔ ระบบ



๕.  กิจ กรรมฝึก ทัก ษะที่ค วรเพิ่ม ให้น ัก เรีย น
  K (Knowledge)             P (Practice)                 A (Attitude)
 ความรู้ ความเข้า ใจ       การฝึก ปฏิบ ต ิั          คุณ ลัก ษณะอัน พึง
                                                              ประสงค์
 ๑. อธิบายการทำางาน      ๑. สร้างเสริมและดำารง      ๑. รักชาติ ศาสน์
    และกระบวนการ            ประสิทธิภาพการ          กษัตริย์
    สร้างเสริมและดำารง      ทำางานของระบบ           ๒. ซื่อสัตย์สุจริต
    ประสิทธิภาพการ          อวัยวะต่างๆ ได้แก่      ๓. มีวินัย
    ทำางานของระบบ           ระบบหายใจ ระบบ          ๔. ใฝ่เรียนรู้
    หายใจ ระบบไหล           ไหลเวียนเลือด           ๕. อยู่อย่างพอเพียง
    เวียนเลือด ระบบ         ระบบย่อยอาหาร           ๖. มุ่งมั่นในการทำางาน
    ย่อยอาหาร และ           ระบบขับถ่าย             ๗.รักความเป็นไทย
    ระบบขับถ่าย             ปัสสาวะ และการ          ๘. มีจิตสาธารณะ
    ปัสสาวะ                 ประสานงานทั้ง ๔
 ๒. ปฏิบติตนในการ
         ั                  ระบบ ให้ทำาหน้าที่
    สร้างเสริมและดำารง      เป็นปกติ
    ประสิทธิภาพ
    การทำางานของ
    ระบบหายใจ ระบบ
    ไหลเวียนเลือด
    ระบบย่อยอาหาร
    และระบบขับถ่าย
    ปัสสาวะ
๖.       การวัด และประเมิน ผล
     ๑ . เครื่อ งมือ วัด และประเมิน ผล
         ๑) แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน
         ๒) แบบฝึกหัด
         ๓) ใบงาน
         ๔) แบบประเมินพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม
         ๕) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
         ๖) แบบสังเกตสมรรถนะของผู้เรียน
         ๗)แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
     ๒. วิธ ว ด ผล
            ี ั
         ๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน
         ๒) ตรวจแบบฝึกหัด
11

        ๓) ตรวจใบงาน
        ๔) สังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม
        ๕) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
        ๖) สังเกตสมรรถนะของผู้เรียน
        ๗)สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
     ๓. เกณฑ์ก ารวัด และประเมิน ผล
        ๑) สำาหรับชัวโมงแรกทีใช้แบบทดสอบก่อนเรียนไม่มเกณฑ์ผาน เก็บ
                    ่        ่                       ี       ่
คะแนนไว้เปรียบเทียบกับคะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรียน
        ๒) การประเมินผลจากแบบฝึกหัด ต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบเกินร้อย
ละ ๕๐
        ๓) การประเมินผลจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน
เรื่องความรู้ความเข้าใจ การนำาไปใช้ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ
๕๐
        ๔) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุม ต้องผ่าน
                                                         ่
เกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐
        ๕) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการ
ประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
        ๖) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของผู้เรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
การประเมินตามสภาพจริง
        ๗) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมิน         ตามสภาพจริง
๗. หลัก ฐาน/ผลงาน
   ๑. ผลการทำาแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน แบบฝึกหัด/การตอบ
คำาถาม
   ๒. ผลการทำาใบงาน
๘. กิจ กรรมการเรีย นรู้
  ชัว โมงที่ ๑
    ่
    ขัน ปฐมนิเ ทศ/ขั้น นำา เข้า สู่บ ทเรีย น
      ้
    1. นักเรียนรับฟังคำาชี้แจง สังเขปวิชาพื้นฐาน สุขศึกษา ๕ ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ ๕ เวลาเรียนและการประเมินผล ซักถามปัญหา รวมทั้งแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับการเรียนวิชานี้
    2. ครูชี้แจงวิธีการประเมินสมรรถนะของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของผู้เรียนว่าจะต้องทำาควบคู่กับกระบวนการทำากิจกรรมกลุ่ม และครู
จะดูพัฒนาการของผู้เรียนไปตลอดภาคการศึกษา
    3. ครูชี้แจงกำาหนดค่าระดับคะแนน ตามเกณฑ์ดังนี้
        คะแนนร้อยละ         ๘๐-๑๐๐             ได้เกรด    ๔
        คะแนนร้อยละ         ๗๕-๗๙              ได้เกรด    ๓.๕
12

     คะแนนร้อยละ        ๗๐-๗๔             ได้เกรด     ๓
     คะแนนร้อยละ        ๖๕-๖๙             ได้เกรด     ๒.๕
     คะแนนร้อยละ        ๖๐-๖๔             ได้เกรด     ๒
     คะแนนร้อยละ        ๕๕-๕๙             ได้เกรด     ๑.๕
     คะแนนร้อยละ        ๕๐-๕๔             ได้เกรด     ๑
     คะแนนร้อยละ        ๐-๔๙        ได้เกรด     ๐
    ขั้น สอน
    4. นักเรียนสนทนากับครู เรื่องการทำางานของระบบอวัยวะต่างๆ ของ
ร่างกายมนุษย์ตามธรรมชาติตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งเป็นระบบแห่งชีวิต
โดยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
    5. ครูแนะนำาให้นักเรียนทุกคนได้น้อมนำาเอาหลักเศรษฐกิจพอเพียงมา
ประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้การทำำงานของระบบอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย
มนุษย์ เพราะจะทำาให้มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตนเอง และจะเป็นประโยชน์ในด้าน
อื่นๆ อีกมาก




   6.จากรูปภาพข้างต้น ครูชี้ให้นักเรียนได้ตระหนักถึงความสำาคัญของหลัก
       เศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้
      • ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักพิจารณาอยู่ ๕ ส่วน ดังนี้
         ๑)กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดำารงอยู่ และปฏิบัติ
ตนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย นำา
มาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา เป็นการมองโลกเชิงระบบที่มี           การ
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย วิกฤต เพื่อความมั่นคง
และความยั่งยืนของการพัฒนา
13

           ๒)คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำามาประยุกต์ใช้กับการ
ปฏิบติตนได้ทุกระดับ โดยเน้น การปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนา
      ั
อย่างเป็นขั้นตอน
           ๓)คำานิยาม ความพอเพียง ต้องประกอบด้วย ๓ คุณลักษณะ พร้อมๆ
กัน ดังนี้
             (๑)ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไป และไม่
มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น
             (๒)      ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความ
พอเพียง ต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
และคำานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำานั้นอย่างรอบคอบ
             (๓)      การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อม
รับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคำานึงถึงความ
เป็นไปได้ของสถานการณ์ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต
           ๔)เงื่อนไข การตัดสินใจและการดำาเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับ
พอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน ประกอบด้วย
             (๑)เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการที่
เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน              ความรอบคอบที่จะนำาความรู้เหล่านั้นมา
พิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ
             (๒)      เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความ
ตระหนักในคุณธรรม มี                 ความซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความ
เพียร ใช้สติปัญญาในการดำาเนินชีวิต
           ๕)แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนำาปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับ
ต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้ และ
เทคโนโลยี
   ขั้น สรุป และประยุก ต์
   7. นักเรียนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน และตรวจด้วยตนเอง
   8. ครูเน้นให้นักเรียนนำาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน
และปรับใช้ในการเรียนเพื่อปลูกฝังให้ดำาเนินชีวิตได้อย่างมีความสุขต่อไป
และมอบหมายให้นักเรียนทำาโครงงานเสนอแนะ เรื่อง สังคมดี ด้วยวิถีพอ
เพียง โดยให้ศึกษาวิธีการเขียนโครงงานจากภาคผนวก ในหนังสือเสริมฝึก
ประสบการณ์ สุขศึกษา ๕ ของสำานักพิมพ์เอมพันธ์ โดยแจ้งให้นักเรียนส่ง
โครงงาน เมื่อจบภาคเรียน
   ชัว โมงที่ ๒
     ่
  ขัน นำา เข้า สู่บ ทเรีย น
    ้
14

  9. นักเรียนดูรปภาพระบบการทำางานของอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย แล้ว
                 ู
สนทนาซักถาม โดยให้นกเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
                        ั
  10.        ครูเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน และแจ้งกิจกรรมฝึกทักษะที่ควรเพิ่ม
     ให้นักเรียนทราบ




    ขัน สอน
      ้
    11.       นักเรียนชมวีดิทัศน์เกี่ยวกับระบบอวัยวะของร่างกายมนุษย์ เช่น
ระบบหายใจ ระบบไหลเวียนเลือด ระบบย่อยอาหาร ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
เป็นต้น
    12.       นักเรียนแบ่งกลุ่มกันอภิปรายเรื่องการทำางานของระบบอวัยวะ
ต่างๆ ของร่างกาย
              กลุ่มที่ ๑   ระบบหายใจ
              กลุ่มที่ ๒   ระบบไหลเวียนเลือด
              กลุ่มที่ ๓   ระบบย่อยอาหาร
              กลุ่มที่ ๔   ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
              กลุ่มที่ ๕   การประสานงานทั้ง ๔ ระบบ
    13.       ครูแนะนำาให้นักเรียนสร้า งเสริม ภูม ิค ุ้ม กัน ให้กับระบบหายใจ
ซึ่งจะทำาให้ได้พลังงานมาใช้ในการทำากิจกรรมต่างๆ เช่น เดิน วิง กินอาหาร
                                                                    ่
หรือการทำางานของอวัยวะภายในร่างกาย
    14.       ครูให้นักเรียนลองสูดลมหายใจ เมื่ออากาศผ่านรูจมูก เข้าสู่
โพรงจมูก หลอดลม ขัวปอด และเข้าสู่ปอด เมื่อมีการแลกเปลี่ยนแล้ว ก๊าซ
                         ้
คาร์บอนไดออกไซด์ออกจากปอดสู่บรรยากาศ โดยการหายใจเข้าออกเกิด
จากการทำางานของอวัยวะ ๒ ชนิด คือ กะบังลมและกล้ามเนื้อยึดกระดูก
ซี่โครง ขณะที่กระดูกซี่โครงเลื่อนสูงขึ้น กะบังลมลดตำ่าลง ทำาให้ปริมาตรช่อง
อกมีมากขึ้น ความดันอากาศลดลง อากาศภายนอกจึงผ่านเข้าสู่ปอดเป็น
จังหวะหายใจเข้า และขณะที่กระดูกซี่โครงเลื่อนตำ่าลง กะบังลมเลื่อนสูงขึ้น
ทำาให้ปริมาตรของช่องอกน้อยลง ความดันอากาศภายใน                    ช่องอกสูงขึ้น
อากาศภายในจึงออกจากปอดสู่บรรยากาศภายนอกร่างกายเป็นการหายใจ
ออก
    15.       ครูยกตัวอย่างการนำาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้กับการ
เรียนเกี่ยวกับระบบหายใจ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง และเพื่อเสริมสร้าง
และดำารงประสิทธิภาพการทำางานของระบบหายใจ เช่น
15

