SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  3
อาหารกับยา
อาหารที่เรากินกับยาจะมีผลต่อการดูดซึมของยาจากกระแสโลหิตเข้าสู่ร่างกายมีข้อควร
รู้คือ
1.ผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว เช่น ส้ม มะนาว มะยม สับปะรด ห้ามกินพร้อมยาปฏิชีวนะที่กินก่อน
อาหาร เพราะผลไม้เหล่านี้มฤทธิ์เป็นกรดจะไปทำาลายฤทธิ์ของยาทำาให้การรักษาไม่ได้
                               ี
ผลเท่าที่ควร
2. นม ห้ามกินพร้อมกับยาเตตร้าซัยคลิน เพราะยาจะไปจับกับแคลเซียมในนมเกิดเป็น
สารประกอบเชิงซ้อนขนาดใหญ่ ทำาให้การดูดซึมเข้ากระแสโลหิตน้อยลง
3. อาหารพวกไขมัน พบว่าจะไปเพิ่มการละลาย และการดูดซึมของยาบางชนิดเพราะจะ
ไปกระตุ้นให้นำ้าดีหลั่งออกมา
4. เครื่องดื่มบำารุงกำาลัง เช่น ลิโพ กระทิงแดง มีส่วนประกอบของคาเฟอีนผสมอยู่ ห้าม
กินพร้อมยาแก้หวัด หอบหืด เพราะจะไปเพิ่มอาการใจสั่นมากยิ่งขึ้น
http://www.si.mahidol.ac.th/km/webboard/wbdetail.asp?room=0&wq_id=238

