SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  20
Télécharger pour lire hors ligne
แผนการจัดการเรียนการสอนวิชาสุ ขศึกษา
        (แผนบูรณาการอาเซียน)
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา




                โดย
            นางกฤตยา ศรีริ
     ครู วทยฐานะชานาญการพิเศษ
          ิ
   โรงเรียนภัทรบพิตร จังหวัดบุรีรัมย์
๒


              แผนการจัดการเรียนการสอนวิชาสุ ขศึกษา (แผนบูรณาการอาเซียน)
                                กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
วิชา สุ ขศึกษา ๕                                             ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕           เวลา ๔ ชั่วโมง

ความสาคัญและความเป็ นมา
            "ประชาคมอาเซี ยน" (ASEAN Community) เป็ นเป้ าหมายของการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเซี ยน
ภายในปี 2558 (ค.ศ. 2015) โดยมีวิสัยทัศน์ร่วมของผูนาอาเซียน คือ "การสร้างประชาคมอาเซียนที่มีขีดความสามารถ
                                                     ้
ในการแข่ งขันสู ง มีกฎเกณฑ์ก ติ ก าที่ชัดเจน และมีประชาชนเป็ นศูน ย์ก ลาง" ทั้งนี้ เพื่ อสร้างประชาคมที่ มีความ
แข็งแกร่ ง สามารถสร้างโอกาสและรับมือสิ่ งท้าทายทั้งด้านการเมือง ความมันคง เศรษฐกิจ และภัยคุกคามรู ปแบบ
                                                                            ่
ใหม่ เพิ่ มอ านาจต่ อ รองและขี ดความสามารถการแข่ งขัน ของอาเซี ยนในเวที ระหว่างประเทศทุ ก ด้าน โดยให้
ประชาชนมีความเป็ นอยู่ที่ดี สามารถประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้สะดวกมากขึ้น และประชาชนในอาเซี ยนมี
ความรู้สึกเป็ นอันหนึ่ งอันเดียวกัน นอกจากนี้ ยังมีการเสริ มสร้างความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน ใน 3 มิติ คือ
ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านกฎระเบียบ และความเชื่อมโยงระหว่างประชาชน
            การเป็ นประชาคมอาเซี ยน คื อ การทาให้ป ระเทศสมาชิ ก อาเซี ยนเป็ น "ครอบครัว เดี ยวกัน" ที่ มี ค วาม
แข็งแกร่ งและมีภูมิตานทานที่ดี โดยสมาชิกในครอบครัวมีสภาพความอยู่ที่ดี ปลอดภัย และสามารถค้าขายได้อย่าง
                       ้
สะดวกมากยิงขึ้น ประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย 3 เสาหลัก (Pillar) คือ ประชาคมการเมืองและความมันคงอาเซียน
              ่                                                                                       ่
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียน ซึ่งทั้งภาครัฐและภาคเอกชน และประชาชนของ
ประเทศอาเซียนจะต้องเข้ามามีส่วนร่ วมทั้ง 3 เสาหลัก (กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 2555: ออนไลน์)
            การเข้าสู่ประเทศอาเซี ยนในปี 2558 ทาให้ประเทศไทยและหลายๆประเทศในกลุ่มอาเซียนพร้อมรับมือกับ
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น แต่ปัญหาสาคัญที่เป็ นวาระแห่ งชาติน้ นก็คือปั ญหายาเสพติดซึ่ งไม่ได้ถูกพูดถึงเลย และใน
                                                                ั
เมื่อเราเปิ ดประเทศอาเซี ยนแล้วปั ญหายาเสพติดจะหมดไปหรื อไม่ แล้วเราจะมีวิธีการเตรี ยมรับมือกับปัญหายาเสพ
ติดอย่างไรเมื่อเราเปิ ดประเทศอาเซียนแล้ว
            สถานการณ์ปัญ หายาเสพติ ดมีก ารเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด มียาเสพติ ดชนิ ดใหม่ๆ เกิดขึ้นและเข้ามาแพร่
ระบาดในภูมภาคอย่างต่อเนื่ อง เฮโรอีนกลับกลายเป็ นตัวยาทางเลือกเมื่อได้มีการนามาตรการควบคุมการปลูกฝิ่ นมา
                ิ
บังคับใช้อย่างจริ งจัง โดยส่ งเสริ มให้มีการปลูกพืชเศรษฐกิจ และนามาตรการการพัฒนาทางเลือกมาใช้แทนการแพร่
ระบาดของเฮโรอีนลดลง
            ขณะที่การแพร่ ระบาดของยาเสพติดชนิ ดเอทีเอสเพิ่มมากขึ้นในหมู่ประเทศสมาชิก อาเซี ยนบางประเทศ
นอกจากนี้ เมทแอมเฟตามีน เมทแอมเฟตามีนชนิ ดผลึก หรื อที่รู้จกกันดีว่า ไอซ์ กลายเป็ นตัวยาที่น่าเป็ นห่ วงในช่วง
                                                                  ั
10 ปี ที่ผ่านมา ยาเสพติดจากภายนอกภูมิภาคถูกลักลอบเข้ามาในภูมิภาคอาเซียนของเรา ขณะที่การลักลอบค้ายาเสพ
ติดบางคดีก็มีส่วนเชื่อมโยงกับอาชญากรรมประเภทอื่นๆ จากนี้ เรามีเวลาเหลืออีกเพียง 3 ปี เท่านั้น ที่เราจะก้าวสู่การ
เป็ นเขตปลอดยาเสพติดอาเซียน
๓



              ทั้งนี้ ที่ประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซี ยนด้านยาเสพติดตกลงที่จะนิยามการเป็ นอาเซียนที่ปลอดยาเสพติด ว่า
หมายถึง การที่ประเทศสมาชิกอาเซียนสามารถควบคุมปัญหายาเสพติดได้อย่างมีประสิ ทธิภาพและประสบผลสาเร็ จ
โดยไม่ส่งผลกระทบต่อการดาเนิ นชีวิตที่เป็ นปกติสุขของสังคม จะทาอย่างไรเพื่อให้บรรลุตามเป้ าประสงค์ในการ
เป็ นเขตปลอดยาเสพติดอาเซียนได้น้ น เป็ นประเด็นที่ทาทาย รอเราอยูขางหน้า ต่างทางานในการแก้ไขปั ญหายาเสพ
                                            ั                 ้          ่ ้
ติดเช่นเดียวกัน
              ทุก คนต้อ งมี ความรับผิดชอบร่ วมกันที่จะต่อ สู้กบปั ญ หายาเสพติ ดในฐานะอาเซี ยนที่เป็ นเสมือ นคนใน
                                                                 ั
ครอบครัวเดียวกัน โดยเราจะรวมกันเป็ นประชาคมอาเซี ยนภายในปี พ.ศ. 2558 ซึ่ งเป็ นปี เป้ าหมายเดียวกับการเป็ น
ประชาคมอาเซี ยนที่ปลอดยาเสพติด ผ่านการสร้างความเชื่ อ มโยงกันในอาเซี ยน หรื อ ASEAN Connectivity นั่น
หมายถึง การเปิ ดพรมแดนเพื่อให้เกิดการเคลื่อนย้ายคนในภูมิภาคอย่างเสรี ซึ่งเราควรจะได้ตระหนักถึงผลกระทบเชิง
ลบจากการเชื่ อมโยงดังกล่าวด้วย การสกัดกั้นยาเสพติดบริ เวณพรมแดนถือเป็ นองค์ประกอบหนึ่ งในการสกัดการ
ลักลอบขนยาเสพติดเข้ามาในประเทศ หรื อ ออกไปสู่ ประเทศที่สาม ไม่เพียงแค่น้ น ยังควรร่ วมมือกันในการลดอุป
                                                                                      ั
สงค์ยาเสพติดอีกด้วย เพื่ออนาคตของลูกหลานไม่ให้ตกเป็ นเหยือของยาเสพติด ในฐานะรัฐบาลไทย
                                                                    ่
              ทุกชาติในภูมิภาคอาเซี ยนจะร่ วมมือกันโดยเน้นการสกัดกั้นยาเสพติดทั้งภายในและภายนอกภูมิภาค และ
จะดาเนิ นการปราบปรามผูคาอย่างจริ งจัง พร้อมเป็ นหุ ้นส่ วนในการแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยประสานความร่ วมมือ
                                  ้้
ระหว่างคณะกรรมการอาเซียนสาขาต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ในการป้ องกันเยาวชนรุ่ นใหม่ของอาเซี ยน ไม่ให้เกี่ยวข้องกับ
ยาเสพติด โดยเน้นย้าถึงการดาเนินการเพื่อมุ่งสู่เป้ าหมายอาเซียนปลอดยาเสพติด ในปี 2015
              สาหรับในที่ประชุมอาเซี ยนได้เห็ นพ้องถึงปั ญหาเรื่ อ งยาเสพติดซึ่ งเป็ นปั ญหาระดับชาติ ไทยไม่สามารถ
แก้ไขตามลาพังได้
              ถึงแม้ว่าการทาให้ปัญ หายาเสพติดหมดไปเป็ นเรื่ อ งที่เป็ นไปได้ยาก แต่ถาทาให้ลดลงได้ก็ถือว่าประสบ
                                                                                         ้
ความสาเร็ จ ซึ่ งทุกหน่ วยจะต้องร่ วมกันดาเนิ นการอย่างต่อเนื่ อง ซึ่ งทาง ป.ป.ส.ไม่ได้ดาเนิ นการเฉพาะในประเทศ
และเฉพาะกลุ่มอาเซียนเท่านั้น ยังมีการประสานงานติดต่อบูรณาการร่ วมกันกับประเทศอังกฤษ อเมริ กา และประเทศ
แถบยุโรปหลายประเทศในการร่ วมมือกันแก้ปัญหายาเสพติด
              ทั้งนี้ จากการประชุ มสถานการณ์ ภาพรวมของยาเสพติ ด หน่ ว ยงานทุก ประเทศมีปั ญ หาด้านยาเสพติ ด
เหมือนกัน แต่ว่าจะมากหรื อน้อยขึ้นอยูกบสังคมของแต่ละประเทศ โดยทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้องจะต้องร่ วมมือกันอย่างเป็ น
                                               ่ ั
รู ปธรรมถึงจะสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
              สถานการณ์ยาเสพติดของทุกประเทศในกลุ่มอาเซียน มีปัญหายาเสพติดที่แพร่ ระบาดเหมือนกัน คือยาบ้า
และยาไอซ์ ซึ่ งประเทศไทยพร้อมสนับสนุ นให้การช่วยเหลือทุกเรื่ อง เช่น ประเทศลาว และกัมพูชา ได้ประสานขอ
เจ้าหน้าที่ไทยไปช่วยบาบัดผูติดยาเสพติด ส่ วนประเทศพม่ามีปัญหาพื้นที่กว้างขวางและคนตกงานจานวนมาก ทาให้
                                     ้
ดูแลไม่ทวถึ ง จึงเป็ นต้นเหตุ ข องการปลูกพืชที่เป็ นสารตั้งต้นของยาเสพติ ด ซึ่ งปั ญ หาทั้งหมดทุกประเทศจะต้อ ง
           ั่
ร่ วมมือกันแก้ไข (10 ประเทศอาเซียน จับมือต้านยาเสพติด, 2555: ออนไลน์)
อ้างอิงจาก: http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1346469459&grpid=03&catid=&subcatid=
๔



หัวเรื่อง/Theme หน่ วยการเรียนรู้ที่ ๑๐ อย่าไปหาสารเสพติด
๑. การกาหนดเปาหมายการเรียนรู้
               ้
   ๑. สภาพปัญหาการแพร่ ระบาดของสารเสพติด
   ๒. ความหมายและการจาแนกประเภทของสารเสพติด
   ๓. ชนิดของสารเสพติดให้โทษที่แพร่ ระบาดในปัจจุบน
                                                 ั
   ๔. วิธีสังเกตอาการของผูใช้สารเสพติด
                          ้
   ๕. สาเหตุของการติดสารเสพติดให้โทษ
   ๖. โทษและพิษภัยของสารเสพติด
   ๗. การป้ องกันสารเสพติด
   ๘. การบาบัดรักษาและการฟื้ นฟูสมรรถภาพผูติดสารเสพติด
                                          ้
   ๙. บทบาทหน้าที่ที่พึงปฏิบติต่อสังคม
                            ั

                                            ภาพรวม (Big Idea)




๒. มาตรฐานการเรียนรู้ทเี่ ป็ นเปาหมาย
                                   ้
   มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้ องกันและหลีกเลี่ยงปั จจัยเสี่ ยง พฤติกรรมเสี่ ยงต่อสุ ขภาพ อุบติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด
                                                                                  ั
                           และความรุ นแรง
๓. ตัวชี้วด: สิ่งทีผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัตได้
          ั        ่                      ิ
   ๑. มีส่วนร่ วมในการป้ องกันความเสี่ ยงต่อการใช้ยา การใช้สารเสพติด และความรุ นแรง เพื่อสุ ขภาพของตนเอง
ครอบครัว และสังคม
   ๒. วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากการครอบครอง การใช้ และการจาหน่ายสารเสพติด
๕


๔. เปาหมายการเรียนรู้
      ้
    ๑. ความเข้ าใจทีคงทน
                       ่
        ๑) จัดกิจกรรมป้ องกันความเสี่ ยงต่อการใช้สารเสพติด และความรุ นแรง
        ๒) วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากการครอบครอง การใช้ และการจาหน่ ายสารเสพติด (ตนเอง ครอบครัว
เศรษฐกิจ สังคม) รวมทั้งให้ความรู้เรื่ องโทษทางกฎหมายที่เกิดจากการครอบครอง การใช้ และการจาหน่ายสารเสพติด
แก่ชุมชน ครอบครัว และสังคมส่ วนรวม ฯลฯ
    ๒. จิตพิสัย
        ๑) ตระหนักถึงการจัดกิจกรรมป้ องกันความเสี่ ยงต่อการใช้สารเสพติด และความรุ นแรง
        ๒) ตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดจากการครอบครอง การใช้ และการจาหน่ายสารเสพติด (ตนเอง ครอบครัว
เศรษฐกิ จ สั งคม) รวมทั้งให้ ค วามรู้ เ รื่ อ งโทษทางกฎหมายที่ เกิ ด จากการครอบครอง การใช้ และการจ าหน่ าย
สารเสพติดแก่ชุมชน ครอบครัว และสังคมส่ วนรวม ฯลฯ
    ๓. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
        ๑) ความสามารถในการสื่ อสาร
        ๒) ความสามารถในการคิด
        ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา
        ๔) ความสามารถในการใช้ทกษะชีวิต ั
        ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
    ๔. คุณลักษณะทีพึงประสงค์
                         ่
        ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
        ๒) ซื่อสัตย์สุจริ ต
        ๓) มีวินย    ั
        ๔) ใฝ่ เรี ยนรู้
        ๕) อยูอย่างพอเพียง
               ่
        ๖) มุ่งมันในการทางาน
                   ่
        ๗) รักความเป็ นไทย
        ๘) มีจิตสาธารณะ

    ๕. ความรู้และทักษะเฉพาะวิชา
       ๑) อธิบายชนิดและลักษณะของสารเสพติดให้โทษที่แพร่ ระบาดในประเทศไทย
       ๒) อธิ บายอาการของผูใช้ส ารเสพติด ตลอดจนการป้ องกัน บาบัด รั กษาและฟื้ นฟูส มรรถภาพผูเ้ คยติ ด
                             ้
สารเสพติด
๖