       • งดสูบบุหรี่และหลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้ผู้สูบบุหรี่ เพราะควันบุหรี่จะ
               ทำาให้การทำางานของปอดลดลง
       • ควรมีอุปกรณ์ปิดจมูก เช่น ผ้าปิดจมูก–ปาก หรือเครื่องกรองอากาศ
เมื่ออยู่ในบริเวณที่มีฝุ่นหรือมลพิษทางอากาศอยู่
       • กินอาหารครบทุกหมู่ ไม่กินอาหารดิบหรือสุกๆ ดิบๆ หลีกเลี่ยง
อาหารที่มีไขมันมาก หรือรสเค็มจัด
       • สวมเสื้อผ้าให้หนาเพื่อให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย โดยเฉพาะปอด
     16.       ครูมอบหมายงานให้ผู้เรียนเขียนแผนภาพประกอบแสดงการ
       ทำางานของระบบหายใจของมนุษย์




  ขัน สรุป และประยุก ต์
    ้
  ๑๗.       นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเรื่องการทำางานของระบบอวัยวะ
  ต่างๆ ของร่ายกาย และระบบหายใจ
  ๑๘.       นักเรียนทำาใบงานที่ ๑.๑, ๑.๒ และแบบฝึกหัด ในหนังสือเสริม
  ฝึกประสบการณ์ สุขศึกษา ๕
  ชัว โมงที่ ๓
    ่
    ขัน นำา เข้า สู่บ ทเรีย น
       ้
    ๑๙.        ครูและนักเรียนสนทนาเรื่องนำ้าเลือด (Plasma) ประกอบด้วยนำ้า
ประมาณร้อยละ ๙๑ ส่วนอื่นๆ ได้แก่ โปรตีน วิตามิน แร่ธาตุ เอนไซม์ และ
ก๊าซ และส่วนที่เป็นของแข็ง ประกอบด้วย เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และ
เกล็ดเลือด
     ๒๐.       ครูกล่าวเพิ่มเติมว่าเซลล์เม็ดเลือดแดง มีส่วนประกอบเป็นโปรตีน
ที่มีเหล็กเป็นองค์ประกอบ เรียก เฮโมโกลบิน ก๊าซออกซิเจนที่ได้จากการ
หายใจเข้าจะรวมกับเฮโมโกลบิน แล้วลำาเลียงไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย
เซลล์เม็ดเลือดแดงมีอายุประมาณ ๑๐๐-๑๒๐ วัน หลังจากนั้นถูกทำาลายที่ตับ
และม้าม
16

       • เซลล์เม็ดเลือดขาว มีขนาดใหญ่กว่าเม็ดเลือดแดง ทำาหน้าที่ต่อสู้
เชื้อโรคโดยการกินเชื้อโรค เมื่อ    เชื้อโรคตาย เม็ดเลือดขาวจะตายกลาย
เป็นหนอง
       • เกล็ดเลือด จะช่วยทำาให้เลือดแข็งตัว เมื่อเลือดออกสู่ภายนอก
ร่างกาย และช่วยห้ามเลือดในกรณีที่ เกิดบาดแผล




    ขัน สอน
      ้
    ๒๑.        ครูอธิบายการทำางานของระบบไหลเวียนเลือด และระบบย่อย
อาหาร โดยเปิดวีดิทัศน์ สื่อแผ่นใสและรูปภาพประกอบการเรียนการสอน เพื่อ
สื่อความหมายให้นักเรียนเข้าใจง่ายยิ่งขึ้น
    ๒๒.        เมื่อนักเรียนดูวีดิทัศน์จบแล้ว ครูสรุปและเน้นให้ความรู้นักเรียน
ว่าหลอดเลือดแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ หลอดเลือดแดง (Artery) และหลอด
เลือดดำา (Vein) โดยหลอดเลือดแดง คือ หลอดเลือดที่นำาเลือดออกจากหัวใจ
หลอดเลือดแดงขนาดใหญ่ที่สุด เรียก เอออร์ตา (Aorta) ซึ่งมีเส้นผ่าน
ศูนย์กลาง ๒.๕ เซนติเมตร และไหลไปตามหลอดเลือดแดงขนาดเล็กลง เรียก
หลอดเลือดแดงเล็ก เรียกว่า อาร์เตอริโอล (Arteriole) ซึ่งมีเส้นผ่าน
ศูนย์กลาง        ๐.๒ มิลลิเมตร และเลือดเข้าสู่หลอดเลือดฝอย ซึ่งเป็นหลอด
เลือดที่เชื่อมต่อกับหลอดเลือดดำาเล็กและไหลไปตามหลอดเลือดดำาขนาดเล็ก
ไปจนถึงหลอดเลือดดำาขนาดใหญ่ที่สุด คือ เวนาคาวา (Vena cava) เพื่อเข้า
สู่หวใจ
    ั
    ๒๓.        ครูแนะนำาให้นักเรียนนำาหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา
ใช้ในเรื่องการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง เพื่อสร้างเสริมและดำารง
ประสิทธิภาพการทำางานของระบบไหลเวียนเลือด เช่น
        • ลดอาหารจำาพวกไขมัน
        • ออกกำาลังกายอย่างสมำ่าเสมอ
        • รับประทานผักและผลไม้ให้มากๆ
        • งดการสูบบุหรี่ และการดื่มเครื่องดื่มที่ผสมแอลกอฮอล์
        • ปรึกษาแพทย์เมื่อมีอาการเจ็บแน่นที่อกและหัวใจเต้นผิดปกติ
    24.        ครูแสดงรูปภาพการย่อยอาหารในปาก การย่อยอาหารใน
        กระเพาะอาหารและในสำาไส้เล็ก
17




   ๒๕.       ครูแนะนำาให้นักเรียนนำาหลักของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มาใช้ในเรื่องการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง เพื่อสร้างเสริมและดำารง
ประสิทธิภาพการทำางานของระบบย่อยอาหาร เช่น
      • กินอาหารให้ตรงเวลาครบทุกมือ โดยเฉพาะอาหารมือเช้าทีเป็นมือ
                                         ้                    ้     ่ ้
สำาคัญ และหลีกเลียงอาหารทีมรสจัด อาหารหมักดอง และอาหารที่มีไขมัน
                  ่          ่ ี
มากเกินไป
      • ไม่ควรปล่อยให้กระเพาะอาหารว่าง ในช่วงเวลาเร่งด่วนควรกินของ
ว่าง ขนมหรือนม เพื่อไม่ให้นำ้าย่อยทำาลายผนังกระเพาะอาหาร
      • หลีกเลี่ยงการใช้แก้วนำ้าร่วมกัน เพราะอาจติดเชื้อไวรัสบางชนิดที่
เป็นสาเหตุให้ตับทำางานผิดปกติ
      • งดดื่มสุรา เบียร์ เพราะจะทำาให้ตับทำางานหนักในการกำาจัดของเสีย
      • ไม่กินอาหารดิบ หรือสุกๆ ดิบๆ เพราะอาจติดเชื้อพยาธิใบไม้ได้
      • ไม่เครียดจนเกินไป เพราะจะทำาให้การผลิตนำ้าย่อยมาสูกระเพาะ
                                                                ่
อาหารมากเกินไป และควรออกกำาลังกายให้สมำ่าเสมอ
      • พบแพทย์หากมีอาการผิดปกติบริเวณช่องท้องเป็นเวลานาน
   ๒๖.       นักเรียนทำาใบงานที่ ๑.๓ และ ๑.๔ ในหนังสือเสริมฝึก
ประสบการณ์ สุขศึกษา ๕
   ขั้น สรุป และประยุก ต์
   ๒๗.        ครูสุ่มถามผู้เรียนเป็นรายบุคคลเรื่องระบบไหลเวียนเลือด และ
ระบบย่อยอาหาร
   ๒๘.        นักเรียนทำาแบบทดสอบหลังเรียน และแบบฝึกหัดท้ายหน่วยการ
เรียนรู้ ในหนังสือเสริมฝึกประสบการณ์สุขศึกษา ๕
    ชัว โมงที่ ๔
      ่
    ขัน นำา เข้า สู่บ ทเรีย น
      ้
    ๒๙.        ครูและนักเรียนกล่าวถึงระบบขับถ่ายปัสสาวะ คือ ระบบที่
ประกอบด้วยอวัยวะหลายอย่าง ทำาหน้าที่ร่วมกันในการทำานำ้าปัสสาวะ เก็บนำ้า
ปัสสาวะชั่วคราวและขับนำ้าปัสสาวะออกทิ้งเพื่อเป็นการรักษาสภาวะสมดุลของ
สิ่งแวดล้อมภายในร่างกาย
18

  ๓๐.      นักเรียนบอกส่วนประกอบอวัยวะในระบบขับถ่ายปัสสาวะ
  ประกอบด้วย
     ๑) ไต เป็นที่กรองเอานำ้า และของเสียออกจากเลือดเป็นนำ้าปัสสาวะ
     ๒) หลอดไต นำานำ้าปัสสาวะออกจากไตไปสู่กระเพาะปัสสาวะ
     ๓) กระเพาะปัสสาวะ เป็นที่เก็บนำ้าปัสสาวะชั่วคราว
     ๔) ท่อปัสสาวะ เป็นทางผ่านของนำ้าปัสสาวะ จากกระเพาะปัสสาวะออก
  นอกร่างกาย
  ขัน สอน
    ้
  ๓๑.     ครูฉายวีดิทัศน์และแสดงแผ่นใสระบบขับถ่ายปัสสาวะ และการ
ประสานงานทั้ง ๔ ระบบ เพื่อสื่อให้นักเรียนเข้าใจง่ายยิ่งขึ้น