เครื่องดื่มต่าง ๆ มีผลต่อยาหรือไม่ ?
ปกติในเหล้า เบียร์ หรือไวน์ จะมีแอลกอฮอล์เป็น ส่วนผสม ตัวแอลกอฮอล์จะมีฤทธิ์กด
ประสาท เช่นเดียวกับ ยาแก้แพ้ ยานอนหลับ ยาคลายกังวล ยาต้านความซึมเศร้า จะไป
กดประสาททำาให้ง่วงนอน หากกินยาพร้อมแอลกอฮอล์จะทำาให้มีผลข้างเคียงมากขึ้น มี
อาการง่วงนอน ง่วงซึม ขาดสมาธิ และถ้ากินแอลกอฮอล์ปริมาณมาก ๆ อาจจะรุนแรงถึง
ขั้นมีผลต่อระบบการหายใจ
และแอลกอฮอล์ยังมีผลต่อตับ จะทำาให้ตับทำางาน หนักมากขึ้น ถ้าดื่มแอลกอฮอล์พร้อม
กับยาพาราเซตามอล ซึงมีผลต่อตับเช่นกัน จะทำาให้เสี่ยงต่อตับวายเฉียบพลันได้ แล้ว
                         ่
แอลกอฮอล์ยังเป็นตัวทำาละลายที่ดี ถ้าดื่มแอลกอฮอล์พร้อมกับยาจะทำาให้ดูดซึมได้ดี
ขึ้น ทำาให้ยาที่กินเข้าไปมีสารเกินกว่าปกติ อาจจะเกิดผลข้างเคียงจากยาได้
หากจะเลียงโดยกินยาตอนเช้าแล้วไปดื่มแอลกอฮอล์ ตอนกลางคืนจะได้หรือเปล่า ?
           ่
ก็มีผลข้างเคียงเช่นกัน เพราะแอลกอฮอล์เมื่อเข้าไปในร่างกาย ฤทธิ์ของมันจะอยู่ใน
ร่างกายเป็นระยะเวลานาน จะไปอยู่ที่ตับ ตับยังทำางานเพื่อขจัดมันอยู่ อาจมีผลข้างเคียง
และทำาให้ตับวายได้
แล้วกินยาพร้อมนม นำำาแร่ นำำาผลไม้ได้หรือเปล่า ?
นำ้าทั้ง 3 ชนิดจะมีแร่ธาตุบางตัวที่จะไปทำาให้เกิดสารประกอบเชิงซ้อนกับยา ยาอาจดูด
ซึมได้ยากขึ้นและ ไม่ออกฤทธิ์ ทำาให้มประสิทธิภาพน้อยลง เช่น กลุ่มยาฆ่าเชื้อเตรต้า
                                        ี
ไซคลิน ด็อกซี่ไซคลิน หรือ ซิโปรฟล็อกซาซิน รวมทั้งยารักษาโรคกระดูกพรุนใน กลุ่ม
บิสฟอสฟอเนต
หากกินยาพร้อมชา กาแฟ และเครื่องดื่มชูกำาลังล่ะจะเป็นอะไรหรือไม่ ?
ชา กาแฟ และเครื่องดื่มชูกำาลังจะมีกาเฟอีนเป็นส่วนประกอบ ซึ่งจะมีฤทธิ์กระตุ้น
ประสาท ทำาให้ตื่นตัว สดชื่น กระปรี้กระเปร่า ถ้าไปดื่มพร้อมกับกินยากลุ่มลดนำ้ามูกจะยิ่ง
มีอาการใจสั่นมากขึ้น
ยาบางตัวจะมีปฏิกิริยาระหว่างกาเฟอีนกับยา เช่น ยาฆ่าเชื้อซิโปรฟล็อกซาซิน หรือยา
ลดกรดไซมีทีดีนจะทำาให้กาเฟอีนอยูในร่างกายได้นานขึ้น
                                      ่
สรุปแล้วควรกินยาพร้อมนำำาเปล่าดีที่สุด นอกจากจะช่วยละลายยาแล้วยังช่วยลด
อาการข้างเคียงที่เกิดจากยาได้ เช่น กัดกระเพาะอาหารหรือเกิดระคายเคือง
กระเพาะอาหาร
อาการแพ้ยา แต่จริง ๆ แล้วการแพ้ยาหมายถึงเป็นอาการที่รนแรง เช่น หลอดลมตีบ
                                                         ุ
หายใจไม่ออก มีผื่นขึ้น มีลมพิษรุนแรง ปากบวม เยื่อบุตาบวม
ส่วนอาการข้างเคียงของยา ส่วนใหญ่จะรู้อยู่แล้วว่าจะเกิดขึ้นจากการใช้ยาแต่ละตัว เกิด
จากฤทธิ์ของตัวยาเองทีทำาให้เกิดผลข้างเคียง เช่น กินยาฆ่าเชื้ออะม็อกซี่ซิลลินแล้ว
                          ่
เกิดการคลื่นไส้ พะอืดพะอม ซึ่งไม่รนแรง และสามารถแก้ไขอาการในเบื้องต้นได้
                                     ุ
หากเมื่อกินยาแล้วมีอาการท้องเสีย ควรงดอาหาร ทีมีรสจัด งดกาแฟ งดนม ในช่วงที่มี
                                                  ่
อาการท้องเสีย ถ้ากินยาฆ่าเชื้อแล้วท้องเสียให้กินพวกโยเกิร์ต ซึ่งจะมีจลินทรียที่ดีไป
                                                                     ุ        ์
เสริมลำาไส้ ทดแทนแบคทีเรียที่เสียไปกับการท้องเสีย