   ๓) อธิบายโทษและพิษภัยของสารเสพติดตลอดจนวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากปัญหาสารเสพติด
   ๔) ปฏิบติตนเพื่อหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ ยงต่อการใช้สารเสพติดทุกชนิด
             ั
   ๕) อธิบายวิธีดาเนินการและบทบาทหน้าที่ที่พึงรับผิดชอบต่อปัญหาสารเสพติดในชุมชน
๖. ทักษะคร่ อมวิชา
   ๑) ทักษะการฟัง การฟังครู อธิบาย และเพื่อน ๆ แสดงความคิดเห็นในชั้นเรี ยน
   ๒) ทักษะการอ่าน การอ่านเนื้อหาสาระหน่วยการเรี ยนรู้
   ๓) ทักษะการเขียน การเขียนรายงาน การทาแบบฝึ กหัด และการทารายงาน
   ๔) ทักษะการนาเสนอ (การพูด) การนาเสนอเนื้อหาสาระหน่วยการเรี ยนรู้
   ๕) ทักษะการทางานกลุ่ม ระดมความคิดในการทางานกลุ่ม
   ๖) การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ การเขียนผังความคิด (Mind Mapping)
๗


             แผนการจัดการเรียนการสอนวิชาสุ ขศึกษา (แผนบูรณาการอาเซียน)
วิชา สุ ขศึกษา ๕                                                                     ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๑๐ เรื่อง      อย่ าไปหาสารเสพติด                                     เวลา ๔ ชั่วโมง

๑. เปาหมายการเรียนรู้
     ้
   ๑. จัดกิจกรรมป้ องกันความเสี่ ยงต่อการใช้สารเสพติด และความรุ นแรง
   ๒. วิเคราะห์ ผลกระทบที่เกิ ดจากการครอบครอง การใช้ และการจาหน่ ายสารเสพติ ด (ตนเอง ครอบครั ว
เศรษฐกิ จ สั งคม) รวมทั้งให้ ค วามรู้ เ รื่ อ งโทษทางกฎหมายที่ เกิ ด จากการครอบครอง การใช้ และการจ าหน่ าย
สารเสพติดแก่ชุมชน ครอบครัว และสังคมส่ วนรวม ฯลฯ

๒. สาระสาคัญ
           สารเสพติดแต่ละชนิ ดต่างออกฤทธิ์ ต่อระบบประสาทในลักษณะแตกต่างกัน แต่ก็ลวนเป็ นอันตรายทาให้
                                                                                         ้
สุ ขภาพร่ างกายทรุ ดโทรมลง และหากมิได้รับการบาบัด รักษา ฟื้ นฟูสภาพอย่างจริ งจังหรื อทันท่วงทีก็จะเป็ นอันตราย
ถึงชีวิตได้ ดังนั้นเยาวชนทุกคนจึงต้องมีความรู้ ความเข้าใจพอที่จะสามารถป้ องกันตนเองให้ห่างไกลจากสารเสพติด
และหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ ยงต่อการใช้สารเสพติดทุกชนิดได้ ตลอดทั้งตระหนักถึงการมีส่วนร่ วมในการรณรงค์ป้องกัน
แก้ไขปัญหาการแพร่ ระบาดของสารเสพติดในชุมชนด้วย

๓. มาตรฐานและตัวชี้วด       ั
   มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้ องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ ยง พฤติ กรรมเสี่ ยงต่อสุ ขภาพ อุบติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด
                                                                                  ั
                              และความรุ นแรง
   ตัวชี้วด : สิ่งทีผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัตได้
          ั         ่                      ิ
    ๑. มีส่ว นร่ ว มในการป้ องกันความเสี่ ยงต่ อการใช้ยา การใช้ส ารเสพติ ด และความรุ นแรง เพื่อสุ ข ภาพของ
ตนเอง ครอบครัว และสังคม
    ๒. วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากการครอบครอง การใช้ และการจาหน่ายสารเสพติด

๔. สาระการเรียนรู้
   ๑. สภาพปัญหาการแพร่ ระบาดของสารเสพติด
   ๒. ความหมายและการจาแนกประเภทของสารเสพติด
   ๓. ชนิดของสารเสพติดให้โทษที่แพร่ ระบาดในปัจจุบน
                                                 ั
   ๔. วิธีสังเกตอาการของผูใช้สารเสพติด
                          ้
   ๕. สาเหตุของการติดสารเสพติดให้โทษ
   ๖. โทษและพิษภัยของสารเสพติด
๘

    ๗. การป้ องกันสารเสพติด
    ๘. การบาบัดรักษาและการฟื้ นฟูสมรรถภาพผูติดสารเสพติด
                                           ้
    ๙. บทบาทหน้าที่ที่พึงปฏิบติต่อสังคม
                             ั

๕. กิจกรรมฝึ กทักษะทีควรเพิ่มให้ นักเรียน
                        ่
              K (Knowledge)                       P (Practice)                                  A (Attitude)
           ความรู้ ความเข้ าใจ                   การฝึ กปฏิบัติ                     คุณลักษณะอันพึงประสงค์
 ๑. อธิบายชนิดและลักษณะของ             ๑. จัดกิจ กรรมป้ องกันความเสี่ ยง       ๑.   รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
     สารเสพติดให้โทษที่แพร่ ระบาด         ต่ อ การใช้ ส ารเส พติ ด และ         ๒.   ซื่อสัตย์สุจริ ต
     ในประเทศไทย                          ความรุ นแรง                          ๓.   มีวินย    ั
 ๒. อธิบายอาการของผูใช้สารเสพติด ๒. วิเคราะห์ ผลกระทบที่ เกิ ดจาก
                          ้                                                    ๔.   ใฝ่ เรี ยนรู้
     ตลอดจนการป้ องกัน บาบัด              การครอบครอง การใช้แ ละ               ๕.   อยูอย่างพอเพียง
                                                                                        ่
     รักษาและฟื้ นฟูสมรรถภาพ              ก าร จ าห น่ าย ส าร เส พ ติ ด       ๖.   มุ่งมันในการทางาน
                                                                                            ่
     ผูเ้ คยติดสารเสพติด                  (ตนเอง ครอบครั ว เศรษฐกิ จ           ๗.   รักความเป็ นไทย
 ๓. อธิบายโทษและพิษภัยของ                 สังคม) รวมทั้งให้ ความรู้ เรื่ อ ง   ๘.   มีจิตสาธารณะ
     สารเสพติดตลอดจนวิเคราะห์             โทษทางกฎหมายที่ เ กิ ด จาก
     ผลกระทบที่เกิดจากปัญหา               การครอบครอง การใช้แ ละ
     สารเสพติด                            ก าร จ าห น่ าย ส าร เส พ ติ ด
 ๔. ปฏิบติตนเพื่อหลีกเลี่ยง
            ั                             แก่ ชุ มชน ค รอ บค รั ว แล ะ
     พฤติกรรมเสี่ ยงต่อการใช้             สังคมส่ วนรวม ฯลฯ
     สารเสพติดทุกชนิด
 ๕. อธิบายวิธีดาเนินการและ
     บทบาทหน้าที่ที่พึงรับผิดชอบ
     ต่อปัญหาสารเสพติดในชุมชน

๖. การวัดและประเมินผล
   ๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล
      ๑) แบบทดสอบก่อนเรี ยน/หลังเรี ยน
      ๒) แบบฝึ กหัด
      ๓) ใบงาน
      ๔) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
      ๕) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๙

       ๖) แบบสังเกตสมรรถนะของผูเ้ รี ยน
       ๗) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
    ๒. วิธีวดผล
            ั
       ๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรี ยน/หลังเรี ยน
       ๒) ตรวจแบบฝึ กหัด
       ๓) ตรวจใบงาน
       ๔) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
       ๕) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
       ๖) สังเกตสมรรถนะของผูเ้ รี ยน
       ๗) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
    ๓. เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
       ๑) สาหรับชัวโมงแรกที่ใช้แบบทดสอบก่อนเรี ยนไม่มีเกณฑ์ผ่าน เก็บคะแนนไว้เปรี ยบเทียบกับคะแนนที่ได้
                     ่
จากการทดสอบหลังเรี ยน
       ๒) การประเมินผลจากแบบฝึ กหัด ต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบเกินร้อยละ ๕๐
       ๓) การประเมินผลจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่ องความรู้ความเข้าใจ การนาไปใช้
ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
       ๔) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐
       ๕) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผานการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุ ง
                                                          ่
       ๖) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของผูเ้ รี ยน คะแนนขึ้นอยูกบการประเมินตามสภาพจริ ง
                                                                 ่ ั
       ๗) การประเมิ น ผลการสั งเกตคุ ณ ลัก ษณะอัน พึ งประสงค์ข องผูเ้ รี ยน คะแนนขึ้ น อยู่ก ับ การประเมิ น
ตามสภาพจริ ง

๗. หลักฐาน/ผลงาน
   ๑. ผลการทาแบบทดสอบก่อนเรี ยน/หลังเรี ยน และแบบฝึ กหัด
   ๒. ผลการทาใบงาน

๘. กิจกรรมการเรียนรู้
    ชั่วโมงที่ ๑-๒
    ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
    ๑. ครู และนักเรี ยนสนทนากันเรื่ องวันต่อต้านยาเสพติดโลก ซึ่ งตรงกับวันที่ ๒๖ มิถุนายน ของทุกปี ถือเป็ น
วันต่อต้านยาเสพติดโลก เนื่ องจากปั ญหาสารเสพติดเป็ นปั ญหาสาคัญที่ทุกประเทศทัวโลกประสบอยู่รวมถึงประเทศ
                                                                               ่
ไทย ในอดีตจะพบว่าการแพร่ ระบาดนั้นจะอยู่ที่ประชาชนผูใช้แรงงานและกลุ่มเยาวชน ชุมชนแออัด ผูดอ ยโอกาส
                                                        ้                                     ้้
ทางเศรษฐกิจ
    ๒. นักเรี ยนยกตัวอย่างประเภทยาเสพติดซึ่งแบ่งออกเป็ น ๔ ประเภท ได้แก่
๑๐




       ๑) กดประสาท ได้แก่ ฝิ่ น มอร์ฟีน เฮโรอีน ยานอนหลับ ยาระงับประสาท ยากล่อมประสาท ฯลฯ
       ๒) กระตุนประสาท ได้แก่ ยาบ้า ยาอี กระท่อม โคเคน
                 ้
       ๓) หลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี และ เห็ดขี้ควาย
       ๔) ออกฤทธิ์ ผสมผสาน คื อ ทั้งกระตุ ้น กดและหลอนประสาทร่ ว มกัน ได้แก่ ผูเ้ สพติ ด มัก มี อ าการ
หวาดระแวง ความคิดสับสนเห็นภาพลวงตา หูแว่ว
   ๓. นักเรี ยนทาแบบทดสอบก่อนเรี ยน ในหนังสื อเสริ มฝึ กประสบการณ์ สุ ขศึกษา ๕

     ขั้นสอน
     ๔. ครู ใช้รู ปแบบการเรี ยนแบบ TAI (Team Assisted Individualization) เพื่ อ เน้น การเรี ยนของแต่ ล ะบุ ค คล
เนื่องจากมีความสัมพันธ์กบชีวิตความเป็ นอยูของประชาชนโดยทัวไป ดังนี้
                          ั               ่                  ่
          ๑) สภาพปัญหาการแพร่ ระบาดของสารเสพติด
          ๒) ความหมายและการจาแนกประเภทของสารเสพติด
          ๓) ชนิดของสารเสพติดให้โทษที่แพร่ ระบาดในปัจจุบนั
          ๔) วิธีสังเกตอาการของผูใช้สารเสพติด
                                 ้
          ๕) สาเหตุของการติดสารเสพติดให้โทษ
     ๕. นอกจากนี้ครู ยงใช้เทคนิคการสอนแบบการประชุมแบบซินดิเคต (Syndicate) โดยกาหนดหัวข้อดังนี้
                        ั
          ๑) สภาพปัญหาการแพร่ ระบาดของสารเสพติด
          ๒) ความหมายและการจาแนกประเภทของสารเสพติด
          ๓) ชนิดของสารเสพติดให้โทษที่แพร่ ระบาดในปัจจุบน  ั
          ๔) วิธีสังเกตอาการของผูใช้สารเสพติด
                                   ้
          ๕) สาเหตุของการติดสารเสพติดให้โทษ
๑๑

       ๖. ครู เปิ ดวีดิทศน์ให้นักเรี ยนชมเพื่อให้นกเรี ยนได้ตระหนักถึงพิษร้ายแรงของยาเสพติดที่เป็ นอันตรายต่อชีวิต
                         ั                        ั
เพื่อให้นักเรี ยนหลี กเลี่ยงได้อย่างรู้เท่าทัน และยังเป็ นการสร้างภูมิคุมกันที่ดีในตัวเองได้ตามแนวคิดของเศรษฐกิ จ
                                                                                ้
พอเพียง
       ๗. ครู อธิบายสาเหตุที่เกิดจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เช่น อยากลอง ความคึกคะนอง หรื อการชักชวนของเพื่อน
เป็ นต้น หรื อ มาจากสาเหตุก ารหลอกลวง ซึ่ งปั จ จุบนนี้ มีผข ายสิ นค้าประเภทอาหาร ขนม หรื อ เครื่ อ งดื่ มบางราย
                                                             ั        ู้
ใช้สิ่ งเสพติ ด ผสมลงในสิ น ค้าที่ ข าย เพื่ อ ให้ ผู้ซ้ื อ สิ น ค้า ไปกิ น เกิ ด การติ ด อยากมาซื้ อ ไปกิ น อี ก ซึ่ งในกรณี นี้
ผูซ้ื อ อาหารนั้นมากิ นจะไม่รู้สึ ก ว่าตนเองเกิ ดการติ ดสิ่ งเสพติ ด ขึ้ น แล้ว รู้ แต่ เพี ยงว่าอยากกิ นอาหาร ขนม หรื อ
  ้
เครื่ องดื่มที่ซ้ื อจากร้านนั้นๆ กว่าจะทราบก็ต่อเมื่อตนเองรู้สึ กผิดสั งเกตต่ อความต้องการจะซื้ ออาหารจากร้ านนั้น
มากิน หรื อต่อเมื่อมีอาการเสพติดรุ นแรง และมีสุขภาพเสื่ อมลง หรื อสาเหตุการเจ็บป่ วย เช่น ได้รับบาดเจ็บรุ นแรง
วิตกกังวล เครี ยด และการซื้อยามากินเอง เป็ นต้น
       ๘. นักเรี ยนอ่านบทความ “เยาวชนกับยาเสพติด