   ๓๒.        ครูแนะนำาให้นักเรียนสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง เพื่อเสริมสร้าง
ประสิทธิภาพการทำางานของระบบขับถ่ายปัสสาวะ และเพื่อให้ประสานงานกัน
ได้ทั้ง ๔ ระบบข้างต้น
        • กินอาหารที่มีคุณค่า โดยเฉพาะอาหารที่มีกากมากๆ เช่น ผักต่างๆ
        • ไม่กินอาหารที่มีรสจัด โดยเฉพาะเค็มจัด
        • ดื่มนำ้าที่สะอาดอย่างน้อยวันละ ๘-๑๐ แก้ว
        • ไม่กลั้นปัสสาวะเป็นเวลานาน เพราะจะทำาให้กระเพาะปัสสาวะ
                       อักเสบได้


   ขัน สรุป และประยุก ต์
     ้
   ๓๓.        สรุปเพิ่มเติมในส่วนที่ไม่ได้กล่าวถึง และสอดแทรกคุณธรรม
จริยธรรมเรื่องการดำารงชีวิต                      ที่มีคุณค่า โดยเน้นให้
นักเรียนเห็นคุณค่าและความสำาคัญของระบบอวัยวะต่างๆ ในร่างกายที่ถูก
ต้องเหมาะสม        ในการดำาเนินชีวิตประจำาวันเพื่อดูแลสุขภาพตามวัยอัน
เหมาะสม
19

  ๓๔.        ครูปลูกฝังให้นักเรียนเป็นพลเมืองดี โดยต้องปฏิบัติตาม
กฎหมาย ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมของชาติ คำาสั่งสอนของพ่อ
แม่ ครู อาจารย์ มีความสามัคคี เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ซึ่งกันและกัน รู้จักผิดชอบชั่วดี
ตาม       หลักจริยธรรม และหลักธรรมของศาสนา มีความรอบรู้ มีสติปัญญา
ขยันขันแข็ง สร้างความเจริญก้าวหน้าให้แก่ตนเอง ครอบครัว สังคม และ
ประเทศชาติ
  ๓๕.        นักเรียนทำาแบบฝึกหัดท้ายหน่วยการเรียนรู้ ในหนังสือเสริมฝึก
ประสบการณ์ สุขศึกษา ๕
  ๓๖.        ทำาแบบประเมินผลการเรียนรู้หลังเรียน และทำาใบงานที่ ๑.๕
และ ๑.๖
๙. สื่อ /แหล่ง การเรีย นรู้
  1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษา ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ของ
  บริษัท สำานักพิมพ์เอมพันธ์ จำากัด
  2. หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ สุขศึกษา ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ของ
  บริษัท สำานักพิมพ์เอมพันธ์ จำากัด
  3. วีดิทัศน์ เรื่องการทำางานของระบบอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย
  4. แผ่นใส และรูปภาพประกอบ
๑๐. การบูร ณาการ
   ๑. การบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการฟัง
ทักษะการอ่าน ทักษะการเขียน และทักษะการพูด
   ๒. การบูรณาการ มีดังนี้




           แบบทดสอบก่อ นเรีย น /หลัง เรีย นหน่ว ยที่ ๑
คำา ชี้แ จง จงเขียนเครื่องหมาย  ทับข้อที่นักเรียนคิดว่าถูกต้องที่สุด
20

๑. ระบบอวัยวะต่างๆ มีความสำาคัญต่อร่างกายอย่างไร
       ก. ช่วยให้ร่างกายทำางาน
       ข. ช่วยให้ร่างกายทำางานอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อสร้างเสริมให้ชีวิต
ดำารงอยู่
       ค. ช่วยให้มีชีวิตในการหายใจ
       ง. ช่วยให้มีชีวิตชีวา
๒. เซลล์เม็ดเลือดขาวทำาหน้าที่เก็บกินและย่อยสลายสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่
ร่างกายจะอยู่ส่วนใดของร่างกาย
        ก. หัวใจ                          ข. กระเพาะอาหาร
        ค. ผนังถุงลมปอด                   ง. ผนังลำาไส้
๓. เลือดมีสีแดงเกิดจากการรวมตัวของ ๒ สิ่งคือข้อใด
       ก. หลอดเลือดฝอยที่อยู่รอบๆ ถุงลมรวมตัวกับเฮโมโกลบินในเซลล์เม็ด
เลือดแดง
       ข. หลอดเลือดฝอยที่อยู่รอบๆ คอหอยรวมตัวกับเม็ดเลือดขาวในเซลล์
เม็ดเลือดแดง
       ค. หลอดเลือดฝอยที่อยู่รอบๆ จมูกรวมตัวกับเฮโมโกลบินในเซลล์เม็ด
เลือดขาว
       ง. หลอดเลือดฝอยที่อยู่รอบๆ หัวใจรวมตัวกับออกซิเจนในร่างกาย
๔. กะบังลมซึ่งเป็นกล้ามเนื้อผืนใหญ่อยู่ใต้ปอด เหนือกระเพาะอาหาร ทำา
หน้าที่สำาคัญคืออะไร
       ก. ช่วยให้มีเลือดไปเลี้ยงร่างกาย
       ข. ช่วยในการหายใจ
       ค. ช่วยในการเผาผลาญอาหาร
       ง. ช่วยให้มีแรงดันในช่องอก
๕. ระบบไหลเวียนเลือดทำาให้เลือดมีหน้าที่อะไร
       ก. ทำาให้ร่างกายแข็งแรง
       ข. ลำาเลียงออกซิเจนเข้าร่างกาย
       ค. ลำาเลียงอาหารที่ย่อยสลายแล้ว นำ้า ก๊าซ ไปเลี้ยงเซลล์ต่างๆ ของ
ร่างกาย
       ง. ลำาเลียงคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากร่างกาย
๖. เลือดเป็นของเหลวสีแดงมีฤทธิ์เป็นด่าง มีความเหนียวกว่านำ้ากี่เท่า และมี
    ในร่างกายมนุษย์กี่เปอร์เซ็นต์ของนำ้าหนักตัว
       ก. ประมาณ ๖ เท่า และมี ๑๐ เปอร์เซ็นต์ของนำ้าหนักตัว
       ข. ประมาณ ๗ เท่า และมี ๑๐ เปอร์เซ็นต์ของนำ้าหนักตัว
       ค. ประมาณ ๘ เท่า และมี ๑๐ เปอร์เซ็นต์ของนำ้าหนักตัว
       ง. ประมาณ ๕ เท่า และมี ๑๐ เปอร์เซ็นต์ของนำ้าหนักตัว
๗.นำ้าเหลืองประกอบด้วยอะไรบ้าง
21

      ก. นำ้า โปรตีน เอนไซม์ แอนติบอดี เซลล์เม็ดเลือดขาว
      ข. นำ้า โปรตีน เอนไซม์ แอนติบอดี เซลล์เม็ดเลือดแดง
      ค. โปรตีน เอนไซม์ แอนติบอดี แอนติเจน
      ง. นำ้า โปรตีน แอนติบอดี แอนติเจน
๘. สุทธิพงษ์มีนำ้าหนัก ๗๐ กิโลกรัม เลือดในร่างกายของเขาจะมีนำ้าหนัก
      ประมาณเท่าใด
      ก. ๓.๕ กิโลกรัม
      ข. ๕ กิโลกรัม
      ค. ๖ กิโลกรัม
      ง. ๗ กิโลกรัม
๙. ระบบย่อยอาหารเริ่มขึ้นที่ใด
      ก. ในปาก
      ข. ในกระเพาะอาหาร
      ค. ในลำาไส้เล็กและลำาไส้ใหญ่
      ง. การทำาให้อาหารย่อยเป็นชิ้นเล็กๆ ก่อนกิน
๑๐.      ปริมาณของนำ้าปัสสาวะที่ถูกขับออกมาในแต่ละวันจะมากหรือน้อย
         ขึ้นอยู่กับปัจจัยใดเป็นสำาคัญ
      ก. นำ้าหนักตัว
      ข. การใช้พลังงาน
      ค. ปริมาณนำ้าที่เข้าสู่ร่างกาย
      ง. ประสิทธิภาพในการทำางานของไต

          เฉลยแบบทดสอบก่อ นเรีย น /หลัง เรีย นหน่ว ยที่ ๑
  ๑.     ๒.     ๓.     ๔.     ๕.        ๖.   ๗.    ๘.    ๙.     ๑๐.
  ข.     ค.     ก.     ข.     ค.        ง.   ก.    ง.    ก.     ค.




                       บัน ทึก หลัง การสอน
๑. ผลการสอน
22

………………………………………………………………………………
……………...………………….
………………………………………………………………………………
……………………...………….
………………………………………………………………………………
………………………...……….
………………………………………………………………………………
………………………...……….
………………………………………………………………………………
……………………...………….
๒. ปัญ หา/อุป สรรค

………………………………………………………………………………
…………………..…………….
………………………………………………………………………………
…………………..…………….
………………………………………………………………………………
………………..……………….
………………………………………………………………………………
………………..……………….
………………………………………………………………………………
……………..………………….
๓. ข้อ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไ ข

………………………………………………………………………………
………………….…………….
………………………………………………………………………………
……………….……………….
………………………………………………………………………………
…………………….………….
………………………………………………………………………………
…………………….………….
………………………………………………………………………………
…………………….………….
23

                          ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน

                                    (..............................................
                                    )
                    วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ...........
๔. ข้อ เสนอแนะของหัว หน้า สถานศึก ษาหรือ ผู้ท ี่ไ ด้ร ับ มอบหมาย

………………………………………………………………………………
………………………...……….
………………………………………………………………………………
……………………………...….
………………………………………………………………………………
………………………...……….
………………………………………………………………………………
………………………...……….
………………………………………………………………………………
……………………...………….

                      ลงชื่อ...............................................................

                                            (..............................................
                                            ...............)