ฟังแล้วคงจะเข้าใจเรื่องของการกินยาให้ได้ยากันมากขึ้น
http://www.healthcorners.com/new_read_article.php?
category=generalhealth&id=3539
ยากับนำ้าผลไม้ อันตรายกว่าที่คิด
เวลาที่ไม่สบายเราก็ต้องทานยาเพื่อจะได้หายป่วยไวๆ แต่บางทีถาหากว่าเป็นโรคบาง
                                                               ้
โรคแล้วทานยาแล้วเผลอตามด้วยการดื่มนำ้าผลไม้เข้า นั่นอาจจะก่อให้เกิดผลข้างเคียง
ที่อันตราย ซึ่งคงไม่เป็นที่ปรารถนาอยากจะได้มาอย่างแน่นอน
คณะวิจัยจากมหาวิทยาลัยแห่งรัฐแคลิฟอร์เนีย ทีซานฟรานซิสโก ได้เปิดเผยผลการ
                                                ่
วิจัยซึงบ่งว่านำ้าผลไม้ส่งผลกระทบต่อระบบการทำางานของร่างกาย ที่จะทำาให้
       ่
ประสิทธิภาพในการรักษาของยาหมดไป เพราะก่อนที่ยานั้นจะซึมเข้าสู่กระแสเลือด นำ้า
ผลไม้จะต่อต้านการดูดซึมของยาที่ใช้ในการรักษาโรคมะเร็ง ความดันโลหิตสูง หัวใจล้ม
เหลว และโรคภูมิแพ้ต่างๆ รวมไปถึงยาที่ใช้กับผู้ป่วยทีทำาการปลูกถ่ายอวัยวะใหม่
                                                     ่
ผลการวิจัยที่ได้รับการเปิดเผยก่อนหน้านี้ บ่งบอกถึงอันตรายของนำ้าผลไม้ในแง่ที่ส่งผล
ต่อการรับประทานยาเช่นกัน เพราะฤทธิ์ในการทำาลายเอนไซม์ในร่างกาย ทีทำาหน้าที่
                                                                         ่
สกัดกั้นไม่ให้ยาเข้าสู่กระแสเลือดมากเกินไป เมื่อเอนไซม์ชนิดนี้ลดลง ทำาให้ตัวยาบาง
ชนิดรวมถึงยาที่ใช้ในการรักษา โรคความดันโลหิตและแอนติฮิสตามีน
(Antihistamines) มีฤทธิ์ในการรักษารุนแรงขึ้น เพราะในบางกรณีทร่างกายได้รับตัวยา
                                                                 ี่
มากเกินขนาด จะเป็นผลเสียต่อการรักษาและร่างกายผู้ปวย    ่
ทางที่ดีควรหลีกเลี่ยงการทานยาพร้อมนำ้าผลไม้ทุกชนิด และเลือกรับประทานกับนำ้า
เปล่าดีที่สุด
http://www.bloggang.com/mainblog.php?
id=iamlady&month=02-10-2010&group=10&gblog=139
ข้อแนะนำาสำาหรับผู้ทานยาปฏิชีวนะ
    1. ยาปฏิชีวนะไม่ใช่ยาลดไข้ หรือแก้ไข้ ต้องให้แพทย์เท่านันเป็นผู้สั่ง ถ้ามีการทาน
                                                            ้
ยาปฏิชีวนะอื่นอยู่ ให้แจ้งแพทย์ที่กำาลังตรวจรักษาทราบด้วย
    2. ควรรับประทานเวลาท้องว่าง คือก่อนอาหาร 1 ชั่วโมงหรือหลังอาหาร 2 ชั่วโมง
เพราะยาชนิดนี้ถูกสลายได้ง่ายด้วยกรดในกระเพาะอาหาร
3. ไม่ควรรับประทานร่วมกับนำ้าผลไม้ เพราะมีฤทธิ์เป็นกรด การใช้ยากลุ่มนี้อาจเกิด
การแพ้ยาได้ง่าย อาการมีตั้งแต่น้อยจนรุนแรงถึงขั้น เสียชีวิตได้ ผู้ที่เคยแพ้ยาตัวใดควร
จำาชื่อไว้ให้แม่นยำาและแจ้ง ให้แพทย์ทราบทุกครั้ง
   4. แม่ที่กำาลังให้นมลูก ต้องแจ้งหมอให้ทราบด้วย เพราะยาอาจส่งผ่านไปทางนำ้านม
ให้ลูกได้ด้วย
   5. ยาปฏิชีวนะไม่เป็นยาแก้อักเสบ และยาปฏิชีวนะมีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย
เท่านั้น ไม่ได้ฆ่าเชื้อไวรัส ถ้ามีเชื่อไวรัสก็ใช้ยา
        ปฏิชีวนะไม่ได้ ต้องทำาให้ร่างกายมีความแข็งแรงและต่อสู้กับโรคให้หายเอง
http://sites.google.com/site/farijouehaircolor/sara-khwam-ru-sukhphaph-kab-
farijoue/kar-than-ya-ptichiw