            เพื่ อ ให้ ป ระชาชน พ่ อ แม่ ผูป กครอง ตระหนั ก ถึ งพิ ษภัยและโทษของยาเสพติด และช่วยกัน คุ ้มครอง สร้ า งความรั ก
                                           ้
    ความอบอุ่นให้กับครอบครั วเพื่อเป็ นการไม่ให้เยาวชนไทยติดยาเสพติด ปั จจุบนมีผติดยาเสพติดเป็ นจานวนมาก โดยเฉพาะ
                                                                                          ั ู้
    กลุ่มเยาวชนจะติด ยาเสพติ ดมากกว่ากลุ่มคนกลุ่มอื่ น และที่น่ าเป็ นห่ วง กาลังแพร่ ระบาดสู่ เด็ก นัก เรี ย นวัย ๙ ขวบ ๑๐ ขวบ
    สาเหตุอาจเป็ นเพราะถูกเพื่ อนชักจูงให้ลองเสพ อยากรู ้ อยากลอง ถูกล่อลวง และสาเหตุสาคัญอีกประการหนึ่ ง คือ การขาด
    ความอบอุ่นในครอบครัว ปั ญหาพ่อแม่หย่าร้างกัน ผูใหญ่ไม่ได้สนใจดูแลหรื อเป็ นที่พ่ ึงของเด็กได้ เด็กเกิ ดความว้าเหว่ไม่รู้จะ
                                                            ้
    ปรึ กษาใคร เลยหันไปหายาเสพติด หรื อเป็ นเป้ าล่อให้กบผูไม่ปรารถนาดีอย่างพอดี
                                                              ั ้
            ปั ญหายาเสพติดเป็ นปั ญหาที่ เป็ น ภัยร้ ายแรงต่อสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต ส่ งผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิ จ บันทอน   ่
    ความเจริ ญ ของประเทศชาติ หากประเทศใดมี ป ระชาชนติ ด ยาเสพติ ด จานวนมาก ก็ ไ ม่ ส ามารถพัฒ นาประเทศชาติ ให้
    เจริ ญรุ่ งเรื อ งได้ ยาเสพติ ด มี มากมายหลายชนิ ด ได้แ ก่ ฝิ่ น เฮโรอี น ทิ น เนอร์ กัญชา ยาบ้า ยาอี สารระเหย กระท่ อ ม และ
    ยากระตุ ้น ประสาท เป็ นต้น แต่ล ะชนิ ดก่ อ ให้ เกิ ด ผลร้ ายแก่ ร่ างกายทั้ง สิ้ น ท าให้ สุข ภาพทรุ ด โทรมอ่อ นแอ ความจาเสื่ อ ม
    เสี ยบุคลิกภาพ และปั ญหาสาคัญที่ตามมาอีกประการหนึ่ งก็คือ ผูติดยาเสพติดชนิ ดฉี ดเข้าเส้นมีโอกาสติดเชื้อไวรั สเอดส์ และ
                                                                         ้
    แพร่ กระจายไปยังกลุ่มผูติดยาเสพติดด้วยกัน รวมไปถึงคนกลุ่มอื่นๆ ด้วย
                               ้
            แม้รัฐบาลจะประกาศสงครามกับ ยาเสพติดก็ตาม ก็ไม่ได้ห มายความว่า การป้ องกัน การปราบปรามยาเสพติ ดจะเป็ น
    หน้าที่ของรัฐบาลเท่านั้น การแก้ไขปั ญหายาเสพติดเป็ นหน้าที่ของทุกฝ่ ายที่จะต้องร่ วมมือกัน การปราบปรามเป็ นการแก้ปัญหา
    ที่ปลายเหตุ การป้ องกันยังเป็ น สิ่ งที่สาคัญ โดยการให้การศึกษาและความรู ้ เรื่ องพิษภัยและโทษของยาเสพติด อย่างต่อ เนื่ อ ง
    แก่ ประชาชน ครู พ่อแม่ ผูปกครอง เด็กและเยาวชน โดยเฉพาะ พ่อ แม่ ผูปกครอง จะต้องเอาใจใส่ ดูแลลูกหลาน ให้ ความรั ก
                                   ้                                              ้
    ความอบอุ่นแก่ครอบครัว เป็ นที่พ่ ึงของเด็กได้ เมื่อเด็กมีปัญหาสามารถจะพูดคุย ช่วยกันแก้ปัญหาให้เด็ก ใช้เหตุผลกับเด็ก ไม่ใช้
    อารมณ์ เพราะการใช้อารมณ์อาจทาให้เด็กเกิดความน้อยเนื้ อต่าใจ กลุมใจและเตลิดออกจากบ้านไปพึ่งยาเสพติดและเสี ยอนาคต
                                                                            ้
    ได้ในที่สุด “เยาวชนคืออนาคตของชาติ อย่าให้ตกเป็ นทาสของยาเสพติด”

    ๙. นักเรี ยนร้องเพลงเกี่ยวกับยาเสพติด เพื่อสร้างบรรยากาศในห้องเรี ยนให้สนุ กสนานและได้รับความรู้ เช่น
เพลง ๑๘ ฝน, เด็กเสเพล, เราและนาย, จุดต่าสุ ด (ป้ าง), คิดผิดใช่ไหม (โน้ต -ตูน), เพื่อนกัน (บางแก้ว), ครึ่ งหนึ่งของ
๑๒

ชีวิต (แอม) เป็ นต้น และให้นกเรี ยนหาบทเพลงที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติ ดมาคนละ ๑ เพลง (ไม่ซ้ ากัน) แล้วนามาร้อง
                             ั
หน้าชั้นเรี ยนและสรุ ปสาระสาคัญของเพลงที่ได้รับประโยชน์
     ๑๐. นักเรี ยนทาใบงานที่ ๑๐.๑, ๑๐.๒ และ ๑๐.๓

       ขั้นสรุ ปและประยุกต์
       ๑๑. ครู และนักเรี ยนสรุ ปโดยครู เปิ ดวีดิโอ “น้ำตำแม่ ” ให้นกเรี ยนดูและฟัง เพื่อให้นกเรี ยนรู้จกคิดและวิเคราะห์
                                                                   ั                        ั          ั
ถึงผลของการติดยาเสพติด
       ๑๒. ครู แนะนาให้นักเรี ยนรู้จกการสร้างภูมิคุมกันที่ดีในตัวเอง เพื่อป้ องกันการติดสารเสพติดทุกชนิด ซึ่ งในโลกนี้
                                    ั               ้
มีส่ิ งที่งดงามสนุกสนานอีกมากที่สามารถกระทาได้ โดยไม่ก่อให้เกิดการบันทอนสุ ขภาพร่ างกาย และจิตใจ ทุกคน
                                                                                ่
ก็ทราบดีอยู่แล้วถึงพิษภัยของยาเสพติด แล้วทาไมเพื่อนรักของนักเรี ยนมาชวนนักเรี ยนเสพยาเสพติด เพื่อนหวังดี
กับเราจริ งหรื อ เพื่อนมีอะไรซ่อนเร้นอยูในใจหรื อเปล่า เพื่อนเป็ นตัวอย่างที่ดีที่นักเรี ยนควรทาตามหรื อไม่ เพื่อนอยู่
                                            ่
ในวงจรอุบาทว์ที่นักเรี ยนควรคิดช่วยเขา แทนที่เพื่อนจะมาชวนเราเสพ แล้วฉุดนักเรี ยนเข้าไปอยูในวงจรอุบาทว์น้ นด้วย
                                                                                                  ่               ั
เป็ นการถูกต้องหรื อไม่ การเล่นกีฬา เล่นดนตรี ร้องราทาเพลง เที่ยวเตร่ เพื่อความสนุ กสนาน วาดรู ป เล่นเกมต่างๆ
ท่องเที่ยวไปในโลกของอิ นเทอร์ เน็ ตในคอมพิวเตอร์ และกิ จกรรมอี ก มากมายที่จ ะนาความสุ ข มาสู่ ตัว นัก เรี น น
นักเรี ยนต้องรักตัวเอง ต้องไม่ทาให้คุณพ่อคุณแม่หรื อผูปกครองของนักเรี ยนเสี ยใจ โปรดเชื่อเถิดว่า เสพยาเสพติด
                                                           ้
ไม่ น านเกิ น ๑ ปี ร่ างกายของนัก เรี ย นจะตกอยู่ในสภาพที่ ย่าแย่ การบ าบัด รั ก ษาให้ เ ลิ ก ยาเสพติ ด เป็ นไปด้ว ย
ความยากลาบาก ถ้านักเรี ยนอยูในภาวะที่เศร้าโศกเสี ยใจและยังแก้ปัญหาในขณะนี้ไม่ได้ ยาเสพติดไม่ใช่วิธีแก้ปัญหา
                                 ่
ของนักเรี ยนอย่างแน่นอน ขอให้คิดให้ดีและขอให้แก้ปัญหาให้ได้
       ๑๓. ครู แนะนาให้นกเรี ยนคานึ งถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว ได้แก่ การลดความเห็นแก่ตว
                           ั                                                                                          ั
และเสี ยสละแรงกายและใจเพื่อทาประโยชน์ให้แก่ส่วนรวม ช่วยกันดูแลรักษาทรัพย์สินที่เป็ นสาธารณสมบัติ เช่น
ตูโทรศัพท์สาธารณะ ห้องสมุดประจาหมู่บาน เป็ นต้น ช่วยกันอนุ รักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น ป่ าไม้ แม่น้ าลาธาร เป็ นต้น
  ้                                             ้
รวมทั้งช่วยกันตักเตือนหรื อห้ามปรามบุคคลไม่ให้ทาลายสาธารณสมบัติ หรื อสิ่ งแวดล้อม

    ชั่วโมงที่ ๓-๔
   ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
   ๑๔ ครู และนักเรี ยนพูดถึงสารเสพติดมีพิษภัยทั้งต่อตัวบุคคลและในสังคม ซึ่งจาแนกได้ดงนี้
                                                                                     ั
        ๑) ต่อผูเ้ สพ ทาให้สุขภาพทรุ ดโทรมทั้งทางร่ างกายและทางจิตใจ เกิดโรคต่างๆ เช่น โรคตับ โรคหัวใจ
โรคเอดส์ โรคหวัด โรคประสาท เป็ นต้น
        ๒) ต่อครอบครัว ก่อให้เกิดความเดือดร้อน สูญเสี ยรายได้ เกิดความไม่สงบสุ ขภายในครอบครัว
        ๓) ต่อสังคม ก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรรม
        ๔) ต่อประเทศชาติ ทาให้สูญเสี ยเศรษฐกิจจานวนมหาศาล และบ่อนทาลายความมันคงของประเทศชาติ
                                                                                   ่
๑๓

       ๑๕. ครู และนักเรี ยนสนทนากันเรื่ องหลักเศรษฐกิจพอเพียง และครู อภิปรายถึง การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
ดังนี้
             ๑) พิ จ ารณาจากความสามารถในการพึ่ งตนเองเป็ นหลัก ที่ เ น้น ความสมดุ ล ทั้ง ๓ คุ ณ ลัก ษณะ คื อ
พอประมาณ มี เหตุ มี ผ ล และมี ภู มิ คุ้ม กัน มาประกอบการตัด สิ น ใจในเรื่ อ งต่ างๆ เป็ นขั้น เป็ นตอน รอบคอบ
ระมัดระวัง พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะพอควร และพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงที่มีองค์ประกอบครอบคลุมทั้ง
๕ ประการ คือ
                (๑) ด้านจิ ตใจ มีจิตใจเข้มแข็ง ฝึ กตนเองได้ มีจิ ตส านึ ก ที่ ดี เอื้ อ อาทร ประนี ประนอม และนึ ก ถึ ง
ประโยชน์ส่วนรวมเป็ นหลัก
                (๒) ด้านสังคม มีความช่วยเหลือเกื้อกูลกัน รู้รักสามัคคี สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน
รู้จกผนึกกาลัง มีกระบวนการเรี ยนรู้ที่เกิดจากรากฐานที่มนคงแข็งแรง
     ั                                                       ั่
                (๓) ด้า นเศรษฐกิ จ ด ารงชี วิ ต อยู่อ ย่างพอดี พอมี พอกิ น สมควรตามอัตภาพ และฐานะของตน
ประกอบอาชีพสุ จริ ต (สัมมาอาชีวะ) ด้วยความขยันหมันเพียร อดทน ใช้ชีวิตเรี ยบง่ายโดยไม่เบียดเบียนตนเองและ
                                                           ่
ผูอื่น มีรายได้สมดุ ลกับรายจ่ าย รู้จก การใช้จ่ายของตนเองและครอบครัวอย่างมีเหตุผลเท่าที่จาเป็ น ประหยัด รู้จ ัก
   ้                                   ั
การเก็บออมเงินและแบ่งปันผูอื่น้
                (๔) ด้านเทคโนโลยี รู้จกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการและภูมินิเวศ พัฒนา
                                           ั
เทคโนโลยีจากภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
                (๕) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อ ม รู้จ ักใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ สามารถ
เลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยูให้เกิดความยังยืนสูงสุ ด
                          ่              ่
             ๒) พิจ ารณาความรู้คู่ คุ ณ ธรรม มีก ารศึก ษาเรี ยนรู้และพัฒ นาตนเองอย่างต่ อ เนื่ อ ง (ทั้งภาคทฤษฎี แ ละ
การปฏิ บติ จริ ง) ในวิชาการต่ างๆ ที่ เกี่ ย วข้อ งกับ การดารงชี วิต ใช้ส ติ ปัญ ญาในการตัดสิ น ใจต่ างๆ อย่างรอบรู้
           ั
รอบคอบ และมีเหตุผลที่จะนาความรู้ต่างๆ เหล่านั้นมาปรับใช้อย่างมีข้ นตอน และระมัดระวังในการปฏิบติ มีความ
                                                                          ั                                 ั
ตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริ ต มีความเพียร ความอดทน และใช้สติปัญญาอย่างชาญฉลาดในการดาเนิ น
ชีวิตในทางสายกลาง
    ขั้นสอน
    ๑๖. ครู ผสอนใช้เทคนิ คโดยการระดมความคิด (Brain Storming) มีลกษณะพิเศษเป็ นการอบรมแบบกระตุนให้
             ู้                                                 ั                                  ้
ทุกคนได้ใช้สมอง ได้แสดงความคิดเห็ นโดยมิตองคานึงถึงการเสนอของตนจะถูกต้องหรื อใช้ได้หรื อไม่ เมื่อสมาชิก
                                           ้
ทุกคนได้แสดงความคิดเห็นแล้ว จึงพิจารณาข้อเสนอแนะที่เหมาะสมที่ส่วนใหญ่เห็นด้วย หัวข้อที่นาเสนอได้แก่
          โทษและพิษภัยของสารเสพติด
          การป้ องกันสารเสพติด
          การบาบัดรักษาและการฟื้ นฟูสมรรถภาพผูติดสารเสพติด
                                                   ้
          บทบาทหน้าที่ที่พึงปฏิบติต่อสังคม
                                    ั
    ๑๗. นักเรี ยนทาใบงานที่ ๑๐.๔, ๑๐.๕, ๑๐.๖ และ ๑๐.๗
๑๔

    ขั้นสรุ ปและประยุกต์
    ๑๘. ครู และนักเรี ยนสรุ ปโทษและพิษภัยของสารเสพติด การป้ องกันสารเสพติด การบาบัดรักษาและการฟื้ นฟู
สมรรถภาพผูติดสารเสพติด และบทบาทหน้าที่ที่พึงปฏิบติต่อสังคม
              ้                                         ั
    ๑๙. ครู เน้นสอนให้นักเรี ยนมี วินัย เช่น ฝึ กกาย วาจาและใจ ให้ควบคุมพฤติกรรมของตนเองให้อยู่ในระเบียบ
แบบแผนที่ดีงาม เพื่อให้การทางานและอยูร่วมกันของกลุ่มในสังคมนั้นเป็ นไปด้วยความเรี ยบร้อย
                                          ่
    ๒๐. ครู ปลูกฝังให้นกเรี ยนนาคุณธรรมที่ทุกคนควรจะศึกษาและน้อมนามาปฏิบติ ๔ ประการ คือ
                        ั                                                        ั
         ๑) รักษาความสัตย์ ความจริ งใจต่อตัวเองที่จะประพฤติปฏิบติแต่สิ่งที่เป็ นประโยชน์และเป็ นธรรม
                                                                   ั
         ๒) รู้จกข่มใจตนเอง ฝึ กใจตนเองให้ประพฤติปฏิบติอยูในสัจจะความดีน้ น
                ั                                           ั ่                ั
         ๓) ความอดทน อดกลั้น และอดออมที่จะไม่ประพฤติล่วงความสัตย์สุจริ ต ไม่ว่าด้วยเหตุประการใด
         ๔) รู้จกละวางความชัว ความทุจริ ตและสละประโยชน์ส่วนน้อยของตนเพื่อประโยชน์ส่วนรวม ถ้าแต่ละคน
                  ั           ่
พยายามปลูกฝังและบารุ งให้เจริ ญงอกงามขึ้นโดยทัวกันแล้ว จะช่วยให้ประเทศชาติบงเกิดความสุ ข ความร่ มเย็น และ
                                                   ่                               ั
มีโอกาสที่จะปรับปรุ งพัฒนาให้มนคง ก้าวหน้าต่อไปได้ดงประสงค์
                                ั่                        ั
    ๒๑. นักเรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยน

๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
   ๑. หนังสื อเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษา ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕ ของบริ ษท สานักพิมพ์เอมพันธ์ จากัด
                                                                              ั
   ๒. หนังสื อเสริ มฝึ กประสบการณ์ สุ ขศึกษา ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕ ของบริ ษท สานักพิมพ์เอมพันธ์ จากัด
                                                                                  ั
   ๓. วีดิทศน์ แผ่นใส และรู ปภาพประกอบ
             ั
   ๔. ข่าวสาร สื่ อสิ่ งพิมพ์

๑๐. การบูรณาการ
    ๑. การบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียน ทักษะการพูด ทักษะการฟัง และ
ทักษะการอ่าน
    ๒. การบูรณาการกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
    ๓. คุณธรรม จริ ยธรรม และศีลธรรม
    ๔. หน้าที่พลเมืองดี
๑๕


                               ใบงาน: กิจกรรมบูรณาการ ยาเสพติด กับประชาคมอาเซียน
วิชา สุ ขศึกษา ๕                                                                                                                               ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๑๐ เรื่อง                               อย่ าไปหาสารเสพติด                                                                      เวลา ๔ ชั่วโมง

จงตอบคาถามต่อไปนีให้ ถูกต้อง
                 ้

1. ประชาคมอาเซียนคืออะไร ตามความเข้ าใจของนักเรียน (โปรดแสดงมุมมอง / ทัศนคติ)
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................. ...........................................
........................................................................................................................................................................................