Contenu connexe

Tendances

แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5Kruthai Kidsdee
 
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 33.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3Kruthai Kidsdee
 
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพหน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพTerapong Piriyapan
 
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.33.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3Kruthai Kidsdee
 
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5wichsitb
 
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2tassanee chaicharoen
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศพัฒนา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศพัฒนาวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศพัฒนา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษาSambushi Kritsada
 
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดพัน พัน
 
การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติดการช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติดsarawut chaicharoen
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดN'Name Phuthiphong
 
บทคัดย่อ Is มุก
บทคัดย่อ Is มุกบทคัดย่อ Is มุก
บทคัดย่อ Is มุกPantawan Bututham
 
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติดงาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติดIce Ice
 
06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...Prachoom Rangkasikorn
 
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6Prachoom Rangkasikorn
 

Tendances (20)

แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
 
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 33.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
 
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพหน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
 
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.33.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
 
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
 
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศพัฒนา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศพัฒนาวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศพัฒนา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศพัฒนา
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
 
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
ปัญหาสังคม
ปัญหาสังคมปัญหาสังคม
ปัญหาสังคม
 
การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติดการช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
 
บทคัดย่อ Is มุก
บทคัดย่อ Is มุกบทคัดย่อ Is มุก
บทคัดย่อ Is มุก
 
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติดงาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
 
06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
 
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
 

En vedette

1.ตารางวิเคราะห์ฯสถานการณ์เสืี่ยงและยาเสพติดม.1
1.ตารางวิเคราะห์ฯสถานการณ์เสืี่ยงและยาเสพติดม.11.ตารางวิเคราะห์ฯสถานการณ์เสืี่ยงและยาเสพติดม.1
1.ตารางวิเคราะห์ฯสถานการณ์เสืี่ยงและยาเสพติดม.1Kruthai Kidsdee
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55Nun'Top Lovely LoveLove
 
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)Kruthai Kidsdee
 
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย)
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย)1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย)
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย)Kruthai Kidsdee
 
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1kruthirachetthapat
 
ตารางวิเคราะห์เนื้อหารายวิชา
ตารางวิเคราะห์เนื้อหารายวิชาตารางวิเคราะห์เนื้อหารายวิชา
ตารางวิเคราะห์เนื้อหารายวิชาthongtaw
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2kruthirachetthapat
 
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3tassanee chaicharoen
 
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดง
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดงตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดง
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดงKruthai Kidsdee
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1supap6259
 
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาkrulam007
 
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้Yatphirun Phuangsuwan
 
ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้
ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้
ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้kruthirachetthapat
 
1.หลักสูตรภาษาไทย
1.หลักสูตรภาษาไทย1.หลักสูตรภาษาไทย
1.หลักสูตรภาษาไทยnang_phy29
 
วิเคราะห์หลักสูตร ตัวอย่าง
วิเคราะห์หลักสูตร ตัวอย่างวิเคราะห์หลักสูตร ตัวอย่าง
วิเคราะห์หลักสูตร ตัวอย่างkruwongduan
 

En vedette (19)

1.ตารางวิเคราะห์ฯสถานการณ์เสืี่ยงและยาเสพติดม.1
1.ตารางวิเคราะห์ฯสถานการณ์เสืี่ยงและยาเสพติดม.11.ตารางวิเคราะห์ฯสถานการณ์เสืี่ยงและยาเสพติดม.1
1.ตารางวิเคราะห์ฯสถานการณ์เสืี่ยงและยาเสพติดม.1
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
 
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
 
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย)
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย)1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย)
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย)
 
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
 
ตารางวิเคราะห์เนื้อหารายวิชา
ตารางวิเคราะห์เนื้อหารายวิชาตารางวิเคราะห์เนื้อหารายวิชา
ตารางวิเคราะห์เนื้อหารายวิชา
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 
แบบทดสอบการอ่านเข้าใจ
แบบทดสอบการอ่านเข้าใจแบบทดสอบการอ่านเข้าใจ
แบบทดสอบการอ่านเข้าใจ
 
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
 
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
 
Asean complete
Asean completeAsean complete
Asean complete
 
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดง
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดงตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดง
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดง
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
 
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
 
ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้
ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้
ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้
 
1.หลักสูตรภาษาไทย
1.หลักสูตรภาษาไทย1.หลักสูตรภาษาไทย
1.หลักสูตรภาษาไทย
 
วิเคราะห์หลักสูตร ตัวอย่าง
วิเคราะห์หลักสูตร ตัวอย่างวิเคราะห์หลักสูตร ตัวอย่าง
วิเคราะห์หลักสูตร ตัวอย่าง
 

Similaire à โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด

จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพtassanee chaicharoen
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2supap6259
 
นำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตนำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตjd18122505
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...freelance
 
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิงniralai
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Nan Natni
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนnang_phy29
 
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1Prapaporn Boonplord
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 

Similaire à โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
 
นำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตนำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขต
 
สุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาสุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
06 ตอนที่ 2 หน่วย 5
06 ตอนที่ 2 หน่วย 506 ตอนที่ 2 หน่วย 5
06 ตอนที่ 2 หน่วย 5
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้นสุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
 
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 
Communty diagnosis
Communty diagnosisCommunty diagnosis
Communty diagnosis
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลายสุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
 

Plus de Kruthai Kidsdee

คู่มืออบรม Google sites
คู่มืออบรม  Google sitesคู่มืออบรม  Google sites
คู่มืออบรม Google sitesKruthai Kidsdee
 
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google docคู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google docKruthai Kidsdee
 
คู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plusคู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plusKruthai Kidsdee
 
คู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveคู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveKruthai Kidsdee
 
คู่มือการใช้งาน Google
คู่มือการใช้งาน  Googleคู่มือการใช้งาน  Google
คู่มือการใช้งาน GoogleKruthai Kidsdee
 
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesการสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesKruthai Kidsdee
 
การใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsการใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsKruthai Kidsdee
 
Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2Kruthai Kidsdee
 
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.3230 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32Kruthai Kidsdee
 
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝันแนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝันKruthai Kidsdee
 
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015Kruthai Kidsdee
 
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015Kruthai Kidsdee
 
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091Kruthai Kidsdee
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าKruthai Kidsdee
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าKruthai Kidsdee
 

Plus de Kruthai Kidsdee (20)

Google apps content_1
Google apps content_1Google apps content_1
Google apps content_1
 
Google drive
Google driveGoogle drive
Google drive
 
Google docs 11
Google docs 11Google docs 11
Google docs 11
 
Google form 11
Google form 11Google form 11
Google form 11
 
คู่มืออบรม Google sites
คู่มืออบรม  Google sitesคู่มืออบรม  Google sites
คู่มืออบรม Google sites
 
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google docคู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
 
คู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plusคู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plus
 
คู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveคู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google drive
 
คู่มือการใช้งาน Google
คู่มือการใช้งาน  Googleคู่มือการใช้งาน  Google
คู่มือการใช้งาน Google
 
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesการสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
 
การใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsการใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docs
 
Google appsall
Google appsallGoogle appsall
Google appsall
 
Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2
 
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.3230 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
 
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝันแนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
 