Contenu connexe

Tendances

รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยรายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยFreesia Gardenia
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานPa'rig Prig
 
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7Pear Pimnipa
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58Junee Sara
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดพัน พัน
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณUtai Sukviwatsirikul
 
โครงการแก้มลิง
โครงการแก้มลิงโครงการแก้มลิง
โครงการแก้มลิงkpdbutter
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ ThunkableKhunakon Thanatee
 
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวานPa'rig Prig
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญPongpob Srisaman
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 

Tendances (20)

รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยรายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
 
เสพติด Quiz
เสพติด Quizเสพติด Quiz
เสพติด Quiz
 
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
 
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
โครงการแก้มลิง
โครงการแก้มลิงโครงการแก้มลิง
โครงการแก้มลิง
 
ปก
ปกปก
ปก
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
 
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 

En vedette

กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษาSambushi Kritsada
 
อย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติดอย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติดพัน พัน
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมRachanont Hiranwong
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 
อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 35
อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 35อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 35
อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 35mahakhum
 
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐานเทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐานPrachyanun Nilsook
 
อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 20
อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 20อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 20
อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 20mahakhum
 
กุหลาบประกาษิต
กุหลาบประกาษิตกุหลาบประกาษิต
กุหลาบประกาษิตKanjana ZuZie NuNa
 
ข้างหลังภาพ Asma safa_nadia
ข้างหลังภาพ Asma safa_nadiaข้างหลังภาพ Asma safa_nadia
ข้างหลังภาพ Asma safa_nadiaSantichon Islamic School
 
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013Vorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขคู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขVorawut Wongumpornpinit
 
Brandssummercamp 2012 feb55_physics
Brandssummercamp 2012 feb55_physicsBrandssummercamp 2012 feb55_physics
Brandssummercamp 2012 feb55_physicsNittaya Mitpothong
 
วิเคราะห์วิจารณ์
วิเคราะห์วิจารณ์วิเคราะห์วิจารณ์
วิเคราะห์วิจารณ์Tongsamut vorasan
 

En vedette (20)

กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
 
อย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติดอย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติด
 
ทน
ทนทน
ทน
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
LOC
LOCLOC
LOC
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 35
อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 35อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 35
อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 35
 
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐานเทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
 
Microsoft word กิจกรรม nasa exercise
Microsoft word   กิจกรรม nasa  exerciseMicrosoft word   กิจกรรม nasa  exercise
Microsoft word กิจกรรม nasa exercise
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 20
อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 20อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 20
อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 20
 
กุหลาบประกาษิต
กุหลาบประกาษิตกุหลาบประกาษิต
กุหลาบประกาษิต
 
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2558
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2558พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2558
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2558
 
Stormy aries
Stormy ariesStormy aries
Stormy aries
 
ข้างหลังภาพ Asma safa_nadia
ข้างหลังภาพ Asma safa_nadiaข้างหลังภาพ Asma safa_nadia
ข้างหลังภาพ Asma safa_nadia
 
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
 
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขคู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
 
Brandssummercamp 2012 feb55_physics
Brandssummercamp 2012 feb55_physicsBrandssummercamp 2012 feb55_physics
Brandssummercamp 2012 feb55_physics
 
วิเคราะห์วิจารณ์
วิเคราะห์วิจารณ์วิเคราะห์วิจารณ์
วิเคราะห์วิจารณ์
 

Similaire à เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา

FAQมากิพลัส
FAQมากิพลัสFAQมากิพลัส
FAQมากิพลัสwattana072
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.25554LIFEYES
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน34LIFEYES
 
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านPa'rig Prig
 
ธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัดธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัดVorramon1
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานTiwapon Wiset
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารWan Ngamwongwan
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารWan Ngamwongwan
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารWan Ngamwongwan
 
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นคู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นThiti Wongpong
 
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นคู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นUtai Sukviwatsirikul
 
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดอาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดUsableLabs
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 

Similaire à เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา (20)

FAQมากิพลัส
FAQมากิพลัสFAQมากิพลัส
FAQมากิพลัส
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
 
ธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัดธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัด
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นคู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
 
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นคู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
 
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดอาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
 