2. นักเรียนคิดอย่างไรกับ การเปิ ดประชาคมอาเซียนในปี 2558 (โปรดแสดงมุมมอง / ทัศนคติ)
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................. ...........................................

3. นักเรียนจะมีส่วนช่ วยการรณรงค์ต่อต้านยาเสพติดในชุมชน ประเทศชาติ และสังคมอย่างไร ในฐานะทีเ่ ราเป็ น
หนึ่งในประชาคมอาเซียน (โปรดแสดงมุมมอง / ทัศนคติ)
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................. ...........................................
........................................................................................................................................................................................

4. จงระบุหน่ วยงานทีดูแลรับผิดชอบด้ านการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของประเทศไทย มาอย่างน้ อย 5
                                   ่                                      ้
สถานที่ (หรือมากกว่านั้น)
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................. ...........................................
........................................................................................................................................................................................
๑๖


                 ใบงาน: กิจกรรมบูรณาการ ยาเสพติด กับประชาคมอาเซียน
วิชา สุ ขศึกษา ๕                                             ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๑๐ เรื่อง   อย่ าไปหาสารเสพติด                เวลา ๔ ชั่วโมง

จงวาดแผนผังความคิดตามหัวข้ อดังต่อไปนี้


            ประชาคมอาเซียน เกียวข้ องกับการปองกันยาเสพติดอย่างไร ?
                              ่             ้
๑๗

                              แบบทดสอบก่ อนเรียน/หลังเรียนหน่ วยที่ ๑๐
คาชี้แจง จงเขียนเครื่ องหมาย  ทับข้อที่นกเรี ยนคิดว่าถูกต้องที่สุด
                                             ั
๑. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับคาจากัดความของสารเสพติด
        ก. สุ ขภาพร่ างกายทรุ ดโทรมลง
        ข. เกิดอาการถอนยาเมื่อหยุดหรื อเลิกใช้สารเหล่านั้น
        ค. สารที่เข้าสู่ร่างกายแล้วมีความต้องการเพิ่มขึ้นทั้งขนาดและปริ มาณ
        ง. สารที่เข้าสู่ ร่างกายด้วยวิธีการสูบและฉีดเท่านั้น แล้วก่อให้เกิดโทษแก่ร่างกาย
๒. สารเสพติดในข้อใดมีสรรพคุณทางการแพทย์สามารถรักษาโรคได้
        ก. มอร์ฟีน                                             ข. กัญชา
        ค. ยาบ้า                                               ง. กระท่อม
๓. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับผลเสี ยที่เกิดจากสารเสพติดที่มีผลต่อครอบครัว
        ก. ไม่สามารถเรี ยนหรื อทางานได้ เพราะต้องใช้เวลาในการบาบัด
        ข. เสี ยค่าใช้จ่ายเป็ นจานวนมาก ต้องนารายจ่ายด้านอื่นๆ มาใช้ในการรักษา
        ค. ร่ างกายและจิตใจเสื่ อมโทรม
        ง. สูญเสี ยทรัพยากรมนุษย์ในการพัฒนาประเทศ
๔. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับปัจจัยและพฤติกรรมที่เสี่ ยงต่อการติดสารเสพติด
        ก. ครู กุ๊กใช้ยาเสพติดประเภทที่ ๔ เพื่อบรรเทาอาการป่ วยหลังผ่าตัดกระดูก
        ข. ไอด้าใช้ยาบาร์บิทุเรตเพื่อระงับอาการวิกลจริ ต
        ค. ไอริ ณอยากรู้อยากเห็นเลยเข้าไปทดลองสารเสพติด
        ง. ครอบครัวของแดนเทพยากจนจึงได้หันเหจากนักแสดงมาเป็ นผูคาสารเสพติด  ้้
๕. เพราะเหตุใดสารเสพติดจึงมีอนตรายมากโดยเฉพาะผูเ้ สพที่เป็ นผูหญิง
                                    ั                                ้
        ก. เพราะผูหญิงมีจิตใจที่ไม่หนักแน่นจึงทาให้เลิกสารเสพติดได้ยาก
                    ้
        ข. เพราะร่ างกายของผูหญิงอ่อนแอกว่าผูชาย ทาให้ร่างกายเสื่ อมโทรมเร็ วกว่าปกติ
                                  ้               ้
        ค. เพราะผูหญิงที่ใช้สารเสพติดเพื่อความบันเทิงจะมีผลทาให้ตกเลือดในบริ เวณช่องคลอด
                      ้
        ง. เพราะการเสพสารเสพติดบางชนิดจะทาให้คุมสติไม่อยู่ เสี่ ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์
๖. เพราะเหตุใดผูติดสารเสพติดจึงมักก่ออาชญากรรม
                  ้
        ก. ประชดตัวเอง                                         ข. ถูกชักชวนจากคนอื่น
        ค. ต้องการเงินไปซื้อยา                                 ง. ไม่พอใจสิ่ งแวดล้อมของตนเอง
๗. วันต่อต้านสารเสพติดของประเทศไทย ตรงกับวันที่เท่าใด
        ก. ๒๖ มิถุนายน ของทุกปี                                ข. ๔ กันยายน ของทุกปี
        ค. ๒๐ พฤศจิกายน ของทุกปี                               ง. ๑ ธันวาคม ของทุกปี
๑๘

 ๘. ข้อใดเป็ นการคิดที่เสี่ ยงต่อภาวะการติดสารเสพติด
         ก. อยากรู้อยากลองเป็ นผูกล้า้                      ข. ไม่ทดลองของมึนเมาทุกชนิด
         ค. ไม่คบเพื่อนแปลกหน้าที่ไม่ดี                     ง. มองเห็นคุณค่าในตนเองว่ามีดีเสมอ
         ใช้ สถานการณ์ต่อไปนี้ ตอบคาถามข้ อ ๙.–๑๐.
         ครอบครัวของพีระย้ายไปอยูในแถบชานเมืองได้ ๓ อาทิตย์ เขาได้รู้จกกับฤทธิ พงศ์ เพื่อนวัยเดียวกันและ
                                     ่                                      ั
    ได้กลายเป็ นเพื่อนเล่นและเพื่อนสนิทกัน วันหนึ่งพีระได้รู้ในภายหลังว่าฤทธิพงศ์เคยติดสารเสพติดมาก่อน
 ๙. การกระทาใดของพีระไม่ถูกต้อง และไม่สมควรต่อฤทธิพงศ์
         ก. เลิกคบ เพราะเคยติดสารเสพติดมาก่อน
         ข. ยังสนิทและเป็ นเพื่อนเล่นกับฤทธิพงศ์เหมือนเดิม
         ค. แนะนากิจกรรมยามว่างและมีประโยชน์ให้แก่ฤทธิพงศ์
         ง. ให้กาลังใจและเข้าใจฤทธิ พงศ์ เพราะเขาอาจเป็ นเหยือของสังคม
                                                               ่
๑๐. หากนัก เรี ยนเป็ นผูปกครองของพีระ ค าพูดใดของผูปกครองเหมาะสมที่สุ ดในการให้กาลังใจต่ อ ผูที่ก ลับใจ
                        ้                                ้                                         ้
    เลิกสารเสพติด
         ก. แม่ว่าลูกตัดสิ นเองดีกว่านะ ว่าจะคบต่อไปหรื อเปล่า
         ข. แม่ขอออกคาสั่งกับลูกเลยนะ ว่าต้องเลิกยุงกับเขาเดี๋ยวนี้
                                                     ่
         ค. แม่ว่าห่ างจากเขาเถอะลูก เขาอาจกลับไปติดใหม่ก็ได้
         ง. ไม่เป็ นไรหรอกลูก มันคืออดีต ปัจจุบนเขาเป็ นคนดีหรื อเปล่าล่ะ
                                                 ั
๑๑. เหตุการณ์ใดต่อไปนี้ ไม่จัดเป็ นผลร้ายของสารเสพติดที่ส่งผลกระทบต่อตัวเรา
         ก. จับนักร้องคาเฟ่ พร้อมสารเสพติด
         ข. พบสารเสพติดรู ปแบบใหม่หลอกลวงเยาวชน
         ค. ตารวจจับคนขับรถรับส่ งนักเรี ยนเสพยาบ้า
         ง. จับรุ่ นพี่ที่รับน้องด้วยการให้ทดลองสารเสพติด
๑๒. ข้อใดไม่ใช่ โทษที่เกิดจากการเสพสารเสพติด
         ก. โดนคนเสพยารี ดไถเงิน                            ข. ขาดบุคลากรในการพัฒนาประเทศ
         ค. มีอาชญากรรมเพิ่มขึ้น                            ง. พิการและอัมพาต
๑๓. ข้อใดเป็ นสาเหตุที่สาคัญของสิ่ งแวดล้อมทางสังคมที่ทาให้เกิดการใช้ยาและสารเสพติด
         ก. ชอบทดลองสิ่ งแปลกใหม่                           ข. การถูกบุคคลอื่นชักชวน
         ค. มีความเชื่อในการใช้ยาในทางที่ผด   ิ             ง. ใกล้ชิดกับแหล่งที่มีการค้าสารเสพติด
๑๔. ข้อใดคือการป้ องกันตนเองจากสารเสพติดที่สาคัญทีสุด  ่
         ก. ไม่หลงคาชวนเชื่อ                                ข. ไม่ทานยาโดยไม่ปรึ กษาแพทย์
         ค. ไม่ทดลองเสพยาทุกชนิด                            ง. ทากิจกรรมตามเพื่อน
๑๙

๑๕. บุคคลในข้อใดต่อไปนี้ ที่ตองช่วยกันป้ องกันสารเสพติด
                                ้
           ก. พ่อแม่พี่นอง
                         ้                                      ข. เพื่อน ครู อาจารย์
           ค. ตัวเราเอง                                         ง. ถูกทุกข้อ
๑๖. ข้อใดไม่ใช่ การป้ องกันสารเสพติดที่ถูกต้อง
           ก. การดูแลร่ างกายไม่ให้เจ็บป่ วย และมองโลกในแง่ดี
           ข. ทางานอดิเรกต่างๆ เช่น สะสมสิ่ งของ ดูภาพยนตร์
           ค. คอยดาเนินชีวิตและใช้กิจวัตรประจาวันอยูกบเพื่อน
                                                       ่ ั
           ง. ปฏิบติตามกฎระเบียบของครอบครัวและสังคมอย่างเคร่ งครัด
                    ั
๑๗. แนวทางในการป้ องกันสารเสพติดในข้อ ใดที่จะช่วยเสริ มสร้างให้คนในชุมชนได้รับรู้และตระหนักถึงอันตราย
    เกี่ยวกับสารเสพติด
           ก. วิชุดา กินยาภายใต้การดูแลของแพทย์และเภสัชกร
           ข. เอกชัย ชวนเพื่อนในห้องมาร่ วมเดินรณรงค์เพื่อให้เข้าใจถึงอันตรายของสารเสพติด
           ค. อรพินไม่หลงคาเชิญชวนให้ทดลองยาทุกชนิด
           ง. พุธิพร ยึดมันในหลักศาสนา
                           ่
๑๘. ข้อใดต่อไปนี้เป็ นวิธีการป้ องกันสารเสพติดโดยให้กฎหมายเข้ามามีส่วนร่ วม
           ก. ให้กาลังใจและหาวิธีแก้ไขผูที่ติดสารเสพติด
                                           ้
           ข. จัดการประชุมเพื่อปราบปรามหมู่บานที่เป็ นแหล่งผลิตสารเสพติด
                                                 ้
           ค. ปฏิบติตามบทบาทของตนเองให้ดีที่สุด
                      ั
           ง. บอกบุคคลในครอบครัวให้ตระหนักถึงอันตรายของสารเสพติด
๑๙. การศึกษาสามารถเข้ามามีส่วนร่ วมในการป้ องกันการระบาดของสารเสพติด ยกเว้นในข้อใด
           ก. จัดการศึกษาแบบบูรณาการในทุกรายวิชาเพื่อให้รู้ถึงผลกระทบของสารเสพติด
           ข. จัดหน่วยงานในโรงเรี ยนเพื่อสอดส่ องดูแลนักเรี ยนที่ใช้สารเสพติด
           ค. จัดกิจกรรมเสริ มหลักสูตรเพื่อป้ องกันการเสี่ ยงต่อการติดสารเสพติดของเด็กวัยรุ่ น
           ง. ใช้กฎหมายเพื่อลงโทษสถานหนักกับนักเรี ยนที่ติดสารเสพติด
๒๐. “มาตรการแทรกแซง หรื อสอดแทรก เป็ นการจัดกิจกรรมที่ดาเนิ นการกับผูท่เี ริ่ มมีปัญหาการใช้สารเสพติด เช่น
                                                                               ้
    เริ่ มทดลองใช้สารเสพติด” จัดว่าเป็ นการใช้มาตรการใดมาร่ วมแก้ไขปัญหาสารเสพติด
           ก. มาตรการทางสังคม                                   ข. มาตรการทางกฎหมาย
           ค. มาตรการทางการศึกษา                                ง. มาตรการทางสิ่ งแวดล้อม

                                 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียนหน่ วยที่ ๑๐
   ๑.         ๒.          ๓.        ๔.        ๕.          ๖.        ๗.         ๘.        ๙.         ๑๐.
    ง.         ก.         ข.        ก.         ง.        ค.         ก.          ก.        ก.         ง.
   ๑๑.        ๑๒.        ๑๓.       ๑๔.        ๑๕.        ๑๖.       ๑๗.         ๑๘.       ๑๙.        ๒๐.
   ก.          ง.         ง.        ค.         ง.        ค.         ข.          ข.        ง.         ก.
๒๐

                      บันทึกหลังการสอน
๑. ผลการสอน
   …………………………….…………………………………………………………………………….……….
   …………………………….…………………………………………………………………………….……….
   …………………………….…………………………………………………………………………….……….
   …………………………….…………………………………………………………………………….……….
   …………………………….…………………………………………………………………………….……….
   …………………………….…………………………………………………………………………….……….
๒. ปัญหา/อุปสรรค
   …………………………….…………………………………………………………………………….……….
   …………………………….…………………………………………………………………………….……….
   …………………………….…………………………………………………………………………….……….
   …………………………….…………………………………………………………………………….……….
   …………………………….…………………………………………………………………………….……….
   …………………………….…………………………………………………………………………….……….
๓. ข้ อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
   …………………………….…………………………………………………………………………….……….
   …………………………….…………………………………………………………………………….……….
   …………………………….…………………………………………………………………………….……….
   …………………………….…………………………………………………………………………….……….
   …………………………….…………………………………………………………………………….……….
   …………………………….…………………………………………………………………………….……….