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 

โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด

  • 1. ตัว อย่า งแผนการจัด การเรีย นรู้ วิช า สุข ศึก ษา ๕ ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๕ จำา นวน ๑ หน่ว ยกิต เวลา ๔๐ ชั่ว โมง /ปี หน่ว ย เวลา การเรีย น ชื่อ หน่ว ยการเรีย นรู้ (ชัว โมง) ่ รู้ท ี่ ๑. ระบบแห่งชีวต ิ ๔ ๒. วางแผนดีชีวตมีสุขิ ๒ ๓. เพศกับวัฒนธรรมไทย ๒ ๔. ใส่ใจกับบทบาททางเพศ ๒ ๕. รู้จักสิทธิ ๒ ๖. พิษจากสื่อ ๔ ๗. โรคาพาให้ทุกข์ ๔ ๘. กายจิตสัมพันธ์ ๒ ๙. ชุมชนร่วมใจ ชีวิตปลอดภัย ๒ ๑๐. อย่าไปหาสารเสพติด ๔ ๑๑. เฉียดเรื่องเสี่ยง ๒ ๑๒. หลีกเลี่ยงความขัดแย้ง ๒ ๑๓. ช่วยถูกวิธี ชีวิตปลอดภัย ๒ ๑๔. ทดสอบความพร้อม ๒ สอบกลางภาค/สอบปลายภาค ๔ รวม ๔๐
  • 3. 3 โครงสร้า งการจัด การเรีย นรู้ วิช า สุข ศึก ษา ๕ ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๕ จำา นวน ๑ หน่ว ยกิต เวลา ๔๐ ชั่ว โมง/ปี ชื่อ แผนการ จำา นว แผ จัด การเรีย น เป้า หมายการเรีย นรู้ น(ชั่ว นที่ โมง) รู้ ๑ ระบบแห่ง สร้างเสริมและดำารงประสิทธิภาพการทำางาน ๔ ชีวิต ของระบบอวัยวะต่างๆ ได้แก่ ระบบหายใจ ระบบไหลเวียนเลือด ระบบย่อยอาหาร ระบบ ขับถ่ายปัสสาวะ และการประสานงานทั้ง ๔ ระบบ ให้ทำาหน้าที่เป็นปกติ ๒ วางแผนดี วางแผนและปฏิบัติในการดูแลสุขภาพ ๒ ชีวิตมีสุข พัฒนาสุขภาพของตนเองและบุคคลใน ครอบครัวให้มีสุขภาพที่ดีตลอดไป ๓ เพศกับ ๑. วิเคราะห์อิทธิพลของครอบครัว เพื่อน ๒ วัฒนธรรม สังคม และวัฒนธรรมที่มีต่อพฤติกรรมทาง ไทย เพศ และการดำาเนินชีวิตที่เหมาะสม ๒. วิเคราะห์ค่านิยมในเรื่องเพศตาม วัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมอื่นๆ ที่ เหมาะสม ๔ ใส่ใจกับ ๑. วิเคราะห์อิทธิพลของครอบครัว เพื่อน ๒ บทบาท สังคม และวัฒนธรรมที่มีต่อพฤติกรรมทาง ทางเพศ เพศ และการดำาเนินชีวิตที่เหมาะสม ๒. เลือกใช้ทักษะต่างๆ ในการป้องกัน ลด ความขัดแย้ง และแก้ปัญหาเรื่องเพศ และ ครอบครัว เช่น - ทักษะการสื่อสารและสร้างสัมพันธภาพ - ทักษะการต่อรอง - ทักษะการปฏิเสธ - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการตัดสินใจ และแก้ไขปัญหา ฯลฯ ๕ รู้จักสิทธิ ปฏิบัติตนตามสิทธิพื้นฐานของผู้บริโภคและ ๒
  • 4. 4 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค ๖ พิษจากสื่อ วิเคราะห์อิทธิพลของสื่อโฆษณาเกี่ยวกับ ๔ สุขภาพ เพื่อเป็นแนวทาง ในการเลือกบริโภค อย่างฉลาดและปลอดภัย ชือ แผนการ ่ จำา นว แผ จัด การเรีย น เป้า หมายการเรีย นรู้ น(ชั่ว นที่ รู้ โมง) ๗ โรคาพาให้๑. บอกบทบาทและความรับผิดชอบของ ๔ ทุกข์ บุคคลที่มีต่อการ สร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรคในชุมชนได้ ๒. วิเคราะห์สาเหตุของการเจ็บป่วยและการ ตายของคนไทย เช่น โรคจากการ ประกอบอาชีพ โรคทางพันธุกรรม และหา ทางป้องกันการเจ็บป่วยจากโรคได้ถูกต้อง ๓. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลร้ายต่อสุขภาพของ คนไทยและหาทางป้องกันได้ถูกต้อง เช่น โรคฝุ่นหิน หรือโรคซิลิโคสิส โรคจากสาร เคมีกำาจัดศัตรูพืช ฯลฯ ๘ กายจิต ๑. บอกบทบาทและความรับผิดชอบของบุคคลที่ ๒ สัมพันธ์ มีตอการสร้างเสริม สุขภาพและการป้องกัน ่ โรคในชุมชนได้ ๒. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลร้ายต่อสุขภาพของ คนไทยและหาทางป้องกันได้ถูกต้อง ๙ ชุมชนร่วมใจ ๑. การปฏิบัติตนให้มีส่วนร่วมในการส่งเสริม ๒ ชีวิตปลอดภัย และพัฒนาสุขภาพของบุคคลในชุมชน ๒. วางแผน กำาหนดแนวทางลดอุบัติเหตุ และ สร้างเสริม ความปลอดภัยในชุมชน รวมทั้งจัดกิจกรรมการสร้างเสริมความ ปลอดภัยในชุมชน ๑๐ อย่าไปหาสาร ๑. จัดกิจกรรมป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้ ๔ เสพติด สารเสพติด และ ความรุนแรง ๒. วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากการครอบ ครอง การใช้ และ การจำาหน่ายสาร เสพติด (ตนเอง ครอบครัว เศรษฐกิจ สังคม) รวมทังให้ความรูเรืองโทษทาง ้ ้ ่ กฎหมายทีเกิดจากการครอบครอง การใช้ ่ และการจำาหน่ายสารเสพติดแก่ชุมชน ครอบครัว และสังคมส่วนรวม ฯลฯ ๑๑ เฉียดเรื่อง ๑. จัดกิจกรรมป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้ ๒ เสี่ยง สารเสพติด และ ความรุนแรง ๒. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลร้ายต่อสุขภาพของ
  • 5. 5 คนไทยและหาทางป้องกันได้ถูกต้อง ๓. วางแผน กำาหนดแนวทางลดอุบัติเหตุ และ สร้างเสริม ความปลอดภัยในชุมชน รวมทั้งจัดกิจกรรมการสร้างเสริมความ ปลอดภัยในชุมชน ๔. สร้างทักษะในการตัดสินใจแก้ปัญหาใน สถานการณ์ที่เสี่ยงต่อสุขภาพ จำา น ชือ แผนการ ่ แผ วน(ชั่ จัด การเรีย น เป้า หมายการเรีย นรู้ นที่ วโมง รู้ ) ๑๒ หลีกเลี่ยง ๑. เลือกใช้ทักษะต่างๆ ในการป้องกัน ลด ๒ ความขัดแย้ง ความขัดแย้ง และแก้ปัญหาเรื่องเพศและ ครอบครัว เช่น - ทักษะการสื่อสารและสร้างสัมพันธภาพ - ทักษะการต่อรอง - ทักษะการปฏิเสธ - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการตัดสินใจ และแก้ไขปัญหา ฯลฯ ๒. วิเคราะห์หาสาเหตุของความความขัดแย้ง ที่อาจเกิดขึ้นระหว่างนักเรียนหรือเยาวชน ในชุมชน และวิเคราะห์ผลกระทบ พร้อมทัง ้ หาแนวทางแก้ปัญหาที่อาจเกิดจากความ ขัดแย้งของนักเรียนหรือเยาวชนในชุมชน ๓. สร้างทักษะในการตัดสินใจแก้ปัญหาใน สถานการณ์ที่เสี่ยงต่อสุขภาพ ๑๓ ช่วยถูกวิธี แสดงวิธีการช่วยฟื้นคืนชีพอย่างถูกวิธี ๒ ชีวิตปลอดภัย ๑๔ ทดสอบความ ๑. การปฏิบัติตนให้มีส่วนร่วมในการส่งเสริม ๒ พร้อม และพัฒนาสุขภาพของบุคคลในชุมชน ๒.วางแผนพัฒนาสมรรถภาพทางกายและ สมรรถภาพทางกลไก สอบกลางภาค/สอบปลายภาค ๔ รวม ๔๐
  • 6. 6
  • 7. 7 การออกแบบหน่ว ยการเรีย นรู้ Backward Design กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ส ุข ศึก ษาและพลศึก ษา วิช า สุข ศึก ษา ๕ ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๕ เวลา ๔ ชั่ว โมง หัว เรื่อ ง/Theme หน่ว ยการเรีย นรูท ี่ ๑ ระบบแห่ง ชีว ต ้ ิ ๑. การกำา หนดเป้า หมายการเรีย นรู้ 1. การทำางานของระบบอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย 2. ระบบหายใจ 3. ระบบไหลเวียนเลือด 4. ระบบย่อยอาหาร 5. ระบบขับถ่ายปัสสาวะ 6. การประสานงานทั้ง ๔ ระบบ ภาพรวม (Big Idea) ๒. มาตรฐานการเรีย นรู้ท เ ป็น เป้า หมาย ี่ มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการ ของมนุษย์ ๓. ตัว ชี้ว ด : สิ่ง ที่ผ เ รีย นพึง รูแ ละปฏิบ ต ิไ ด้ ั ู้ ้ ั ๑. อธิบายกระบวนการสร้างเสริมและดำารงประสิทธิภาพการทำางานของ ระบบอวัยวะต่างๆ ๔. เป้า หมายการเรีย นรู้ 1. ความเข้า ใจที่ค งทน สร้างเสริมและดำารงประสิทธิภาพการทำางานของระบบอวัยวะต่างๆ ได้แก่ ระบบหายใจ ระบบไหลเวียนเลือด ระบบย่อยอาหาร ระบบขับถ่ายปัสสาวะ และการประสานงานทั้ง ๔ ระบบ ให้ทำาหน้าที่เป็นปกติ 2. จิต พิส ัย
  • 8. 8 เข้าใจกระบวนการสร้างเสริมและดำารงประสิทธิภาพการทำางานของ ระบบอวัยวะต่างๆ ได้แก่ ระบบหายใจ ระบบไหลเวียนเลือด ระบบย่อยอาหาร ระบบขับถ่ายปัสสาวะ และการประสานงานทั้ง ๔ ระบบ ให้ทำาหน้าที่ เป็น ปกติ ๓. สมรรถนะสำา คัญ ของผู้เ รีย น ๑) ความสามารถในการสื่อสาร ๒) ความสามารถในการคิด ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔) ความสามารถในการใช้ทกษะชีวต ั ิ ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๔. คุณ ลัก ษณะที่พ ง ประสงค์ ึ ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒) ซื่อสัตย์สุจริต ๓) มีวินัย ๔) ใฝ่เรียนรู้ ๕) อยู่อย่างพอเพียง ๖) มุ่งมั่นในการทำางาน ๗) รักความเป็นไทย ๘) มีจิตสาธารณะ ๕. ความรู้แ ละทัก ษะเฉพาะวิช า ๑) การทำางานของระบบอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย ๒) ระบบหายใจ ๓) ระบบไหลเวียนเลือด ๔) ระบบย่อยอาหาร ๕) ระบบขับถ่ายปัสสาวะ ๖) การประสานงานทั้ง ๔ ระบบ ๖. ทัก ษะคร่อ มวิช า ๑) ทักษะการฟัง การฟังครูอธิบาย และเพื่อนๆ แสดงความคิดเห็นใน ชั้นเรียน ๒) ทักษะการอ่าน การอ่านเนื้อหาสาระหน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ๓) ทักษะการเขียน การเขียนรายงาน การทำาแบบฝึกหัด และการทำา รายงาน ๔) ทักษะการนำาเสนอ (การพูด) การนำาเสนอเนื้อหาสาระในหน่วยการ เรียนรู้ ๕) ทักษะการทำางานกลุ่ม ระดมความคิดในการทำางานกลุ่ม ๖) การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ การเขียนผังความคิด (Mind Mapping)