Supplementary food
Supplementary foodSupplementary food
Supplementary food
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
Alzheimer
AlzheimerAlzheimer
Alzheimer
 
Alzheimer
AlzheimerAlzheimer
Alzheimer
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 

Plus de Jintana Somrit

แผนผังไปบ้านสวนป้าต้อย
แผนผังไปบ้านสวนป้าต้อยแผนผังไปบ้านสวนป้าต้อย
แผนผังไปบ้านสวนป้าต้อยJintana Somrit
 
Kap ประวัติ
Kap ประวัติKap ประวัติ
Kap ประวัติJintana Somrit
 
บัญชีรุ่น
บัญชีรุ่นบัญชีรุ่น
บัญชีรุ่นJintana Somrit
 
บัญชีรุ่น
บัญชีรุ่นบัญชีรุ่น
บัญชีรุ่นJintana Somrit
 
Kapประวัติ
KapประวัติKapประวัติ
KapประวัติJintana Somrit
 
บัญชีรุ่น
บัญชีรุ่นบัญชีรุ่น
บัญชีรุ่นJintana Somrit
 
บัญชีรุ่น
บัญชีรุ่นบัญชีรุ่น
บัญชีรุ่นJintana Somrit
 
ทำวีซ่าท่องเที่ยวUsa
ทำวีซ่าท่องเที่ยวUsaทำวีซ่าท่องเที่ยวUsa
ทำวีซ่าท่องเที่ยวUsaJintana Somrit
 
ชาคืออะไร
ชาคืออะไรชาคืออะไร
ชาคืออะไรJintana Somrit
 
สมุนไพร ลดไขมันในเส้นเลือด คลอเรสเตอรอล
สมุนไพร ลดไขมันในเส้นเลือด คลอเรสเตอรอลสมุนไพร ลดไขมันในเส้นเลือด คลอเรสเตอรอล
สมุนไพร ลดไขมันในเส้นเลือด คลอเรสเตอรอลJintana Somrit
 
ศัพท์อังกฤษป.3
ศัพท์อังกฤษป.3ศัพท์อังกฤษป.3
ศัพท์อังกฤษป.3Jintana Somrit
 
ข้อความศิลป์
ข้อความศิลป์ข้อความศิลป์
ข้อความศิลป์Jintana Somrit
 

Plus de Jintana Somrit (17)

แผนผังไปบ้านสวนป้าต้อย
แผนผังไปบ้านสวนป้าต้อยแผนผังไปบ้านสวนป้าต้อย
แผนผังไปบ้านสวนป้าต้อย
 
Kap สังคม
Kap สังคมKap สังคม
Kap สังคม
 
Kap ประวัติ
Kap ประวัติKap ประวัติ
Kap ประวัติ
 
Kap คณิต
Kap คณิตKap คณิต
Kap คณิต
 
บัญชีรุ่น
บัญชีรุ่นบัญชีรุ่น
บัญชีรุ่น
 
บัญชีรุ่น
บัญชีรุ่นบัญชีรุ่น
บัญชีรุ่น
 
Kapคณิต
KapคณิตKapคณิต
Kapคณิต
 
Kapสังคม
KapสังคมKapสังคม
Kapสังคม
 
Kapประวัติ
KapประวัติKapประวัติ
Kapประวัติ
 
บัญชีรุ่น
บัญชีรุ่นบัญชีรุ่น
บัญชีรุ่น
 
บัญชีรุ่น
บัญชีรุ่นบัญชีรุ่น
บัญชีรุ่น
 
ทำวีซ่าท่องเที่ยวUsa
ทำวีซ่าท่องเที่ยวUsaทำวีซ่าท่องเที่ยวUsa
ทำวีซ่าท่องเที่ยวUsa
 
ชาคืออะไร
ชาคืออะไรชาคืออะไร
ชาคืออะไร
 
สมุนไพร ลดไขมันในเส้นเลือด คลอเรสเตอรอล
สมุนไพร ลดไขมันในเส้นเลือด คลอเรสเตอรอลสมุนไพร ลดไขมันในเส้นเลือด คลอเรสเตอรอล
สมุนไพร ลดไขมันในเส้นเลือด คลอเรสเตอรอล
 