                                          ลงชื่อ...............................................ครู ผสอน
                                                                                                    ู้
                                                 (..............................................)
                                           วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............
๔. ข้ อเสนอแนะของหัวหน้ าสถานศึกษาหรือผู้ทได้ รับมอบหมาย
                                          ี่
   …………………………….…………………………………………………………………………….……….
   …………………………….…………………………………………………………………………….……….
   …………………………….…………………………………………………………………………….……….
   …………………………….…………………………………………………………………………….……….
   …………………………….…………………………………………………………………………….……….
   …………………………….…………………………………………………………………………….……….

                                         ลงชื่อ...............................................................
                                               (.............................................................)

Contenu connexe

Tendances

เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
panisra
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาท
Dew Thamita
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
Krupol Phato
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
supaporn2516mw
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
Kittichai Pinlert
 

Tendances (20)

การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาท
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ okชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัส
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 

Similaire à แผนการสอนสุขศึกษา ม.5

โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
Apichat kon
 
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
Kruthai Kidsdee
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
Kruthai Kidsdee
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
Kruthai Kidsdee
 
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติดโครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
Kruthai Kidsdee
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
freelance
 
แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10
Kruthai Kidsdee
 
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
freelance
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
jirapom
 
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันตินโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
suthat22
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
weeraboon wisartsakul
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
sudza
 

Similaire à แผนการสอนสุขศึกษา ม.5 (20)

Asean thai handout
Asean thai handoutAsean thai handout
Asean thai handout
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติดโครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10
 
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
 
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูลอนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันตินโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
 
ปัญหาสังคม
ปัญหาสังคมปัญหาสังคม
ปัญหาสังคม
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
 
06 ตอนที่ 2 หน่วย 5
06 ตอนที่ 2 หน่วย 506 ตอนที่ 2 หน่วย 5
06 ตอนที่ 2 หน่วย 5
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 

Plus de Kruthai Kidsdee

คู่มืออบรม Google sites
คู่มืออบรม  Google sitesคู่มืออบรม  Google sites
คู่มืออบรม Google sites
Kruthai Kidsdee
 
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google docคู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
Kruthai Kidsdee
 

Plus de Kruthai Kidsdee (20)

Google apps content_1
Google apps content_1Google apps content_1
Google apps content_1
 
Google drive
Google driveGoogle drive
Google drive
 
Google docs 11
Google docs 11Google docs 11
Google docs 11
 
Google form 11
Google form 11Google form 11
Google form 11
 
คู่มืออบรม Google sites
คู่มืออบรม  Google sitesคู่มืออบรม  Google sites
คู่มืออบรม Google sites
 
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google docคู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
 
คู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plusคู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plus
 
คู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveคู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google drive
 
คู่มือการใช้งาน Google
คู่มือการใช้งาน  Googleคู่มือการใช้งาน  Google
คู่มือการใช้งาน Google
 
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesการสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
 
การใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsการใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docs
 
Google appsall
Google appsallGoogle appsall
Google appsall
 
Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2
 
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.3230 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
 
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝันแนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
 