  • 9. 9 แผนการจัด การเรีย นรู้ท ี่ ๑ วิช า สุข ศึก ษา ๕ ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๕ หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ ๑ เรื่อ ง ระบบแห่ง ชีว ิต เวลา ๔ ชั่ว โมง ๑. เป้า หมายการเรีย นรู้ สร้างเสริมและดำารงประสิทธิภาพการทำางานของระบบอวัยวะต่างๆ ได้แก่ ระบบหายใจ ระบบไหลเวียนเลือด ระบบย่อยอาหาร ระบบขับถ่าย ปัสสาวะ และการประสานงานทั้ง ๔ ระบบ ให้ทำาหน้าที่เป็นปกติ ๒. สาระสำา คัญ มนุษย์ทุกคนต้องหายใจเพื่อการดำารงชีวิตอยู่ กระบวนการหายใจเกิด ขึ้นกับเซลล์ในร่างกายอยู่ตลอดเวลา การหายใจเป็นการนำาอากาศเข้าและ ออกจากร่างกาย ส่งผลให้ก๊าซออกซิเจนที่เราได้รับจากการหายใจเข้าทำา ปฏิกิริยากับสารอาหารได้พลังงานและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ การทำางาน ของระบบหายใจจะประสานสัมพันธ์กับระบบอวัยวะอื่นๆ โดยเฉพาะระบบไหล เวียนเลือด เพราะระบบไหลเวียนเลือดจะนำาออกซิเจนจากปอดที่ได้รับจาก การหายใจไปสู่ระบบย่อยอาหารเพื่อเผาผลาญอาหารทำาให้เกิดพลังงานซึ่ง ร่างกายนำาไปใช้ในการดำารงชีวิต ในขณะที่ระบบขับถ่ายปัสสาวะทำาหน้าที่ ขับถ่ายของเสียออกไปจากร่างกาย การดูแลรักษาระบบหายใจและระบบไหล เวียนเลือด ระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายปัสสาวะจึงมีความจำาเป็นอย่าง ยิ่งในการจะดำารงรักษาสุขภาพให้ทำางาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๓. มาตรฐานและตัว ชีว ัด ้ มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและ พัฒนาการของมนุษย์ ตัว ชี้ว ด : สิ่ง ที่ผ ู้เ รีย นพึง รู้แ ละปฏิบ ัต ไ ด้ ั ิ ๑. อธิบายกระบวนการสร้างเสริมและดำารงประสิทธิภาพการทำางานของ ระบบอวัยวะต่างๆ ๔. สาระการเรีย นรู้ 1. การทำางานของระบบอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย 2. ระบบหายใจ 3. ระบบไหลเวียนเลือด 4. ระบบย่อยอาหาร 5. ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
  • 10. 10 6. การประสานงานทั้ง ๔ ระบบ ๕. กิจ กรรมฝึก ทัก ษะที่ค วรเพิ่ม ให้น ัก เรีย น K (Knowledge) P (Practice) A (Attitude) ความรู้ ความเข้า ใจ การฝึก ปฏิบ ต ิั คุณ ลัก ษณะอัน พึง ประสงค์ ๑. อธิบายการทำางาน ๑. สร้างเสริมและดำารง ๑. รักชาติ ศาสน์ และกระบวนการ ประสิทธิภาพการ กษัตริย์ สร้างเสริมและดำารง ทำางานของระบบ ๒. ซื่อสัตย์สุจริต ประสิทธิภาพการ อวัยวะต่างๆ ได้แก่ ๓. มีวินัย ทำางานของระบบ ระบบหายใจ ระบบ ๔. ใฝ่เรียนรู้ หายใจ ระบบไหล ไหลเวียนเลือด ๕. อยู่อย่างพอเพียง เวียนเลือด ระบบ ระบบย่อยอาหาร ๖. มุ่งมั่นในการทำางาน ย่อยอาหาร และ ระบบขับถ่าย ๗.รักความเป็นไทย ระบบขับถ่าย ปัสสาวะ และการ ๘. มีจิตสาธารณะ ปัสสาวะ ประสานงานทั้ง ๔ ๒. ปฏิบติตนในการ ั ระบบ ให้ทำาหน้าที่ สร้างเสริมและดำารง เป็นปกติ ประสิทธิภาพ การทำางานของ ระบบหายใจ ระบบ ไหลเวียนเลือด ระบบย่อยอาหาร และระบบขับถ่าย ปัสสาวะ ๖. การวัด และประเมิน ผล ๑ . เครื่อ งมือ วัด และประเมิน ผล ๑) แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน ๒) แบบฝึกหัด ๓) ใบงาน ๔) แบบประเมินพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม ๕) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๖) แบบสังเกตสมรรถนะของผู้เรียน ๗)แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒. วิธ ว ด ผล ี ั ๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน ๒) ตรวจแบบฝึกหัด
  • 11. 11 ๓) ตรวจใบงาน ๔) สังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม ๕) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๖) สังเกตสมรรถนะของผู้เรียน ๗)สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๓. เกณฑ์ก ารวัด และประเมิน ผล ๑) สำาหรับชัวโมงแรกทีใช้แบบทดสอบก่อนเรียนไม่มเกณฑ์ผาน เก็บ ่ ่ ี ่ คะแนนไว้เปรียบเทียบกับคะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรียน ๒) การประเมินผลจากแบบฝึกหัด ต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบเกินร้อย ละ ๕๐ ๓) การประเมินผลจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ การนำาไปใช้ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐ ๔) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุม ต้องผ่าน ่ เกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐ ๕) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการ ประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง ๖) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของผู้เรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ การประเมินตามสภาพจริง ๗) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมิน ตามสภาพจริง ๗. หลัก ฐาน/ผลงาน ๑. ผลการทำาแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน แบบฝึกหัด/การตอบ คำาถาม ๒. ผลการทำาใบงาน ๘. กิจ กรรมการเรีย นรู้ ชัว โมงที่ ๑ ่ ขัน ปฐมนิเ ทศ/ขั้น นำา เข้า สู่บ ทเรีย น ้ 1. นักเรียนรับฟังคำาชี้แจง สังเขปวิชาพื้นฐาน สุขศึกษา ๕ ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๕ เวลาเรียนและการประเมินผล ซักถามปัญหา รวมทั้งแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับการเรียนวิชานี้ 2. ครูชี้แจงวิธีการประเมินสมรรถนะของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ของผู้เรียนว่าจะต้องทำาควบคู่กับกระบวนการทำากิจกรรมกลุ่ม และครู จะดูพัฒนาการของผู้เรียนไปตลอดภาคการศึกษา 3. ครูชี้แจงกำาหนดค่าระดับคะแนน ตามเกณฑ์ดังนี้ คะแนนร้อยละ ๘๐-๑๐๐ ได้เกรด ๔ คะแนนร้อยละ ๗๕-๗๙ ได้เกรด ๓.๕
  • 12. 12 คะแนนร้อยละ ๗๐-๗๔ ได้เกรด ๓ คะแนนร้อยละ ๖๕-๖๙ ได้เกรด ๒.๕ คะแนนร้อยละ ๖๐-๖๔ ได้เกรด ๒ คะแนนร้อยละ ๕๕-๕๙ ได้เกรด ๑.๕ คะแนนร้อยละ ๕๐-๕๔ ได้เกรด ๑ คะแนนร้อยละ ๐-๔๙ ได้เกรด ๐ ขั้น สอน 4. นักเรียนสนทนากับครู เรื่องการทำางานของระบบอวัยวะต่างๆ ของ ร่างกายมนุษย์ตามธรรมชาติตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งเป็นระบบแห่งชีวิต โดยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน 5. ครูแนะนำาให้นักเรียนทุกคนได้น้อมนำาเอาหลักเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้การทำำงานของระบบอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย มนุษย์ เพราะจะทำาให้มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตนเอง และจะเป็นประโยชน์ในด้าน อื่นๆ อีกมาก 6.จากรูปภาพข้างต้น ครูชี้ให้นักเรียนได้ตระหนักถึงความสำาคัญของหลัก เศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้ • ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักพิจารณาอยู่ ๕ ส่วน ดังนี้ ๑)กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดำารงอยู่ และปฏิบัติ ตนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย นำา มาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา เป็นการมองโลกเชิงระบบที่มี การ เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย วิกฤต เพื่อความมั่นคง และความยั่งยืนของการพัฒนา