ศัพท์อังกฤษป.3
ศัพท์อังกฤษป.3ศัพท์อังกฤษป.3
ศัพท์อังกฤษป.3
 
ข้อความศิลป์
ข้อความศิลป์ข้อความศิลป์
ข้อความศิลป์
 
สันธาน
สันธานสันธาน
สันธาน
 

เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา

  • 1. อาหารกับยา อาหารที่เรากินกับยาจะมีผลต่อการดูดซึมของยาจากกระแสโลหิตเข้าสู่ร่างกายมีข้อควร รู้คือ 1.ผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว เช่น ส้ม มะนาว มะยม สับปะรด ห้ามกินพร้อมยาปฏิชีวนะที่กินก่อน อาหาร เพราะผลไม้เหล่านี้มฤทธิ์เป็นกรดจะไปทำาลายฤทธิ์ของยาทำาให้การรักษาไม่ได้ ี ผลเท่าที่ควร 2. นม ห้ามกินพร้อมกับยาเตตร้าซัยคลิน เพราะยาจะไปจับกับแคลเซียมในนมเกิดเป็น สารประกอบเชิงซ้อนขนาดใหญ่ ทำาให้การดูดซึมเข้ากระแสโลหิตน้อยลง 3. อาหารพวกไขมัน พบว่าจะไปเพิ่มการละลาย และการดูดซึมของยาบางชนิดเพราะจะ ไปกระตุ้นให้นำ้าดีหลั่งออกมา 4. เครื่องดื่มบำารุงกำาลัง เช่น ลิโพ กระทิงแดง มีส่วนประกอบของคาเฟอีนผสมอยู่ ห้าม กินพร้อมยาแก้หวัด หอบหืด เพราะจะไปเพิ่มอาการใจสั่นมากยิ่งขึ้น http://www.si.mahidol.ac.th/km/webboard/wbdetail.asp?room=0&wq_id=238 เครื่องดื่มต่าง ๆ มีผลต่อยาหรือไม่ ? ปกติในเหล้า เบียร์ หรือไวน์ จะมีแอลกอฮอล์เป็น ส่วนผสม ตัวแอลกอฮอล์จะมีฤทธิ์กด ประสาท เช่นเดียวกับ ยาแก้แพ้ ยานอนหลับ ยาคลายกังวล ยาต้านความซึมเศร้า จะไป กดประสาททำาให้ง่วงนอน หากกินยาพร้อมแอลกอฮอล์จะทำาให้มีผลข้างเคียงมากขึ้น มี อาการง่วงนอน ง่วงซึม ขาดสมาธิ และถ้ากินแอลกอฮอล์ปริมาณมาก ๆ อาจจะรุนแรงถึง ขั้นมีผลต่อระบบการหายใจ และแอลกอฮอล์ยังมีผลต่อตับ จะทำาให้ตับทำางาน หนักมากขึ้น ถ้าดื่มแอลกอฮอล์พร้อม กับยาพาราเซตามอล ซึงมีผลต่อตับเช่นกัน จะทำาให้เสี่ยงต่อตับวายเฉียบพลันได้ แล้ว ่ แอลกอฮอล์ยังเป็นตัวทำาละลายที่ดี ถ้าดื่มแอลกอฮอล์พร้อมกับยาจะทำาให้ดูดซึมได้ดี ขึ้น ทำาให้ยาที่กินเข้าไปมีสารเกินกว่าปกติ อาจจะเกิดผลข้างเคียงจากยาได้ หากจะเลียงโดยกินยาตอนเช้าแล้วไปดื่มแอลกอฮอล์ ตอนกลางคืนจะได้หรือเปล่า ? ่ ก็มีผลข้างเคียงเช่นกัน เพราะแอลกอฮอล์เมื่อเข้าไปในร่างกาย ฤทธิ์ของมันจะอยู่ใน ร่างกายเป็นระยะเวลานาน จะไปอยู่ที่ตับ ตับยังทำางานเพื่อขจัดมันอยู่ อาจมีผลข้างเคียง