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 

แผนการสอนสุขศึกษา ม.5

  • 1. แผนการจัดการเรียนการสอนวิชาสุ ขศึกษา (แผนบูรณาการอาเซียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา โดย นางกฤตยา ศรีริ ครู วทยฐานะชานาญการพิเศษ ิ โรงเรียนภัทรบพิตร จังหวัดบุรีรัมย์
  • 2. แผนการจัดการเรียนการสอนวิชาสุ ขศึกษา (แผนบูรณาการอาเซียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา วิชา สุ ขศึกษา ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕ เวลา ๔ ชั่วโมง ความสาคัญและความเป็ นมา "ประชาคมอาเซี ยน" (ASEAN Community) เป็ นเป้ าหมายของการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเซี ยน ภายในปี 2558 (ค.ศ. 2015) โดยมีวิสัยทัศน์ร่วมของผูนาอาเซียน คือ "การสร้างประชาคมอาเซียนที่มีขีดความสามารถ ้ ในการแข่ งขันสู ง มีกฎเกณฑ์ก ติ ก าที่ชัดเจน และมีประชาชนเป็ นศูน ย์ก ลาง" ทั้งนี้ เพื่ อสร้างประชาคมที่ มีความ แข็งแกร่ ง สามารถสร้างโอกาสและรับมือสิ่ งท้าทายทั้งด้านการเมือง ความมันคง เศรษฐกิจ และภัยคุกคามรู ปแบบ ่ ใหม่ เพิ่ มอ านาจต่ อ รองและขี ดความสามารถการแข่ งขัน ของอาเซี ยนในเวที ระหว่างประเทศทุ ก ด้าน โดยให้ ประชาชนมีความเป็ นอยู่ที่ดี สามารถประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้สะดวกมากขึ้น และประชาชนในอาเซี ยนมี ความรู้สึกเป็ นอันหนึ่ งอันเดียวกัน นอกจากนี้ ยังมีการเสริ มสร้างความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน ใน 3 มิติ คือ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านกฎระเบียบ และความเชื่อมโยงระหว่างประชาชน การเป็ นประชาคมอาเซี ยน คื อ การทาให้ป ระเทศสมาชิ ก อาเซี ยนเป็ น "ครอบครัว เดี ยวกัน" ที่ มี ค วาม แข็งแกร่ งและมีภูมิตานทานที่ดี โดยสมาชิกในครอบครัวมีสภาพความอยู่ที่ดี ปลอดภัย และสามารถค้าขายได้อย่าง ้ สะดวกมากยิงขึ้น ประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย 3 เสาหลัก (Pillar) คือ ประชาคมการเมืองและความมันคงอาเซียน ่ ่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียน ซึ่งทั้งภาครัฐและภาคเอกชน และประชาชนของ ประเทศอาเซียนจะต้องเข้ามามีส่วนร่ วมทั้ง 3 เสาหลัก (กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 2555: ออนไลน์) การเข้าสู่ประเทศอาเซี ยนในปี 2558 ทาให้ประเทศไทยและหลายๆประเทศในกลุ่มอาเซียนพร้อมรับมือกับ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น แต่ปัญหาสาคัญที่เป็ นวาระแห่ งชาติน้ นก็คือปั ญหายาเสพติดซึ่ งไม่ได้ถูกพูดถึงเลย และใน ั เมื่อเราเปิ ดประเทศอาเซี ยนแล้วปั ญหายาเสพติดจะหมดไปหรื อไม่ แล้วเราจะมีวิธีการเตรี ยมรับมือกับปัญหายาเสพ ติดอย่างไรเมื่อเราเปิ ดประเทศอาเซียนแล้ว สถานการณ์ปัญ หายาเสพติ ดมีก ารเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด มียาเสพติ ดชนิ ดใหม่ๆ เกิดขึ้นและเข้ามาแพร่ ระบาดในภูมภาคอย่างต่อเนื่ อง เฮโรอีนกลับกลายเป็ นตัวยาทางเลือกเมื่อได้มีการนามาตรการควบคุมการปลูกฝิ่ นมา ิ บังคับใช้อย่างจริ งจัง โดยส่ งเสริ มให้มีการปลูกพืชเศรษฐกิจ และนามาตรการการพัฒนาทางเลือกมาใช้แทนการแพร่ ระบาดของเฮโรอีนลดลง ขณะที่การแพร่ ระบาดของยาเสพติดชนิ ดเอทีเอสเพิ่มมากขึ้นในหมู่ประเทศสมาชิก อาเซี ยนบางประเทศ นอกจากนี้ เมทแอมเฟตามีน เมทแอมเฟตามีนชนิ ดผลึก หรื อที่รู้จกกันดีว่า ไอซ์ กลายเป็ นตัวยาที่น่าเป็ นห่ วงในช่วง ั 10 ปี ที่ผ่านมา ยาเสพติดจากภายนอกภูมิภาคถูกลักลอบเข้ามาในภูมิภาคอาเซียนของเรา ขณะที่การลักลอบค้ายาเสพ ติดบางคดีก็มีส่วนเชื่อมโยงกับอาชญากรรมประเภทอื่นๆ จากนี้ เรามีเวลาเหลืออีกเพียง 3 ปี เท่านั้น ที่เราจะก้าวสู่การ เป็ นเขตปลอดยาเสพติดอาเซียน
  • 3. ทั้งนี้ ที่ประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซี ยนด้านยาเสพติดตกลงที่จะนิยามการเป็ นอาเซียนที่ปลอดยาเสพติด ว่า หมายถึง การที่ประเทศสมาชิกอาเซียนสามารถควบคุมปัญหายาเสพติดได้อย่างมีประสิ ทธิภาพและประสบผลสาเร็ จ โดยไม่ส่งผลกระทบต่อการดาเนิ นชีวิตที่เป็ นปกติสุขของสังคม จะทาอย่างไรเพื่อให้บรรลุตามเป้ าประสงค์ในการ เป็ นเขตปลอดยาเสพติดอาเซียนได้น้ น เป็ นประเด็นที่ทาทาย รอเราอยูขางหน้า ต่างทางานในการแก้ไขปั ญหายาเสพ ั ้ ่ ้ ติดเช่นเดียวกัน ทุก คนต้อ งมี ความรับผิดชอบร่ วมกันที่จะต่อ สู้กบปั ญ หายาเสพติ ดในฐานะอาเซี ยนที่เป็ นเสมือ นคนใน ั ครอบครัวเดียวกัน โดยเราจะรวมกันเป็ นประชาคมอาเซี ยนภายในปี พ.ศ. 2558 ซึ่ งเป็ นปี เป้ าหมายเดียวกับการเป็ น ประชาคมอาเซี ยนที่ปลอดยาเสพติด ผ่านการสร้างความเชื่ อ มโยงกันในอาเซี ยน หรื อ ASEAN Connectivity นั่น หมายถึง การเปิ ดพรมแดนเพื่อให้เกิดการเคลื่อนย้ายคนในภูมิภาคอย่างเสรี ซึ่งเราควรจะได้ตระหนักถึงผลกระทบเชิง ลบจากการเชื่ อมโยงดังกล่าวด้วย การสกัดกั้นยาเสพติดบริ เวณพรมแดนถือเป็ นองค์ประกอบหนึ่ งในการสกัดการ ลักลอบขนยาเสพติดเข้ามาในประเทศ หรื อ ออกไปสู่ ประเทศที่สาม ไม่เพียงแค่น้ น ยังควรร่ วมมือกันในการลดอุป ั สงค์ยาเสพติดอีกด้วย เพื่ออนาคตของลูกหลานไม่ให้ตกเป็ นเหยือของยาเสพติด ในฐานะรัฐบาลไทย ่ ทุกชาติในภูมิภาคอาเซี ยนจะร่ วมมือกันโดยเน้นการสกัดกั้นยาเสพติดทั้งภายในและภายนอกภูมิภาค และ จะดาเนิ นการปราบปรามผูคาอย่างจริ งจัง พร้อมเป็ นหุ ้นส่ วนในการแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยประสานความร่ วมมือ ้้ ระหว่างคณะกรรมการอาเซียนสาขาต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ในการป้ องกันเยาวชนรุ่ นใหม่ของอาเซี ยน ไม่ให้เกี่ยวข้องกับ ยาเสพติด โดยเน้นย้าถึงการดาเนินการเพื่อมุ่งสู่เป้ าหมายอาเซียนปลอดยาเสพติด ในปี 2015 สาหรับในที่ประชุมอาเซี ยนได้เห็ นพ้องถึงปั ญหาเรื่ อ งยาเสพติดซึ่ งเป็ นปั ญหาระดับชาติ ไทยไม่สามารถ แก้ไขตามลาพังได้ ถึงแม้ว่าการทาให้ปัญ หายาเสพติดหมดไปเป็ นเรื่ อ งที่เป็ นไปได้ยาก แต่ถาทาให้ลดลงได้ก็ถือว่าประสบ ้ ความสาเร็ จ ซึ่ งทุกหน่ วยจะต้องร่ วมกันดาเนิ นการอย่างต่อเนื่ อง ซึ่ งทาง ป.ป.ส.ไม่ได้ดาเนิ นการเฉพาะในประเทศ และเฉพาะกลุ่มอาเซียนเท่านั้น ยังมีการประสานงานติดต่อบูรณาการร่ วมกันกับประเทศอังกฤษ อเมริ กา และประเทศ แถบยุโรปหลายประเทศในการร่ วมมือกันแก้ปัญหายาเสพติด ทั้งนี้ จากการประชุ มสถานการณ์ ภาพรวมของยาเสพติ ด หน่ ว ยงานทุก ประเทศมีปั ญ หาด้านยาเสพติ ด เหมือนกัน แต่ว่าจะมากหรื อน้อยขึ้นอยูกบสังคมของแต่ละประเทศ โดยทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้องจะต้องร่ วมมือกันอย่างเป็ น ่ ั รู ปธรรมถึงจะสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ สถานการณ์ยาเสพติดของทุกประเทศในกลุ่มอาเซียน มีปัญหายาเสพติดที่แพร่ ระบาดเหมือนกัน คือยาบ้า และยาไอซ์ ซึ่ งประเทศไทยพร้อมสนับสนุ นให้การช่วยเหลือทุกเรื่ อง เช่น ประเทศลาว และกัมพูชา ได้ประสานขอ เจ้าหน้าที่ไทยไปช่วยบาบัดผูติดยาเสพติด ส่ วนประเทศพม่ามีปัญหาพื้นที่กว้างขวางและคนตกงานจานวนมาก ทาให้ ้ ดูแลไม่ทวถึ ง จึงเป็ นต้นเหตุ ข องการปลูกพืชที่เป็ นสารตั้งต้นของยาเสพติ ด ซึ่ งปั ญ หาทั้งหมดทุกประเทศจะต้อ ง ั่ ร่ วมมือกันแก้ไข (10 ประเทศอาเซียน จับมือต้านยาเสพติด, 2555: ออนไลน์) อ้างอิงจาก: http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1346469459&grpid=03&catid=&subcatid=
  • 4. ๔ หัวเรื่อง/Theme หน่ วยการเรียนรู้ที่ ๑๐ อย่าไปหาสารเสพติด ๑. การกาหนดเปาหมายการเรียนรู้ ้ ๑. สภาพปัญหาการแพร่ ระบาดของสารเสพติด ๒. ความหมายและการจาแนกประเภทของสารเสพติด ๓. ชนิดของสารเสพติดให้โทษที่แพร่ ระบาดในปัจจุบน ั ๔. วิธีสังเกตอาการของผูใช้สารเสพติด ้ ๕. สาเหตุของการติดสารเสพติดให้โทษ ๖. โทษและพิษภัยของสารเสพติด ๗. การป้ องกันสารเสพติด ๘. การบาบัดรักษาและการฟื้ นฟูสมรรถภาพผูติดสารเสพติด ้ ๙. บทบาทหน้าที่ที่พึงปฏิบติต่อสังคม ั ภาพรวม (Big Idea) ๒. มาตรฐานการเรียนรู้ทเี่ ป็ นเปาหมาย ้ มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้ องกันและหลีกเลี่ยงปั จจัยเสี่ ยง พฤติกรรมเสี่ ยงต่อสุ ขภาพ อุบติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด ั และความรุ นแรง ๓. ตัวชี้วด: สิ่งทีผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัตได้ ั ่ ิ ๑. มีส่วนร่ วมในการป้ องกันความเสี่ ยงต่อการใช้ยา การใช้สารเสพติด และความรุ นแรง เพื่อสุ ขภาพของตนเอง ครอบครัว และสังคม ๒. วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากการครอบครอง การใช้ และการจาหน่ายสารเสพติด
  • 5. ๕ ๔. เปาหมายการเรียนรู้ ้ ๑. ความเข้ าใจทีคงทน ่ ๑) จัดกิจกรรมป้ องกันความเสี่ ยงต่อการใช้สารเสพติด และความรุ นแรง ๒) วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากการครอบครอง การใช้ และการจาหน่ ายสารเสพติด (ตนเอง ครอบครัว เศรษฐกิจ สังคม) รวมทั้งให้ความรู้เรื่ องโทษทางกฎหมายที่เกิดจากการครอบครอง การใช้ และการจาหน่ายสารเสพติด แก่ชุมชน ครอบครัว และสังคมส่ วนรวม ฯลฯ ๒. จิตพิสัย ๑) ตระหนักถึงการจัดกิจกรรมป้ องกันความเสี่ ยงต่อการใช้สารเสพติด และความรุ นแรง ๒) ตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดจากการครอบครอง การใช้ และการจาหน่ายสารเสพติด (ตนเอง ครอบครัว เศรษฐกิ จ สั งคม) รวมทั้งให้ ค วามรู้ เ รื่ อ งโทษทางกฎหมายที่ เกิ ด จากการครอบครอง การใช้ และการจ าหน่ าย สารเสพติดแก่ชุมชน ครอบครัว และสังคมส่ วนรวม ฯลฯ ๓. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ๑) ความสามารถในการสื่ อสาร ๒) ความสามารถในการคิด ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔) ความสามารถในการใช้ทกษะชีวิต ั ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๔. คุณลักษณะทีพึงประสงค์ ่ ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ๒) ซื่อสัตย์สุจริ ต ๓) มีวินย ั ๔) ใฝ่ เรี ยนรู้ ๕) อยูอย่างพอเพียง ่ ๖) มุ่งมันในการทางาน ่ ๗) รักความเป็ นไทย ๘) มีจิตสาธารณะ ๕. ความรู้และทักษะเฉพาะวิชา ๑) อธิบายชนิดและลักษณะของสารเสพติดให้โทษที่แพร่ ระบาดในประเทศไทย ๒) อธิ บายอาการของผูใช้ส ารเสพติด ตลอดจนการป้ องกัน บาบัด รั กษาและฟื้ นฟูส มรรถภาพผูเ้ คยติ ด ้ สารเสพติด
  • 6. ๓) อธิบายโทษและพิษภัยของสารเสพติดตลอดจนวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากปัญหาสารเสพติด ๔) ปฏิบติตนเพื่อหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ ยงต่อการใช้สารเสพติดทุกชนิด ั ๕) อธิบายวิธีดาเนินการและบทบาทหน้าที่ที่พึงรับผิดชอบต่อปัญหาสารเสพติดในชุมชน ๖. ทักษะคร่ อมวิชา ๑) ทักษะการฟัง การฟังครู อธิบาย และเพื่อน ๆ แสดงความคิดเห็นในชั้นเรี ยน ๒) ทักษะการอ่าน การอ่านเนื้อหาสาระหน่วยการเรี ยนรู้ ๓) ทักษะการเขียน การเขียนรายงาน การทาแบบฝึ กหัด และการทารายงาน ๔) ทักษะการนาเสนอ (การพูด) การนาเสนอเนื้อหาสาระหน่วยการเรี ยนรู้ ๕) ทักษะการทางานกลุ่ม ระดมความคิดในการทางานกลุ่ม ๖) การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ การเขียนผังความคิด (Mind Mapping)
  • 7. แผนการจัดการเรียนการสอนวิชาสุ ขศึกษา (แผนบูรณาการอาเซียน) วิชา สุ ขศึกษา ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕ หน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๑๐ เรื่อง อย่ าไปหาสารเสพติด เวลา ๔ ชั่วโมง ๑. เปาหมายการเรียนรู้ ้ ๑. จัดกิจกรรมป้ องกันความเสี่ ยงต่อการใช้สารเสพติด และความรุ นแรง ๒. วิเคราะห์ ผลกระทบที่เกิ ดจากการครอบครอง การใช้ และการจาหน่ ายสารเสพติ ด (ตนเอง ครอบครั ว เศรษฐกิ จ สั งคม) รวมทั้งให้ ค วามรู้ เ รื่ อ งโทษทางกฎหมายที่ เกิ ด จากการครอบครอง การใช้ และการจ าหน่ าย สารเสพติดแก่ชุมชน ครอบครัว และสังคมส่ วนรวม ฯลฯ ๒. สาระสาคัญ สารเสพติดแต่ละชนิ ดต่างออกฤทธิ์ ต่อระบบประสาทในลักษณะแตกต่างกัน แต่ก็ลวนเป็ นอันตรายทาให้ ้ สุ ขภาพร่ างกายทรุ ดโทรมลง และหากมิได้รับการบาบัด รักษา ฟื้ นฟูสภาพอย่างจริ งจังหรื อทันท่วงทีก็จะเป็ นอันตราย ถึงชีวิตได้ ดังนั้นเยาวชนทุกคนจึงต้องมีความรู้ ความเข้าใจพอที่จะสามารถป้ องกันตนเองให้ห่างไกลจากสารเสพติด และหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ ยงต่อการใช้สารเสพติดทุกชนิดได้ ตลอดทั้งตระหนักถึงการมีส่วนร่ วมในการรณรงค์ป้องกัน แก้ไขปัญหาการแพร่ ระบาดของสารเสพติดในชุมชนด้วย ๓. มาตรฐานและตัวชี้วด ั มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้ องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ ยง พฤติ กรรมเสี่ ยงต่อสุ ขภาพ อุบติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด ั และความรุ นแรง ตัวชี้วด : สิ่งทีผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัตได้ ั ่ ิ ๑. มีส่ว นร่ ว มในการป้ องกันความเสี่ ยงต่ อการใช้ยา การใช้ส ารเสพติ ด และความรุ นแรง เพื่อสุ ข ภาพของ ตนเอง ครอบครัว และสังคม ๒. วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากการครอบครอง การใช้ และการจาหน่ายสารเสพติด ๔. สาระการเรียนรู้ ๑. สภาพปัญหาการแพร่ ระบาดของสารเสพติด ๒. ความหมายและการจาแนกประเภทของสารเสพติด ๓. ชนิดของสารเสพติดให้โทษที่แพร่ ระบาดในปัจจุบน ั ๔. วิธีสังเกตอาการของผูใช้สารเสพติด ้ ๕. สาเหตุของการติดสารเสพติดให้โทษ ๖. โทษและพิษภัยของสารเสพติด