  • 13. 13 ๒)คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำามาประยุกต์ใช้กับการ ปฏิบติตนได้ทุกระดับ โดยเน้น การปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนา ั อย่างเป็นขั้นตอน ๓)คำานิยาม ความพอเพียง ต้องประกอบด้วย ๓ คุณลักษณะ พร้อมๆ กัน ดังนี้ (๑)ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไป และไม่ มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น (๒) ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความ พอเพียง ต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง และคำานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำานั้นอย่างรอบคอบ (๓) การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อม รับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคำานึงถึงความ เป็นไปได้ของสถานการณ์ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต ๔)เงื่อนไข การตัดสินใจและการดำาเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับ พอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน ประกอบด้วย (๑)เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการที่ เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำาความรู้เหล่านั้นมา พิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ (๒) เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความ ตระหนักในคุณธรรม มี ความซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความ เพียร ใช้สติปัญญาในการดำาเนินชีวิต ๕)แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนำาปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับ ต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้ และ เทคโนโลยี ขั้น สรุป และประยุก ต์ 7. นักเรียนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน และตรวจด้วยตนเอง 8. ครูเน้นให้นักเรียนนำาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน และปรับใช้ในการเรียนเพื่อปลูกฝังให้ดำาเนินชีวิตได้อย่างมีความสุขต่อไป และมอบหมายให้นักเรียนทำาโครงงานเสนอแนะ เรื่อง สังคมดี ด้วยวิถีพอ เพียง โดยให้ศึกษาวิธีการเขียนโครงงานจากภาคผนวก ในหนังสือเสริมฝึก ประสบการณ์ สุขศึกษา ๕ ของสำานักพิมพ์เอมพันธ์ โดยแจ้งให้นักเรียนส่ง โครงงาน เมื่อจบภาคเรียน ชัว โมงที่ ๒ ่ ขัน นำา เข้า สู่บ ทเรีย น ้
  • 14. 14 9. นักเรียนดูรปภาพระบบการทำางานของอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย แล้ว ู สนทนาซักถาม โดยให้นกเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น ั 10. ครูเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน และแจ้งกิจกรรมฝึกทักษะที่ควรเพิ่ม ให้นักเรียนทราบ ขัน สอน ้ 11. นักเรียนชมวีดิทัศน์เกี่ยวกับระบบอวัยวะของร่างกายมนุษย์ เช่น ระบบหายใจ ระบบไหลเวียนเลือด ระบบย่อยอาหาร ระบบขับถ่ายปัสสาวะ เป็นต้น 12. นักเรียนแบ่งกลุ่มกันอภิปรายเรื่องการทำางานของระบบอวัยวะ ต่างๆ ของร่างกาย กลุ่มที่ ๑ ระบบหายใจ กลุ่มที่ ๒ ระบบไหลเวียนเลือด กลุ่มที่ ๓ ระบบย่อยอาหาร กลุ่มที่ ๔ ระบบขับถ่ายปัสสาวะ กลุ่มที่ ๕ การประสานงานทั้ง ๔ ระบบ 13. ครูแนะนำาให้นักเรียนสร้า งเสริม ภูม ิค ุ้ม กัน ให้กับระบบหายใจ ซึ่งจะทำาให้ได้พลังงานมาใช้ในการทำากิจกรรมต่างๆ เช่น เดิน วิง กินอาหาร ่ หรือการทำางานของอวัยวะภายในร่างกาย 14. ครูให้นักเรียนลองสูดลมหายใจ เมื่ออากาศผ่านรูจมูก เข้าสู่ โพรงจมูก หลอดลม ขัวปอด และเข้าสู่ปอด เมื่อมีการแลกเปลี่ยนแล้ว ก๊าซ ้ คาร์บอนไดออกไซด์ออกจากปอดสู่บรรยากาศ โดยการหายใจเข้าออกเกิด จากการทำางานของอวัยวะ ๒ ชนิด คือ กะบังลมและกล้ามเนื้อยึดกระดูก ซี่โครง ขณะที่กระดูกซี่โครงเลื่อนสูงขึ้น กะบังลมลดตำ่าลง ทำาให้ปริมาตรช่อง อกมีมากขึ้น ความดันอากาศลดลง อากาศภายนอกจึงผ่านเข้าสู่ปอดเป็น จังหวะหายใจเข้า และขณะที่กระดูกซี่โครงเลื่อนตำ่าลง กะบังลมเลื่อนสูงขึ้น ทำาให้ปริมาตรของช่องอกน้อยลง ความดันอากาศภายใน ช่องอกสูงขึ้น อากาศภายในจึงออกจากปอดสู่บรรยากาศภายนอกร่างกายเป็นการหายใจ ออก 15. ครูยกตัวอย่างการนำาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้กับการ เรียนเกี่ยวกับระบบหายใจ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง และเพื่อเสริมสร้าง และดำารงประสิทธิภาพการทำางานของระบบหายใจ เช่น
  • 15. 15 • งดสูบบุหรี่และหลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้ผู้สูบบุหรี่ เพราะควันบุหรี่จะ ทำาให้การทำางานของปอดลดลง • ควรมีอุปกรณ์ปิดจมูก เช่น ผ้าปิดจมูก–ปาก หรือเครื่องกรองอากาศ เมื่ออยู่ในบริเวณที่มีฝุ่นหรือมลพิษทางอากาศอยู่ • กินอาหารครบทุกหมู่ ไม่กินอาหารดิบหรือสุกๆ ดิบๆ หลีกเลี่ยง อาหารที่มีไขมันมาก หรือรสเค็มจัด • สวมเสื้อผ้าให้หนาเพื่อให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย โดยเฉพาะปอด 16. ครูมอบหมายงานให้ผู้เรียนเขียนแผนภาพประกอบแสดงการ ทำางานของระบบหายใจของมนุษย์ ขัน สรุป และประยุก ต์ ้ ๑๗. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเรื่องการทำางานของระบบอวัยวะ ต่างๆ ของร่ายกาย และระบบหายใจ ๑๘. นักเรียนทำาใบงานที่ ๑.๑, ๑.๒ และแบบฝึกหัด ในหนังสือเสริม ฝึกประสบการณ์ สุขศึกษา ๕ ชัว โมงที่ ๓ ่ ขัน นำา เข้า สู่บ ทเรีย น ้ ๑๙. ครูและนักเรียนสนทนาเรื่องนำ้าเลือด (Plasma) ประกอบด้วยนำ้า ประมาณร้อยละ ๙๑ ส่วนอื่นๆ ได้แก่ โปรตีน วิตามิน แร่ธาตุ เอนไซม์ และ ก๊าซ และส่วนที่เป็นของแข็ง ประกอบด้วย เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และ เกล็ดเลือด ๒๐. ครูกล่าวเพิ่มเติมว่าเซลล์เม็ดเลือดแดง มีส่วนประกอบเป็นโปรตีน ที่มีเหล็กเป็นองค์ประกอบ เรียก เฮโมโกลบิน ก๊าซออกซิเจนที่ได้จากการ หายใจเข้าจะรวมกับเฮโมโกลบิน แล้วลำาเลียงไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย เซลล์เม็ดเลือดแดงมีอายุประมาณ ๑๐๐-๑๒๐ วัน หลังจากนั้นถูกทำาลายที่ตับ และม้าม
  • 16. 16 • เซลล์เม็ดเลือดขาว มีขนาดใหญ่กว่าเม็ดเลือดแดง ทำาหน้าที่ต่อสู้ เชื้อโรคโดยการกินเชื้อโรค เมื่อ เชื้อโรคตาย เม็ดเลือดขาวจะตายกลาย เป็นหนอง • เกล็ดเลือด จะช่วยทำาให้เลือดแข็งตัว เมื่อเลือดออกสู่ภายนอก ร่างกาย และช่วยห้ามเลือดในกรณีที่ เกิดบาดแผล ขัน สอน ้ ๒๑. ครูอธิบายการทำางานของระบบไหลเวียนเลือด และระบบย่อย อาหาร โดยเปิดวีดิทัศน์ สื่อแผ่นใสและรูปภาพประกอบการเรียนการสอน เพื่อ สื่อความหมายให้นักเรียนเข้าใจง่ายยิ่งขึ้น ๒๒. เมื่อนักเรียนดูวีดิทัศน์จบแล้ว ครูสรุปและเน้นให้ความรู้นักเรียน ว่าหลอดเลือดแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ หลอดเลือดแดง (Artery) และหลอด เลือดดำา (Vein) โดยหลอดเลือดแดง คือ หลอดเลือดที่นำาเลือดออกจากหัวใจ หลอดเลือดแดงขนาดใหญ่ที่สุด เรียก เอออร์ตา (Aorta) ซึ่งมีเส้นผ่าน ศูนย์กลาง ๒.๕ เซนติเมตร และไหลไปตามหลอดเลือดแดงขนาดเล็กลง เรียก หลอดเลือดแดงเล็ก เรียกว่า อาร์เตอริโอล (Arteriole) ซึ่งมีเส้นผ่าน ศูนย์กลาง ๐.๒ มิลลิเมตร และเลือดเข้าสู่หลอดเลือดฝอย ซึ่งเป็นหลอด เลือดที่เชื่อมต่อกับหลอดเลือดดำาเล็กและไหลไปตามหลอดเลือดดำาขนาดเล็ก ไปจนถึงหลอดเลือดดำาขนาดใหญ่ที่สุด คือ เวนาคาวา (Vena cava) เพื่อเข้า สู่หวใจ ั ๒๓. ครูแนะนำาให้นักเรียนนำาหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา ใช้ในเรื่องการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง เพื่อสร้างเสริมและดำารง ประสิทธิภาพการทำางานของระบบไหลเวียนเลือด เช่น • ลดอาหารจำาพวกไขมัน • ออกกำาลังกายอย่างสมำ่าเสมอ • รับประทานผักและผลไม้ให้มากๆ • งดการสูบบุหรี่ และการดื่มเครื่องดื่มที่ผสมแอลกอฮอล์ • ปรึกษาแพทย์เมื่อมีอาการเจ็บแน่นที่อกและหัวใจเต้นผิดปกติ 24. ครูแสดงรูปภาพการย่อยอาหารในปาก การย่อยอาหารใน กระเพาะอาหารและในสำาไส้เล็ก
  • 17. 17 ๒๕. ครูแนะนำาให้นักเรียนนำาหลักของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในเรื่องการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง เพื่อสร้างเสริมและดำารง ประสิทธิภาพการทำางานของระบบย่อยอาหาร เช่น • กินอาหารให้ตรงเวลาครบทุกมือ โดยเฉพาะอาหารมือเช้าทีเป็นมือ ้ ้ ่ ้ สำาคัญ และหลีกเลียงอาหารทีมรสจัด อาหารหมักดอง และอาหารที่มีไขมัน ่ ่ ี มากเกินไป • ไม่ควรปล่อยให้กระเพาะอาหารว่าง ในช่วงเวลาเร่งด่วนควรกินของ ว่าง ขนมหรือนม เพื่อไม่ให้นำ้าย่อยทำาลายผนังกระเพาะอาหาร • หลีกเลี่ยงการใช้แก้วนำ้าร่วมกัน เพราะอาจติดเชื้อไวรัสบางชนิดที่ เป็นสาเหตุให้ตับทำางานผิดปกติ • งดดื่มสุรา เบียร์ เพราะจะทำาให้ตับทำางานหนักในการกำาจัดของเสีย • ไม่กินอาหารดิบ หรือสุกๆ ดิบๆ เพราะอาจติดเชื้อพยาธิใบไม้ได้ • ไม่เครียดจนเกินไป เพราะจะทำาให้การผลิตนำ้าย่อยมาสูกระเพาะ ่ อาหารมากเกินไป และควรออกกำาลังกายให้สมำ่าเสมอ • พบแพทย์หากมีอาการผิดปกติบริเวณช่องท้องเป็นเวลานาน ๒๖. นักเรียนทำาใบงานที่ ๑.๓ และ ๑.๔ ในหนังสือเสริมฝึก ประสบการณ์ สุขศึกษา ๕ ขั้น สรุป และประยุก ต์ ๒๗. ครูสุ่มถามผู้เรียนเป็นรายบุคคลเรื่องระบบไหลเวียนเลือด และ ระบบย่อยอาหาร ๒๘. นักเรียนทำาแบบทดสอบหลังเรียน และแบบฝึกหัดท้ายหน่วยการ เรียนรู้ ในหนังสือเสริมฝึกประสบการณ์สุขศึกษา ๕ ชัว โมงที่ ๔ ่ ขัน นำา เข้า สู่บ ทเรีย น ้ ๒๙. ครูและนักเรียนกล่าวถึงระบบขับถ่ายปัสสาวะ คือ ระบบที่ ประกอบด้วยอวัยวะหลายอย่าง ทำาหน้าที่ร่วมกันในการทำานำ้าปัสสาวะ เก็บนำ้า ปัสสาวะชั่วคราวและขับนำ้าปัสสาวะออกทิ้งเพื่อเป็นการรักษาสภาวะสมดุลของ สิ่งแวดล้อมภายในร่างกาย