และทำาให้ตับวายได้ แล้วกินยาพร้อมนม นำำาแร่ นำำาผลไม้ได้หรือเปล่า ? นำ้าทั้ง 3 ชนิดจะมีแร่ธาตุบางตัวที่จะไปทำาให้เกิดสารประกอบเชิงซ้อนกับยา ยาอาจดูด ซึมได้ยากขึ้นและ ไม่ออกฤทธิ์ ทำาให้มประสิทธิภาพน้อยลง เช่น กลุ่มยาฆ่าเชื้อเตรต้า ี ไซคลิน ด็อกซี่ไซคลิน หรือ ซิโปรฟล็อกซาซิน รวมทั้งยารักษาโรคกระดูกพรุนใน กลุ่ม บิสฟอสฟอเนต หากกินยาพร้อมชา กาแฟ และเครื่องดื่มชูกำาลังล่ะจะเป็นอะไรหรือไม่ ? ชา กาแฟ และเครื่องดื่มชูกำาลังจะมีกาเฟอีนเป็นส่วนประกอบ ซึ่งจะมีฤทธิ์กระตุ้น ประสาท ทำาให้ตื่นตัว สดชื่น กระปรี้กระเปร่า ถ้าไปดื่มพร้อมกับกินยากลุ่มลดนำ้ามูกจะยิ่ง มีอาการใจสั่นมากขึ้น ยาบางตัวจะมีปฏิกิริยาระหว่างกาเฟอีนกับยา เช่น ยาฆ่าเชื้อซิโปรฟล็อกซาซิน หรือยา ลดกรดไซมีทีดีนจะทำาให้กาเฟอีนอยูในร่างกายได้นานขึ้น ่
  • 2. สรุปแล้วควรกินยาพร้อมนำำาเปล่าดีที่สุด นอกจากจะช่วยละลายยาแล้วยังช่วยลด อาการข้างเคียงที่เกิดจากยาได้ เช่น กัดกระเพาะอาหารหรือเกิดระคายเคือง กระเพาะอาหาร อาการแพ้ยา แต่จริง ๆ แล้วการแพ้ยาหมายถึงเป็นอาการที่รนแรง เช่น หลอดลมตีบ ุ หายใจไม่ออก มีผื่นขึ้น มีลมพิษรุนแรง ปากบวม เยื่อบุตาบวม ส่วนอาการข้างเคียงของยา ส่วนใหญ่จะรู้อยู่แล้วว่าจะเกิดขึ้นจากการใช้ยาแต่ละตัว เกิด จากฤทธิ์ของตัวยาเองทีทำาให้เกิดผลข้างเคียง เช่น กินยาฆ่าเชื้ออะม็อกซี่ซิลลินแล้ว ่ เกิดการคลื่นไส้ พะอืดพะอม ซึ่งไม่รนแรง และสามารถแก้ไขอาการในเบื้องต้นได้ ุ หากเมื่อกินยาแล้วมีอาการท้องเสีย ควรงดอาหาร ทีมีรสจัด งดกาแฟ งดนม ในช่วงที่มี ่ อาการท้องเสีย ถ้ากินยาฆ่าเชื้อแล้วท้องเสียให้กินพวกโยเกิร์ต ซึ่งจะมีจลินทรียที่ดีไป ุ ์ เสริมลำาไส้ ทดแทนแบคทีเรียที่เสียไปกับการท้องเสีย ฟังแล้วคงจะเข้าใจเรื่องของการกินยาให้ได้ยากันมากขึ้น http://www.healthcorners.com/new_read_article.php? category=generalhealth&id=3539 ยากับนำ้าผลไม้ อันตรายกว่าที่คิด เวลาที่ไม่สบายเราก็ต้องทานยาเพื่อจะได้หายป่วยไวๆ แต่บางทีถาหากว่าเป็นโรคบาง ้ โรคแล้วทานยาแล้วเผลอตามด้วยการดื่มนำ้าผลไม้เข้า นั่นอาจจะก่อให้เกิดผลข้างเคียง ที่อันตราย ซึ่งคงไม่เป็นที่ปรารถนาอยากจะได้มาอย่างแน่นอน คณะวิจัยจากมหาวิทยาลัยแห่งรัฐแคลิฟอร์เนีย ทีซานฟรานซิสโก