  • 8. ๗. การป้ องกันสารเสพติด ๘. การบาบัดรักษาและการฟื้ นฟูสมรรถภาพผูติดสารเสพติด ้ ๙. บทบาทหน้าที่ที่พึงปฏิบติต่อสังคม ั ๕. กิจกรรมฝึ กทักษะทีควรเพิ่มให้ นักเรียน ่ K (Knowledge) P (Practice) A (Attitude) ความรู้ ความเข้ าใจ การฝึ กปฏิบัติ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. อธิบายชนิดและลักษณะของ ๑. จัดกิจ กรรมป้ องกันความเสี่ ยง ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ สารเสพติดให้โทษที่แพร่ ระบาด ต่ อ การใช้ ส ารเส พติ ด และ ๒. ซื่อสัตย์สุจริ ต ในประเทศไทย ความรุ นแรง ๓. มีวินย ั ๒. อธิบายอาการของผูใช้สารเสพติด ๒. วิเคราะห์ ผลกระทบที่ เกิ ดจาก ้ ๔. ใฝ่ เรี ยนรู้ ตลอดจนการป้ องกัน บาบัด การครอบครอง การใช้แ ละ ๕. อยูอย่างพอเพียง ่ รักษาและฟื้ นฟูสมรรถภาพ ก าร จ าห น่ าย ส าร เส พ ติ ด ๖. มุ่งมันในการทางาน ่ ผูเ้ คยติดสารเสพติด (ตนเอง ครอบครั ว เศรษฐกิ จ ๗. รักความเป็ นไทย ๓. อธิบายโทษและพิษภัยของ สังคม) รวมทั้งให้ ความรู้ เรื่ อ ง ๘. มีจิตสาธารณะ สารเสพติดตลอดจนวิเคราะห์ โทษทางกฎหมายที่ เ กิ ด จาก ผลกระทบที่เกิดจากปัญหา การครอบครอง การใช้แ ละ สารเสพติด ก าร จ าห น่ าย ส าร เส พ ติ ด ๔. ปฏิบติตนเพื่อหลีกเลี่ยง ั แก่ ชุ มชน ค รอ บค รั ว แล ะ พฤติกรรมเสี่ ยงต่อการใช้ สังคมส่ วนรวม ฯลฯ สารเสพติดทุกชนิด ๕. อธิบายวิธีดาเนินการและ บทบาทหน้าที่ที่พึงรับผิดชอบ ต่อปัญหาสารเสพติดในชุมชน ๖. การวัดและประเมินผล ๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล ๑) แบบทดสอบก่อนเรี ยน/หลังเรี ยน ๒) แบบฝึ กหัด ๓) ใบงาน ๔) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๕) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
  • 9. ๖) แบบสังเกตสมรรถนะของผูเ้ รี ยน ๗) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒. วิธีวดผล ั ๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรี ยน/หลังเรี ยน ๒) ตรวจแบบฝึ กหัด ๓) ตรวจใบงาน ๔) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๕) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๖) สังเกตสมรรถนะของผูเ้ รี ยน ๗) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๓. เกณฑ์ การวัดและประเมินผล ๑) สาหรับชัวโมงแรกที่ใช้แบบทดสอบก่อนเรี ยนไม่มีเกณฑ์ผ่าน เก็บคะแนนไว้เปรี ยบเทียบกับคะแนนที่ได้ ่ จากการทดสอบหลังเรี ยน ๒) การประเมินผลจากแบบฝึ กหัด ต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบเกินร้อยละ ๕๐ ๓) การประเมินผลจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่ องความรู้ความเข้าใจ การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐ ๔) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐ ๕) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผานการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุ ง ่ ๖) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของผูเ้ รี ยน คะแนนขึ้นอยูกบการประเมินตามสภาพจริ ง ่ ั ๗) การประเมิ น ผลการสั งเกตคุ ณ ลัก ษณะอัน พึ งประสงค์ข องผูเ้ รี ยน คะแนนขึ้ น อยู่ก ับ การประเมิ น ตามสภาพจริ ง ๗. หลักฐาน/ผลงาน ๑. ผลการทาแบบทดสอบก่อนเรี ยน/หลังเรี ยน และแบบฝึ กหัด ๒. ผลการทาใบงาน ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑-๒ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน ๑. ครู และนักเรี ยนสนทนากันเรื่ องวันต่อต้านยาเสพติดโลก ซึ่ งตรงกับวันที่ ๒๖ มิถุนายน ของทุกปี ถือเป็ น วันต่อต้านยาเสพติดโลก เนื่ องจากปั ญหาสารเสพติดเป็ นปั ญหาสาคัญที่ทุกประเทศทัวโลกประสบอยู่รวมถึงประเทศ ่ ไทย ในอดีตจะพบว่าการแพร่ ระบาดนั้นจะอยู่ที่ประชาชนผูใช้แรงงานและกลุ่มเยาวชน ชุมชนแออัด ผูดอ ยโอกาส ้ ้้ ทางเศรษฐกิจ ๒. นักเรี ยนยกตัวอย่างประเภทยาเสพติดซึ่งแบ่งออกเป็ น ๔ ประเภท ได้แก่
  • 10. ๑๐ ๑) กดประสาท ได้แก่ ฝิ่ น มอร์ฟีน เฮโรอีน ยานอนหลับ ยาระงับประสาท ยากล่อมประสาท ฯลฯ ๒) กระตุนประสาท ได้แก่ ยาบ้า ยาอี กระท่อม โคเคน ้ ๓) หลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี และ เห็ดขี้ควาย ๔) ออกฤทธิ์ ผสมผสาน คื อ ทั้งกระตุ ้น กดและหลอนประสาทร่ ว มกัน ได้แก่ ผูเ้ สพติ ด มัก มี อ าการ หวาดระแวง ความคิดสับสนเห็นภาพลวงตา หูแว่ว ๓. นักเรี ยนทาแบบทดสอบก่อนเรี ยน ในหนังสื อเสริ มฝึ กประสบการณ์ สุ ขศึกษา ๕ ขั้นสอน ๔. ครู ใช้รู ปแบบการเรี ยนแบบ TAI (Team Assisted Individualization) เพื่ อ เน้น การเรี ยนของแต่ ล ะบุ ค คล เนื่องจากมีความสัมพันธ์กบชีวิตความเป็ นอยูของประชาชนโดยทัวไป ดังนี้ ั ่ ่ ๑) สภาพปัญหาการแพร่ ระบาดของสารเสพติด ๒) ความหมายและการจาแนกประเภทของสารเสพติด ๓) ชนิดของสารเสพติดให้โทษที่แพร่ ระบาดในปัจจุบนั ๔) วิธีสังเกตอาการของผูใช้สารเสพติด ้ ๕) สาเหตุของการติดสารเสพติดให้โทษ ๕. นอกจากนี้ครู ยงใช้เทคนิคการสอนแบบการประชุมแบบซินดิเคต (Syndicate) โดยกาหนดหัวข้อดังนี้ ั ๑) สภาพปัญหาการแพร่ ระบาดของสารเสพติด ๒) ความหมายและการจาแนกประเภทของสารเสพติด ๓) ชนิดของสารเสพติดให้โทษที่แพร่ ระบาดในปัจจุบน ั ๔) วิธีสังเกตอาการของผูใช้สารเสพติด ้ ๕) สาเหตุของการติดสารเสพติดให้โทษ
  • 11. ๑๑ ๖. ครู เปิ ดวีดิทศน์ให้นักเรี ยนชมเพื่อให้นกเรี ยนได้ตระหนักถึงพิษร้ายแรงของยาเสพติดที่เป็ นอันตรายต่อชีวิต ั ั เพื่อให้นักเรี ยนหลี กเลี่ยงได้อย่างรู้เท่าทัน และยังเป็ นการสร้างภูมิคุมกันที่ดีในตัวเองได้ตามแนวคิดของเศรษฐกิ จ ้ พอเพียง ๗. ครู อธิบายสาเหตุที่เกิดจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เช่น อยากลอง ความคึกคะนอง หรื อการชักชวนของเพื่อน เป็ นต้น หรื อ มาจากสาเหตุก ารหลอกลวง ซึ่ งปั จ จุบนนี้ มีผข ายสิ นค้าประเภทอาหาร ขนม หรื อ เครื่ อ งดื่ มบางราย ั ู้ ใช้สิ่ งเสพติ ด ผสมลงในสิ น ค้าที่ ข าย เพื่ อ ให้ ผู้ซ้ื อ สิ น ค้า ไปกิ น เกิ ด การติ ด อยากมาซื้ อ ไปกิ น อี ก ซึ่ งในกรณี นี้ ผูซ้ื อ อาหารนั้นมากิ นจะไม่รู้สึ ก ว่าตนเองเกิ ดการติ ดสิ่ งเสพติ ด ขึ้ น แล้ว รู้ แต่ เพี ยงว่าอยากกิ นอาหาร ขนม หรื อ ้ เครื่ องดื่มที่ซ้ื อจากร้านนั้นๆ กว่าจะทราบก็ต่อเมื่อตนเองรู้สึ กผิดสั งเกตต่ อความต้องการจะซื้ ออาหารจากร้ านนั้น มากิน หรื อต่อเมื่อมีอาการเสพติดรุ นแรง และมีสุขภาพเสื่ อมลง หรื อสาเหตุการเจ็บป่ วย เช่น ได้รับบาดเจ็บรุ นแรง วิตกกังวล เครี ยด และการซื้อยามากินเอง เป็ นต้น ๘. นักเรี ยนอ่านบทความ “เยาวชนกับยาเสพติด เพื่ อ ให้ ป ระชาชน พ่ อ แม่ ผูป กครอง ตระหนั ก ถึ งพิ ษภัยและโทษของยาเสพติด และช่วยกัน คุ ้มครอง สร้ า งความรั ก ้ ความอบอุ่นให้กับครอบครั วเพื่อเป็ นการไม่ให้เยาวชนไทยติดยาเสพติด ปั จจุบนมีผติดยาเสพติดเป็ นจานวนมาก โดยเฉพาะ ั ู้ กลุ่มเยาวชนจะติด ยาเสพติ ดมากกว่ากลุ่มคนกลุ่มอื่ น และที่น่ าเป็ นห่ วง กาลังแพร่ ระบาดสู่ เด็ก นัก เรี ย นวัย ๙ ขวบ ๑๐ ขวบ สาเหตุอาจเป็ นเพราะถูกเพื่ อนชักจูงให้ลองเสพ อยากรู ้ อยากลอง ถูกล่อลวง และสาเหตุสาคัญอีกประการหนึ่ ง คือ การขาด ความอบอุ่นในครอบครัว ปั ญหาพ่อแม่หย่าร้างกัน ผูใหญ่ไม่ได้สนใจดูแลหรื อเป็ นที่พ่ ึงของเด็กได้ เด็กเกิ ดความว้าเหว่ไม่รู้จะ ้ ปรึ กษาใคร เลยหันไปหายาเสพติด หรื อเป็ นเป้ าล่อให้กบผูไม่ปรารถนาดีอย่างพอดี ั ้ ปั ญหายาเสพติดเป็ นปั ญหาที่ เป็ น ภัยร้ ายแรงต่อสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต ส่ งผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิ จ บันทอน ่ ความเจริ ญ ของประเทศชาติ หากประเทศใดมี ป ระชาชนติ ด ยาเสพติ ด จานวนมาก ก็ ไ ม่ ส ามารถพัฒ นาประเทศชาติ ให้ เจริ ญรุ่ งเรื อ งได้ ยาเสพติ ด มี มากมายหลายชนิ ด ได้แ ก่ ฝิ่ น เฮโรอี น ทิ น เนอร์ กัญชา ยาบ้า ยาอี สารระเหย กระท่ อ ม และ ยากระตุ ้น ประสาท เป็ นต้น แต่ล ะชนิ ดก่ อ ให้ เกิ ด ผลร้ ายแก่ ร่ างกายทั้ง สิ้ น ท าให้ สุข ภาพทรุ ด โทรมอ่อ นแอ ความจาเสื่ อ ม เสี ยบุคลิกภาพ และปั ญหาสาคัญที่ตามมาอีกประการหนึ่ งก็คือ ผูติดยาเสพติดชนิ ดฉี ดเข้าเส้นมีโอกาสติดเชื้อไวรั สเอดส์ และ ้ แพร่ กระจายไปยังกลุ่มผูติดยาเสพติดด้วยกัน รวมไปถึงคนกลุ่มอื่นๆ ด้วย ้ แม้รัฐบาลจะประกาศสงครามกับ ยาเสพติดก็ตาม ก็ไม่ได้ห มายความว่า การป้ องกัน การปราบปรามยาเสพติ ดจะเป็ น หน้าที่ของรัฐบาลเท่านั้น การแก้ไขปั ญหายาเสพติดเป็ นหน้าที่ของทุกฝ่ ายที่จะต้องร่ วมมือกัน การปราบปรามเป็ นการแก้ปัญหา ที่ปลายเหตุ การป้ องกันยังเป็ น สิ่ งที่สาคัญ โดยการให้การศึกษาและความรู ้ เรื่ องพิษภัยและโทษของยาเสพติด อย่างต่อ เนื่ อ ง แก่ ประชาชน ครู พ่อแม่ ผูปกครอง เด็กและเยาวชน โดยเฉพาะ พ่อ แม่ ผูปกครอง จะต้องเอาใจใส่ ดูแลลูกหลาน ให้ ความรั ก ้ ้ ความอบอุ่นแก่ครอบครัว เป็ นที่พ่ ึงของเด็กได้ เมื่อเด็กมีปัญหาสามารถจะพูดคุย ช่วยกันแก้ปัญหาให้เด็ก ใช้เหตุผลกับเด็ก ไม่ใช้ อารมณ์ เพราะการใช้อารมณ์อาจทาให้เด็กเกิดความน้อยเนื้ อต่าใจ กลุมใจและเตลิดออกจากบ้านไปพึ่งยาเสพติดและเสี ยอนาคต ้ ได้ในที่สุด “เยาวชนคืออนาคตของชาติ อย่าให้ตกเป็ นทาสของยาเสพติด” ๙. นักเรี ยนร้องเพลงเกี่ยวกับยาเสพติด เพื่อสร้างบรรยากาศในห้องเรี ยนให้สนุ กสนานและได้รับความรู้ เช่น เพลง ๑๘ ฝน, เด็กเสเพล, เราและนาย, จุดต่าสุ ด (ป้ าง), คิดผิดใช่ไหม (โน้ต -ตูน), เพื่อนกัน (บางแก้ว), ครึ่ งหนึ่งของ
  • 12. ๑๒ ชีวิต (แอม) เป็ นต้น และให้นกเรี ยนหาบทเพลงที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติ ดมาคนละ ๑ เพลง (ไม่ซ้ ากัน) แล้วนามาร้อง ั หน้าชั้นเรี ยนและสรุ ปสาระสาคัญของเพลงที่ได้รับประโยชน์ ๑๐. นักเรี ยนทาใบงานที่ ๑๐.๑, ๑๐.๒ และ ๑๐.๓ ขั้นสรุ ปและประยุกต์ ๑๑. ครู และนักเรี ยนสรุ ปโดยครู เปิ ดวีดิโอ “น้ำตำแม่ ” ให้นกเรี ยนดูและฟัง เพื่อให้นกเรี ยนรู้จกคิดและวิเคราะห์ ั ั ั ถึงผลของการติดยาเสพติด ๑๒. ครู แนะนาให้นักเรี ยนรู้จกการสร้างภูมิคุมกันที่ดีในตัวเอง เพื่อป้ องกันการติดสารเสพติดทุกชนิด ซึ่ งในโลกนี้ ั ้ มีส่ิ งที่งดงามสนุกสนานอีกมากที่สามารถกระทาได้ โดยไม่ก่อให้เกิดการบันทอนสุ ขภาพร่ างกาย และจิตใจ ทุกคน ่ ก็ทราบดีอยู่แล้วถึงพิษภัยของยาเสพติด แล้วทาไมเพื่อนรักของนักเรี ยนมาชวนนักเรี ยนเสพยาเสพติด เพื่อนหวังดี กับเราจริ งหรื อ เพื่อนมีอะไรซ่อนเร้นอยูในใจหรื อเปล่า เพื่อนเป็ นตัวอย่างที่ดีที่นักเรี ยนควรทาตามหรื อไม่ เพื่อนอยู่ ่ ในวงจรอุบาทว์ที่นักเรี ยนควรคิดช่วยเขา แทนที่เพื่อนจะมาชวนเราเสพ แล้วฉุดนักเรี ยนเข้าไปอยูในวงจรอุบาทว์น้ นด้วย ่ ั เป็ นการถูกต้องหรื อไม่ การเล่นกีฬา เล่นดนตรี ร้องราทาเพลง เที่ยวเตร่ เพื่อความสนุ กสนาน วาดรู ป เล่นเกมต่างๆ ท่องเที่ยวไปในโลกของอิ นเทอร์ เน็ ตในคอมพิวเตอร์ และกิ จกรรมอี ก มากมายที่จ ะนาความสุ ข มาสู่ ตัว นัก เรี น น นักเรี ยนต้องรักตัวเอง ต้องไม่ทาให้คุณพ่อคุณแม่หรื อผูปกครองของนักเรี ยนเสี ยใจ โปรดเชื่อเถิดว่า เสพยาเสพติด ้ ไม่ น านเกิ น ๑ ปี ร่ างกายของนัก เรี ย นจะตกอยู่ในสภาพที่ ย่าแย่ การบ าบัด รั ก ษาให้ เ ลิ ก ยาเสพติ ด เป็ นไปด้ว ย ความยากลาบาก ถ้านักเรี ยนอยูในภาวะที่เศร้าโศกเสี ยใจและยังแก้ปัญหาในขณะนี้ไม่ได้ ยาเสพติดไม่ใช่วิธีแก้ปัญหา ่ ของนักเรี ยนอย่างแน่นอน ขอให้คิดให้ดีและขอให้แก้ปัญหาให้ได้ ๑๓. ครู แนะนาให้นกเรี ยนคานึ งถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว ได้แก่ การลดความเห็นแก่ตว ั ั และเสี ยสละแรงกายและใจเพื่อทาประโยชน์ให้แก่ส่วนรวม ช่วยกันดูแลรักษาทรัพย์สินที่เป็ นสาธารณสมบัติ เช่น ตูโทรศัพท์สาธารณะ ห้องสมุดประจาหมู่บาน เป็ นต้น ช่วยกันอนุ รักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น ป่ าไม้ แม่น้ าลาธาร เป็ นต้น ้ ้ รวมทั้งช่วยกันตักเตือนหรื อห้ามปรามบุคคลไม่ให้ทาลายสาธารณสมบัติ หรื อสิ่ งแวดล้อม ชั่วโมงที่ ๓-๔ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน ๑๔ ครู และนักเรี ยนพูดถึงสารเสพติดมีพิษภัยทั้งต่อตัวบุคคลและในสังคม ซึ่งจาแนกได้ดงนี้ ั ๑) ต่อผูเ้ สพ ทาให้สุขภาพทรุ ดโทรมทั้งทางร่ างกายและทางจิตใจ เกิดโรคต่างๆ เช่น โรคตับ โรคหัวใจ โรคเอดส์ โรคหวัด โรคประสาท เป็ นต้น ๒) ต่อครอบครัว ก่อให้เกิดความเดือดร้อน สูญเสี ยรายได้ เกิดความไม่สงบสุ ขภายในครอบครัว ๓) ต่อสังคม ก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรรม ๔) ต่อประเทศชาติ ทาให้สูญเสี ยเศรษฐกิจจานวนมหาศาล และบ่อนทาลายความมันคงของประเทศชาติ ่
  • 13. ๑๓ ๑๕. ครู และนักเรี ยนสนทนากันเรื่ องหลักเศรษฐกิจพอเพียง และครู อภิปรายถึง การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้ ๑) พิ จ ารณาจากความสามารถในการพึ่ งตนเองเป็ นหลัก ที่ เ น้น ความสมดุ ล ทั้ง ๓ คุ ณ ลัก ษณะ คื อ พอประมาณ มี เหตุ มี ผ ล และมี ภู มิ คุ้ม กัน มาประกอบการตัด สิ น ใจในเรื่ อ งต่ างๆ เป็ นขั้น เป็ นตอน รอบคอบ ระมัดระวัง พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะพอควร และพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงที่มีองค์ประกอบครอบคลุมทั้ง ๕ ประการ คือ (๑) ด้านจิ ตใจ มีจิตใจเข้มแข็ง ฝึ กตนเองได้ มีจิ ตส านึ ก ที่ ดี เอื้ อ อาทร ประนี ประนอม และนึ ก ถึ ง ประโยชน์ส่วนรวมเป็ นหลัก (๒) ด้านสังคม มีความช่วยเหลือเกื้อกูลกัน รู้รักสามัคคี สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน รู้จกผนึกกาลัง มีกระบวนการเรี ยนรู้ที่เกิดจากรากฐานที่มนคงแข็งแรง ั ั่ (๓) ด้า นเศรษฐกิ จ ด ารงชี วิ ต อยู่อ ย่างพอดี พอมี พอกิ น สมควรตามอัตภาพ และฐานะของตน ประกอบอาชีพสุ จริ ต (สัมมาอาชีวะ) ด้วยความขยันหมันเพียร อดทน ใช้ชีวิตเรี ยบง่ายโดยไม่เบียดเบียนตนเองและ ่ ผูอื่น มีรายได้สมดุ ลกับรายจ่ าย รู้จก การใช้จ่ายของตนเองและครอบครัวอย่างมีเหตุผลเท่าที่จาเป็ น ประหยัด รู้จ ัก ้ ั การเก็บออมเงินและแบ่งปันผูอื่น้ (๔) ด้านเทคโนโลยี รู้จกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการและภูมินิเวศ พัฒนา ั เทคโนโลยีจากภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม (๕) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อ ม รู้จ ักใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ สามารถ เลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยูให้เกิดความยังยืนสูงสุ ด ่ ่ ๒) พิจ ารณาความรู้คู่ คุ ณ ธรรม มีก ารศึก ษาเรี ยนรู้และพัฒ นาตนเองอย่างต่ อ เนื่ อ ง (ทั้งภาคทฤษฎี แ ละ การปฏิ บติ จริ ง) ในวิชาการต่ างๆ ที่ เกี่ ย วข้อ งกับ การดารงชี วิต ใช้ส ติ ปัญ ญาในการตัดสิ น ใจต่ างๆ อย่างรอบรู้ ั รอบคอบ และมีเหตุผลที่จะนาความรู้ต่างๆ เหล่านั้นมาปรับใช้อย่างมีข้ นตอน และระมัดระวังในการปฏิบติ มีความ ั ั ตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริ ต มีความเพียร ความอดทน และใช้สติปัญญาอย่างชาญฉลาดในการดาเนิ น ชีวิตในทางสายกลาง ขั้นสอน ๑๖. ครู ผสอนใช้เทคนิ คโดยการระดมความคิด (Brain Storming) มีลกษณะพิเศษเป็ นการอบรมแบบกระตุนให้ ู้ ั ้ ทุกคนได้ใช้สมอง ได้แสดงความคิดเห็ นโดยมิตองคานึงถึงการเสนอของตนจะถูกต้องหรื อใช้ได้หรื อไม่ เมื่อสมาชิก ้ ทุกคนได้แสดงความคิดเห็นแล้ว จึงพิจารณาข้อเสนอแนะที่เหมาะสมที่ส่วนใหญ่เห็นด้วย หัวข้อที่นาเสนอได้แก่  โทษและพิษภัยของสารเสพติด  การป้ องกันสารเสพติด  การบาบัดรักษาและการฟื้ นฟูสมรรถภาพผูติดสารเสพติด ้  บทบาทหน้าที่ที่พึงปฏิบติต่อสังคม ั ๑๗. นักเรี ยนทาใบงานที่ ๑๐.๔, ๑๐.๕, ๑๐.๖ และ ๑๐.๗