  • 18. 18 ๓๐. นักเรียนบอกส่วนประกอบอวัยวะในระบบขับถ่ายปัสสาวะ ประกอบด้วย ๑) ไต เป็นที่กรองเอานำ้า และของเสียออกจากเลือดเป็นนำ้าปัสสาวะ ๒) หลอดไต นำานำ้าปัสสาวะออกจากไตไปสู่กระเพาะปัสสาวะ ๓) กระเพาะปัสสาวะ เป็นที่เก็บนำ้าปัสสาวะชั่วคราว ๔) ท่อปัสสาวะ เป็นทางผ่านของนำ้าปัสสาวะ จากกระเพาะปัสสาวะออก นอกร่างกาย ขัน สอน ้ ๓๑. ครูฉายวีดิทัศน์และแสดงแผ่นใสระบบขับถ่ายปัสสาวะ และการ ประสานงานทั้ง ๔ ระบบ เพื่อสื่อให้นักเรียนเข้าใจง่ายยิ่งขึ้น ๓๒. ครูแนะนำาให้นักเรียนสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง เพื่อเสริมสร้าง ประสิทธิภาพการทำางานของระบบขับถ่ายปัสสาวะ และเพื่อให้ประสานงานกัน ได้ทั้ง ๔ ระบบข้างต้น • กินอาหารที่มีคุณค่า โดยเฉพาะอาหารที่มีกากมากๆ เช่น ผักต่างๆ • ไม่กินอาหารที่มีรสจัด โดยเฉพาะเค็มจัด • ดื่มนำ้าที่สะอาดอย่างน้อยวันละ ๘-๑๐ แก้ว • ไม่กลั้นปัสสาวะเป็นเวลานาน เพราะจะทำาให้กระเพาะปัสสาวะ อักเสบได้ ขัน สรุป และประยุก ต์ ้ ๓๓. สรุปเพิ่มเติมในส่วนที่ไม่ได้กล่าวถึง และสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมเรื่องการดำารงชีวิต ที่มีคุณค่า โดยเน้นให้ นักเรียนเห็นคุณค่าและความสำาคัญของระบบอวัยวะต่างๆ ในร่างกายที่ถูก ต้องเหมาะสม ในการดำาเนินชีวิตประจำาวันเพื่อดูแลสุขภาพตามวัยอัน เหมาะสม
  • 19. 19 ๓๔. ครูปลูกฝังให้นักเรียนเป็นพลเมืองดี โดยต้องปฏิบัติตาม กฎหมาย ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมของชาติ คำาสั่งสอนของพ่อ แม่ ครู อาจารย์ มีความสามัคคี เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ซึ่งกันและกัน รู้จักผิดชอบชั่วดี ตาม หลักจริยธรรม และหลักธรรมของศาสนา มีความรอบรู้ มีสติปัญญา ขยันขันแข็ง สร้างความเจริญก้าวหน้าให้แก่ตนเอง ครอบครัว สังคม และ ประเทศชาติ ๓๕. นักเรียนทำาแบบฝึกหัดท้ายหน่วยการเรียนรู้ ในหนังสือเสริมฝึก ประสบการณ์ สุขศึกษา ๕ ๓๖. ทำาแบบประเมินผลการเรียนรู้หลังเรียน และทำาใบงานที่ ๑.๕ และ ๑.๖ ๙. สื่อ /แหล่ง การเรีย นรู้ 1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษา ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ของ บริษัท สำานักพิมพ์เอมพันธ์ จำากัด 2. หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ สุขศึกษา ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ของ บริษัท สำานักพิมพ์เอมพันธ์ จำากัด 3. วีดิทัศน์ เรื่องการทำางานของระบบอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย 4. แผ่นใส และรูปภาพประกอบ ๑๐. การบูร ณาการ ๑. การบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการฟัง ทักษะการอ่าน ทักษะการเขียน และทักษะการพูด ๒. การบูรณาการ มีดังนี้ แบบทดสอบก่อ นเรีย น /หลัง เรีย นหน่ว ยที่ ๑ คำา ชี้แ จง จงเขียนเครื่องหมาย  ทับข้อที่นักเรียนคิดว่าถูกต้องที่สุด
  • 20. 20 ๑. ระบบอวัยวะต่างๆ มีความสำาคัญต่อร่างกายอย่างไร ก. ช่วยให้ร่างกายทำางาน ข. ช่วยให้ร่างกายทำางานอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อสร้างเสริมให้ชีวิต ดำารงอยู่ ค. ช่วยให้มีชีวิตในการหายใจ ง. ช่วยให้มีชีวิตชีวา ๒. เซลล์เม็ดเลือดขาวทำาหน้าที่เก็บกินและย่อยสลายสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ ร่างกายจะอยู่ส่วนใดของร่างกาย ก. หัวใจ ข. กระเพาะอาหาร ค. ผนังถุงลมปอด ง. ผนังลำาไส้ ๓. เลือดมีสีแดงเกิดจากการรวมตัวของ ๒ สิ่งคือข้อใด ก. หลอดเลือดฝอยที่อยู่รอบๆ ถุงลมรวมตัวกับเฮโมโกลบินในเซลล์เม็ด เลือดแดง ข. หลอดเลือดฝอยที่อยู่รอบๆ คอหอยรวมตัวกับเม็ดเลือดขาวในเซลล์ เม็ดเลือดแดง ค. หลอดเลือดฝอยที่อยู่รอบๆ จมูกรวมตัวกับเฮโมโกลบินในเซลล์เม็ด เลือดขาว ง. หลอดเลือดฝอยที่อยู่รอบๆ หัวใจรวมตัวกับออกซิเจนในร่างกาย ๔. กะบังลมซึ่งเป็นกล้ามเนื้อผืนใหญ่อยู่ใต้ปอด เหนือกระเพาะอาหาร ทำา หน้าที่สำาคัญคืออะไร ก. ช่วยให้มีเลือดไปเลี้ยงร่างกาย ข. ช่วยในการหายใจ ค. ช่วยในการเผาผลาญอาหาร ง. ช่วยให้มีแรงดันในช่องอก ๕. ระบบไหลเวียนเลือดทำาให้เลือดมีหน้าที่อะไร ก. ทำาให้ร่างกายแข็งแรง ข. ลำาเลียงออกซิเจนเข้าร่างกาย ค. ลำาเลียงอาหารที่ย่อยสลายแล้ว นำ้า ก๊าซ ไปเลี้ยงเซลล์ต่างๆ ของ ร่างกาย ง. ลำาเลียงคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากร่างกาย ๖. เลือดเป็นของเหลวสีแดงมีฤทธิ์เป็นด่าง มีความเหนียวกว่านำ้ากี่เท่า และมี ในร่างกายมนุษย์กี่เปอร์เซ็นต์ของนำ้าหนักตัว ก. ประมาณ ๖ เท่า และมี ๑๐ เปอร์เซ็นต์ของนำ้าหนักตัว ข. ประมาณ ๗ เท่า และมี ๑๐ เปอร์เซ็นต์ของนำ้าหนักตัว ค. ประมาณ ๘ เท่า และมี ๑๐ เปอร์เซ็นต์ของนำ้าหนักตัว ง. ประมาณ ๕ เท่า และมี ๑๐ เปอร์เซ็นต์ของนำ้าหนักตัว ๗.นำ้าเหลืองประกอบด้วยอะไรบ้าง
  • 21. 21 ก. นำ้า โปรตีน เอนไซม์ แอนติบอดี เซลล์เม็ดเลือดขาว ข. นำ้า โปรตีน เอนไซม์ แอนติบอดี เซลล์เม็ดเลือดแดง ค. โปรตีน เอนไซม์ แอนติบอดี แอนติเจน ง. นำ้า โปรตีน แอนติบอดี แอนติเจน ๘. สุทธิพงษ์มีนำ้าหนัก ๗๐ กิโลกรัม เลือดในร่างกายของเขาจะมีนำ้าหนัก ประมาณเท่าใด ก. ๓.๕ กิโลกรัม ข. ๕ กิโลกรัม ค. ๖ กิโลกรัม ง. ๗ กิโลกรัม ๙. ระบบย่อยอาหารเริ่มขึ้นที่ใด ก. ในปาก ข. ในกระเพาะอาหาร ค. ในลำาไส้เล็กและลำาไส้ใหญ่ ง. การทำาให้อาหารย่อยเป็นชิ้นเล็กๆ ก่อนกิน ๑๐. ปริมาณของนำ้าปัสสาวะที่ถูกขับออกมาในแต่ละวันจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับปัจจัยใดเป็นสำาคัญ ก. นำ้าหนักตัว ข. การใช้พลังงาน ค. ปริมาณนำ้าที่เข้าสู่ร่างกาย ง. ประสิทธิภาพในการทำางานของไต เฉลยแบบทดสอบก่อ นเรีย น /หลัง เรีย นหน่ว ยที่ ๑ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ข. ค. ก. ข. ค. ง. ก. ง. ก. ค. บัน ทึก หลัง การสอน ๑. ผลการสอน
  • 22. 22 ……………………………………………………………………………… ……………...…………………. ……………………………………………………………………………… ……………………...…………. ……………………………………………………………………………… ………………………...………. ……………………………………………………………………………… ………………………...………. ……………………………………………………………………………… ……………………...…………. ๒. ปัญ หา/อุป สรรค ……………………………………………………………………………… …………………..……………. ……………………………………………………………………………… …………………..……………. ……………………………………………………………………………… ………………..………………. ……………………………………………………………………………… ………………..………………. ……………………………………………………………………………… ……………..…………………. ๓. ข้อ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไ ข ……………………………………………………………………………… ………………….……………. ……………………………………………………………………………… ……………….………………. ……………………………………………………………………………… …………………….…………. ……………………………………………………………………………… …………………….…………. ……………………………………………………………………………… …………………….………….
  • 23. 23 ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน (.............................................. ) วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ........... ๔. ข้อ เสนอแนะของหัว หน้า สถานศึก ษาหรือ ผู้ท ี่ไ ด้ร ับ มอบหมาย ……………………………………………………………………………… ………………………...………. ……………………………………………………………………………… ……………………………...…. ……………………………………………………………………………… ………………………...………. ……………………………………………………………………………… ………………………...………. ……………………………………………………………………………… ……………………...…………. ลงชื่อ............................................................... (.............................................. ...............)