ได้เปิดเผยผลการ ่ วิจัยซึงบ่งว่านำ้าผลไม้ส่งผลกระทบต่อระบบการทำางานของร่างกาย ที่จะทำาให้ ่ ประสิทธิภาพในการรักษาของยาหมดไป เพราะก่อนที่ยานั้นจะซึมเข้าสู่กระแสเลือด นำ้า ผลไม้จะต่อต้านการดูดซึมของยาที่ใช้ในการรักษาโรคมะเร็ง ความดันโลหิตสูง หัวใจล้ม เหลว และโรคภูมิแพ้ต่างๆ รวมไปถึงยาที่ใช้กับผู้ป่วยทีทำาการปลูกถ่ายอวัยวะใหม่ ่ ผลการวิจัยที่ได้รับการเปิดเผยก่อนหน้านี้ บ่งบอกถึงอันตรายของนำ้าผลไม้ในแง่ที่ส่งผล ต่อการรับประทานยาเช่นกัน เพราะฤทธิ์ในการทำาลายเอนไซม์ในร่างกาย ทีทำาหน้าที่ ่ สกัดกั้นไม่ให้ยาเข้าสู่กระแสเลือดมากเกินไป เมื่อเอนไซม์ชนิดนี้ลดลง ทำาให้ตัวยาบาง ชนิดรวมถึงยาที่ใช้ในการรักษา โรคความดันโลหิตและแอนติฮิสตามีน (Antihistamines) มีฤทธิ์ในการรักษารุนแรงขึ้น เพราะในบางกรณีทร่างกายได้รับตัวยา ี่ มากเกินขนาด จะเป็นผลเสียต่อการรักษาและร่างกายผู้ปวย ่ ทางที่ดีควรหลีกเลี่ยงการทานยาพร้อมนำ้าผลไม้ทุกชนิด และเลือกรับประทานกับนำ้า เปล่าดีที่สุด http://www.bloggang.com/mainblog.php? id=iamlady&month=02-10-2010&group=10&gblog=139 ข้อแนะนำาสำาหรับผู้ทานยาปฏิชีวนะ 1. ยาปฏิชีวนะไม่ใช่ยาลดไข้ หรือแก้ไข้ ต้องให้แพทย์เท่านันเป็นผู้สั่ง ถ้ามีการทาน ้ ยาปฏิชีวนะอื่นอยู่ ให้แจ้งแพทย์ที่กำาลังตรวจรักษาทราบด้วย 2. ควรรับประทานเวลาท้องว่าง คือก่อนอาหาร 1 ชั่วโมงหรือหลังอาหาร 2 ชั่วโมง เพราะยาชนิดนี้ถูกสลายได้ง่ายด้วยกรดในกระเพาะอาหาร
  • 3. 3. ไม่ควรรับประทานร่วมกับนำ้าผลไม้ เพราะมีฤทธิ์เป็นกรด การใช้ยากลุ่มนี้อาจเกิด การแพ้ยาได้ง่าย อาการมีตั้งแต่น้อยจนรุนแรงถึงขั้น เสียชีวิตได้ ผู้ที่เคยแพ้ยาตัวใดควร จำาชื่อไว้ให้แม่นยำาและแจ้ง ให้แพทย์ทราบทุกครั้ง 4. แม่ที่กำาลังให้นมลูก ต้องแจ้งหมอให้ทราบด้วย เพราะยาอาจส่งผ่านไปทางนำ้านม ให้ลูกได้ด้วย 5. ยาปฏิชีวนะไม่เป็นยาแก้อักเสบ และยาปฏิชีวนะมีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย เท่านั้น ไม่ได้ฆ่าเชื้อไวรัส ถ้ามีเชื่อไวรัสก็ใช้ยา ปฏิชีวนะไม่ได้ ต้องทำาให้ร่างกายมีความแข็งแรงและต่อสู้กับโรคให้หายเอง http://sites.google.com/site/farijouehaircolor/sara-khwam-ru-sukhphaph-kab- farijoue/kar-than-ya-ptichiw