  • 14. ๑๔ ขั้นสรุ ปและประยุกต์ ๑๘. ครู และนักเรี ยนสรุ ปโทษและพิษภัยของสารเสพติด การป้ องกันสารเสพติด การบาบัดรักษาและการฟื้ นฟู สมรรถภาพผูติดสารเสพติด และบทบาทหน้าที่ที่พึงปฏิบติต่อสังคม ้ ั ๑๙. ครู เน้นสอนให้นักเรี ยนมี วินัย เช่น ฝึ กกาย วาจาและใจ ให้ควบคุมพฤติกรรมของตนเองให้อยู่ในระเบียบ แบบแผนที่ดีงาม เพื่อให้การทางานและอยูร่วมกันของกลุ่มในสังคมนั้นเป็ นไปด้วยความเรี ยบร้อย ่ ๒๐. ครู ปลูกฝังให้นกเรี ยนนาคุณธรรมที่ทุกคนควรจะศึกษาและน้อมนามาปฏิบติ ๔ ประการ คือ ั ั ๑) รักษาความสัตย์ ความจริ งใจต่อตัวเองที่จะประพฤติปฏิบติแต่สิ่งที่เป็ นประโยชน์และเป็ นธรรม ั ๒) รู้จกข่มใจตนเอง ฝึ กใจตนเองให้ประพฤติปฏิบติอยูในสัจจะความดีน้ น ั ั ่ ั ๓) ความอดทน อดกลั้น และอดออมที่จะไม่ประพฤติล่วงความสัตย์สุจริ ต ไม่ว่าด้วยเหตุประการใด ๔) รู้จกละวางความชัว ความทุจริ ตและสละประโยชน์ส่วนน้อยของตนเพื่อประโยชน์ส่วนรวม ถ้าแต่ละคน ั ่ พยายามปลูกฝังและบารุ งให้เจริ ญงอกงามขึ้นโดยทัวกันแล้ว จะช่วยให้ประเทศชาติบงเกิดความสุ ข ความร่ มเย็น และ ่ ั มีโอกาสที่จะปรับปรุ งพัฒนาให้มนคง ก้าวหน้าต่อไปได้ดงประสงค์ ั่ ั ๒๑. นักเรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยน ๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสื อเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษา ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕ ของบริ ษท สานักพิมพ์เอมพันธ์ จากัด ั ๒. หนังสื อเสริ มฝึ กประสบการณ์ สุ ขศึกษา ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕ ของบริ ษท สานักพิมพ์เอมพันธ์ จากัด ั ๓. วีดิทศน์ แผ่นใส และรู ปภาพประกอบ ั ๔. ข่าวสาร สื่ อสิ่ งพิมพ์ ๑๐. การบูรณาการ ๑. การบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียน ทักษะการพูด ทักษะการฟัง และ ทักษะการอ่าน ๒. การบูรณาการกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓. คุณธรรม จริ ยธรรม และศีลธรรม ๔. หน้าที่พลเมืองดี
  • 15. ๑๕ ใบงาน: กิจกรรมบูรณาการ ยาเสพติด กับประชาคมอาเซียน วิชา สุ ขศึกษา ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕ หน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๑๐ เรื่อง อย่ าไปหาสารเสพติด เวลา ๔ ชั่วโมง จงตอบคาถามต่อไปนีให้ ถูกต้อง ้ 1. ประชาคมอาเซียนคืออะไร ตามความเข้ าใจของนักเรียน (โปรดแสดงมุมมอง / ทัศนคติ) ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................. ........................................... ........................................................................................................................................................................................ 2. นักเรียนคิดอย่างไรกับ การเปิ ดประชาคมอาเซียนในปี 2558 (โปรดแสดงมุมมอง / ทัศนคติ) ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................. ........................................... 3. นักเรียนจะมีส่วนช่ วยการรณรงค์ต่อต้านยาเสพติดในชุมชน ประเทศชาติ และสังคมอย่างไร ในฐานะทีเ่ ราเป็ น หนึ่งในประชาคมอาเซียน (โปรดแสดงมุมมอง / ทัศนคติ) ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................. ........................................... ........................................................................................................................................................................................ 4. จงระบุหน่ วยงานทีดูแลรับผิดชอบด้ านการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของประเทศไทย มาอย่างน้ อย 5 ่ ้ สถานที่ (หรือมากกว่านั้น) ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................. ........................................... ........................................................................................................................................................................................
  • 16. ๑๖ ใบงาน: กิจกรรมบูรณาการ ยาเสพติด กับประชาคมอาเซียน วิชา สุ ขศึกษา ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕ หน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๑๐ เรื่อง อย่ าไปหาสารเสพติด เวลา ๔ ชั่วโมง จงวาดแผนผังความคิดตามหัวข้ อดังต่อไปนี้ ประชาคมอาเซียน เกียวข้ องกับการปองกันยาเสพติดอย่างไร ? ่ ้
  • 17. ๑๗ แบบทดสอบก่ อนเรียน/หลังเรียนหน่ วยที่ ๑๐ คาชี้แจง จงเขียนเครื่ องหมาย  ทับข้อที่นกเรี ยนคิดว่าถูกต้องที่สุด ั ๑. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับคาจากัดความของสารเสพติด ก. สุ ขภาพร่ างกายทรุ ดโทรมลง ข. เกิดอาการถอนยาเมื่อหยุดหรื อเลิกใช้สารเหล่านั้น ค. สารที่เข้าสู่ร่างกายแล้วมีความต้องการเพิ่มขึ้นทั้งขนาดและปริ มาณ ง. สารที่เข้าสู่ ร่างกายด้วยวิธีการสูบและฉีดเท่านั้น แล้วก่อให้เกิดโทษแก่ร่างกาย ๒. สารเสพติดในข้อใดมีสรรพคุณทางการแพทย์สามารถรักษาโรคได้ ก. มอร์ฟีน ข. กัญชา ค. ยาบ้า ง. กระท่อม ๓. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับผลเสี ยที่เกิดจากสารเสพติดที่มีผลต่อครอบครัว ก. ไม่สามารถเรี ยนหรื อทางานได้ เพราะต้องใช้เวลาในการบาบัด ข. เสี ยค่าใช้จ่ายเป็ นจานวนมาก ต้องนารายจ่ายด้านอื่นๆ มาใช้ในการรักษา ค. ร่ างกายและจิตใจเสื่ อมโทรม ง. สูญเสี ยทรัพยากรมนุษย์ในการพัฒนาประเทศ ๔. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับปัจจัยและพฤติกรรมที่เสี่ ยงต่อการติดสารเสพติด ก. ครู กุ๊กใช้ยาเสพติดประเภทที่ ๔ เพื่อบรรเทาอาการป่ วยหลังผ่าตัดกระดูก ข. ไอด้าใช้ยาบาร์บิทุเรตเพื่อระงับอาการวิกลจริ ต ค. ไอริ ณอยากรู้อยากเห็นเลยเข้าไปทดลองสารเสพติด ง. ครอบครัวของแดนเทพยากจนจึงได้หันเหจากนักแสดงมาเป็ นผูคาสารเสพติด ้้ ๕. เพราะเหตุใดสารเสพติดจึงมีอนตรายมากโดยเฉพาะผูเ้ สพที่เป็ นผูหญิง ั ้ ก. เพราะผูหญิงมีจิตใจที่ไม่หนักแน่นจึงทาให้เลิกสารเสพติดได้ยาก ้ ข. เพราะร่ างกายของผูหญิงอ่อนแอกว่าผูชาย ทาให้ร่างกายเสื่ อมโทรมเร็ วกว่าปกติ ้ ้ ค. เพราะผูหญิงที่ใช้สารเสพติดเพื่อความบันเทิงจะมีผลทาให้ตกเลือดในบริ เวณช่องคลอด ้ ง. เพราะการเสพสารเสพติดบางชนิดจะทาให้คุมสติไม่อยู่ เสี่ ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์ ๖. เพราะเหตุใดผูติดสารเสพติดจึงมักก่ออาชญากรรม ้ ก. ประชดตัวเอง ข. ถูกชักชวนจากคนอื่น ค. ต้องการเงินไปซื้อยา ง. ไม่พอใจสิ่ งแวดล้อมของตนเอง ๗. วันต่อต้านสารเสพติดของประเทศไทย ตรงกับวันที่เท่าใด ก. ๒๖ มิถุนายน ของทุกปี ข. ๔ กันยายน ของทุกปี ค. ๒๐ พฤศจิกายน ของทุกปี ง. ๑ ธันวาคม ของทุกปี
  • 18. ๑๘ ๘. ข้อใดเป็ นการคิดที่เสี่ ยงต่อภาวะการติดสารเสพติด ก. อยากรู้อยากลองเป็ นผูกล้า้ ข. ไม่ทดลองของมึนเมาทุกชนิด ค. ไม่คบเพื่อนแปลกหน้าที่ไม่ดี ง. มองเห็นคุณค่าในตนเองว่ามีดีเสมอ ใช้ สถานการณ์ต่อไปนี้ ตอบคาถามข้ อ ๙.–๑๐. ครอบครัวของพีระย้ายไปอยูในแถบชานเมืองได้ ๓ อาทิตย์ เขาได้รู้จกกับฤทธิ พงศ์ เพื่อนวัยเดียวกันและ ่ ั ได้กลายเป็ นเพื่อนเล่นและเพื่อนสนิทกัน วันหนึ่งพีระได้รู้ในภายหลังว่าฤทธิพงศ์เคยติดสารเสพติดมาก่อน ๙. การกระทาใดของพีระไม่ถูกต้อง และไม่สมควรต่อฤทธิพงศ์ ก. เลิกคบ เพราะเคยติดสารเสพติดมาก่อน ข. ยังสนิทและเป็ นเพื่อนเล่นกับฤทธิพงศ์เหมือนเดิม ค. แนะนากิจกรรมยามว่างและมีประโยชน์ให้แก่ฤทธิพงศ์ ง. ให้กาลังใจและเข้าใจฤทธิ พงศ์ เพราะเขาอาจเป็ นเหยือของสังคม ่ ๑๐. หากนัก เรี ยนเป็ นผูปกครองของพีระ ค าพูดใดของผูปกครองเหมาะสมที่สุ ดในการให้กาลังใจต่ อ ผูที่ก ลับใจ ้ ้ ้ เลิกสารเสพติด ก. แม่ว่าลูกตัดสิ นเองดีกว่านะ ว่าจะคบต่อไปหรื อเปล่า ข. แม่ขอออกคาสั่งกับลูกเลยนะ ว่าต้องเลิกยุงกับเขาเดี๋ยวนี้ ่ ค. แม่ว่าห่ างจากเขาเถอะลูก เขาอาจกลับไปติดใหม่ก็ได้ ง. ไม่เป็ นไรหรอกลูก มันคืออดีต ปัจจุบนเขาเป็ นคนดีหรื อเปล่าล่ะ ั ๑๑. เหตุการณ์ใดต่อไปนี้ ไม่จัดเป็ นผลร้ายของสารเสพติดที่ส่งผลกระทบต่อตัวเรา ก. จับนักร้องคาเฟ่ พร้อมสารเสพติด ข. พบสารเสพติดรู ปแบบใหม่หลอกลวงเยาวชน ค. ตารวจจับคนขับรถรับส่ งนักเรี ยนเสพยาบ้า ง. จับรุ่ นพี่ที่รับน้องด้วยการให้ทดลองสารเสพติด ๑๒. ข้อใดไม่ใช่ โทษที่เกิดจากการเสพสารเสพติด ก. โดนคนเสพยารี ดไถเงิน ข. ขาดบุคลากรในการพัฒนาประเทศ ค. มีอาชญากรรมเพิ่มขึ้น ง. พิการและอัมพาต ๑๓. ข้อใดเป็ นสาเหตุที่สาคัญของสิ่ งแวดล้อมทางสังคมที่ทาให้เกิดการใช้ยาและสารเสพติด ก. ชอบทดลองสิ่ งแปลกใหม่ ข. การถูกบุคคลอื่นชักชวน ค. มีความเชื่อในการใช้ยาในทางที่ผด ิ ง. ใกล้ชิดกับแหล่งที่มีการค้าสารเสพติด ๑๔. ข้อใดคือการป้ องกันตนเองจากสารเสพติดที่สาคัญทีสุด ่ ก. ไม่หลงคาชวนเชื่อ ข. ไม่ทานยาโดยไม่ปรึ กษาแพทย์ ค. ไม่ทดลองเสพยาทุกชนิด ง. ทากิจกรรมตามเพื่อน
  • 19. ๑๙ ๑๕. บุคคลในข้อใดต่อไปนี้ ที่ตองช่วยกันป้ องกันสารเสพติด ้ ก. พ่อแม่พี่นอง ้ ข. เพื่อน ครู อาจารย์ ค. ตัวเราเอง ง. ถูกทุกข้อ ๑๖. ข้อใดไม่ใช่ การป้ องกันสารเสพติดที่ถูกต้อง ก. การดูแลร่ างกายไม่ให้เจ็บป่ วย และมองโลกในแง่ดี ข. ทางานอดิเรกต่างๆ เช่น สะสมสิ่ งของ ดูภาพยนตร์ ค. คอยดาเนินชีวิตและใช้กิจวัตรประจาวันอยูกบเพื่อน ่ ั ง. ปฏิบติตามกฎระเบียบของครอบครัวและสังคมอย่างเคร่ งครัด ั ๑๗. แนวทางในการป้ องกันสารเสพติดในข้อ ใดที่จะช่วยเสริ มสร้างให้คนในชุมชนได้รับรู้และตระหนักถึงอันตราย เกี่ยวกับสารเสพติด ก. วิชุดา กินยาภายใต้การดูแลของแพทย์และเภสัชกร ข. เอกชัย ชวนเพื่อนในห้องมาร่ วมเดินรณรงค์เพื่อให้เข้าใจถึงอันตรายของสารเสพติด ค. อรพินไม่หลงคาเชิญชวนให้ทดลองยาทุกชนิด ง. พุธิพร ยึดมันในหลักศาสนา ่ ๑๘. ข้อใดต่อไปนี้เป็ นวิธีการป้ องกันสารเสพติดโดยให้กฎหมายเข้ามามีส่วนร่ วม ก. ให้กาลังใจและหาวิธีแก้ไขผูที่ติดสารเสพติด ้ ข. จัดการประชุมเพื่อปราบปรามหมู่บานที่เป็ นแหล่งผลิตสารเสพติด ้ ค. ปฏิบติตามบทบาทของตนเองให้ดีที่สุด ั ง. บอกบุคคลในครอบครัวให้ตระหนักถึงอันตรายของสารเสพติด ๑๙. การศึกษาสามารถเข้ามามีส่วนร่ วมในการป้ องกันการระบาดของสารเสพติด ยกเว้นในข้อใด ก. จัดการศึกษาแบบบูรณาการในทุกรายวิชาเพื่อให้รู้ถึงผลกระทบของสารเสพติด ข. จัดหน่วยงานในโรงเรี ยนเพื่อสอดส่ องดูแลนักเรี ยนที่ใช้สารเสพติด ค. จัดกิจกรรมเสริ มหลักสูตรเพื่อป้ องกันการเสี่ ยงต่อการติดสารเสพติดของเด็กวัยรุ่ น ง. ใช้กฎหมายเพื่อลงโทษสถานหนักกับนักเรี ยนที่ติดสารเสพติด ๒๐. “มาตรการแทรกแซง หรื อสอดแทรก เป็ นการจัดกิจกรรมที่ดาเนิ นการกับผูท่เี ริ่ มมีปัญหาการใช้สารเสพติด เช่น ้ เริ่ มทดลองใช้สารเสพติด” จัดว่าเป็ นการใช้มาตรการใดมาร่ วมแก้ไขปัญหาสารเสพติด ก. มาตรการทางสังคม ข. มาตรการทางกฎหมาย ค. มาตรการทางการศึกษา ง. มาตรการทางสิ่ งแวดล้อม เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียนหน่ วยที่ ๑๐ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ง. ก. ข. ก. ง. ค. ก. ก. ก. ง. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. ๑๖. ๑๗. ๑๘. ๑๙. ๒๐. ก. ง. ง. ค. ง. ค. ข. ข. ง. ก.
  • 20. ๒๐ บันทึกหลังการสอน ๑. ผลการสอน …………………………….…………………………………………………………………………….………. …………………………….…………………………………………………………………………….………. …………………………….…………………………………………………………………………….………. …………………………….…………………………………………………………………………….………. …………………………….…………………………………………………………………………….………. …………………………….…………………………………………………………………………….………. ๒. ปัญหา/อุปสรรค …………………………….…………………………………………………………………………….………. …………………………….…………………………………………………………………………….………. …………………………….…………………………………………………………………………….………. …………………………….…………………………………………………………………………….………. …………………………….…………………………………………………………………………….………. …………………………….…………………………………………………………………………….………. ๓. ข้ อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข …………………………….…………………………………………………………………………….………. …………………………….…………………………………………………………………………….………. …………………………….…………………………………………………………………………….………. …………………………….…………………………………………………………………………….………. …………………………….…………………………………………………………………………….………. …………………………….…………………………………………………………………………….………. ลงชื่อ...............................................ครู ผสอน ู้ (..............................................) วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............ ๔. ข้ อเสนอแนะของหัวหน้ าสถานศึกษาหรือผู้ทได้ รับมอบหมาย ี่ …………………………….…………………………………………………………………………….………. …………………………….…………………………………………………………………………….………. …………………………….…………………………………………………………………………….………. …………………………….…………………………………………………………………………….………. …………………………….…………………………………………………………………………….………. …………………………….…………………………………………………………………………….………. ลงชื่อ............................................................... (.............................................................)