SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12
Télécharger pour lire hors ligne
แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย
     สําหรับนักเรียนอายุ 7 – 18 ปี




                 โดย
สํานักวิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา
      กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
รายการทดสอบสมรรถภาพทางกายสําหรับนักเรียน 7 – 18 ปี

ที่             รายการทดสอบ                          วัตถุประสงค์ของการทดสอบ
1     องค์ประกอบของร่างกาย :         เพื่อประเมินความเหมาะสมของสัดส่วนร่างกาย
      ดัชนีมวลกาย (BMI)              (น้ําหนักและส่วนสูง)
2     วัดความหนาของไขมันใต้ผิวหนัง   เพื่อประเมินปริมาณไขมันใต้ผิวหนังของร่างกาย
3     นั่งงอตัวไปข้างหน้า            เพื่อวัดความอ่อนตัวของกล้ามเนื้อหลังและต้นขาด้านหลัง
4     ยืนกระโดดไกล                   เพื่อวัดกําลังกล้ามเนื้อขา
5     ลุกนั่ง 60 วินาที              เพื่อวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อท้อง
6     ดันพื้น 30 วินาที              เพื่อวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อแขน
7     วิ่งอ้อมหลัก (Zigzag run)      เพื่อวัดความคล่องแคล่วว่องไว ความเร็วและความสามารถ
                                     ในการทรงตัว
8     วิ่งระยะไกล                    เพื่อวัดความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิตและระบบ
                                     หายใจ
องค์ประกอบของร่างกาย : ดัชนีมวลกาย (BMI)
วัตถุประสงค์ของการทดสอบ              เพื่อประเมินความเหมาะสมของสัดส่วนร่างกาย (น้ําหนักและส่วนสูง)
อุปกรณ์ที่ใช้                        1.เครื่องชั่งน้ําหนัก
                                     2.เครื่องวัดส่วนสูง
                                     3.เครื่องคิดเลข
วิธีการปฏิบัติ                                             ตัวอย่าง เช่น
1.ชั่งน้ําหนัก และวัดส่วนสูงของผู้เข้ารับการทดสอบ ผู้เข้ารับการทดสอบมีน้ําหนักตัว 25 กิโลกรัม
2.นําน้ําหนัก และส่วนสูงมาคํานวณหาค่า                      มีส่วนสูง 120 เซนติเมตร
ดัชนีมวลกาย โดยนําค่า                                      ค่าดัชนีมวลกาย = 25 / (1.20)2
      น้าหนัก (กิโลกรัม) หารด้วย ส่วนสูง (เมตร)2
         ํ                                                                   = 25 / 1.44
                                                                             = 17.36 กิโลกรัมต่อตารางเมตร
ระเบียบการทดสอบ 1. การชั่งน้ําหนักให้ผู้เข้ารับการทดสอบสวมชุดที่เบาที่สุด และให้ถอดรองเท้า
                         2. การวัดส่วนสูงให้ผู้เข้ารับการทดสอบ ยืนตรง ศีรษะตั้งตรง สายตามองตรงไป
                         ข้างหน้า

การบันทึกผล            น้ําหนักตัวให้บันทึกเป็นค่ากิโลกรัม สําหรับส่วนสูงให้บันทึกค่าเป็นเมตร




                    ชั่งน้ําหนัก                                            วัดส่วนสูง
ความหนาของไขมันใต้ผิวหนัง
วัตถุประสงค์ของการทดสอบ                     เพื่อประเมินปริมาณไขมันใต้ผิวหนังของร่างกาย
อุปกรณ์ที่ใช้                               1.เครื่องวัดความหนาของไขมันใต้ผิวหนัง
                                            2.สายวัด
                                            3.เครื่องคิดเลข
วิธีการปฏิบัติ                             1.วัดความหนาของไขมันใต้ผิวหนังบริเวณต้นแขน
                                           ด้านหลัง (triceps skinfold)
                                           2.วัดความหนาของไขมันใต้ผิวหนังบริเวณน่องด้านใน
                                           (medial calf skinfold)
                                           3.นําผลรวมจาก 2 วิธีการข้างต้น มาคํานวณตามวิธีการที่
                                           กําหนด
วิธีการวัดความหนาของไขมันใต้ผิวหนังบริเวณต้นแขนด้านหลัง (triceps skinfold)
1. ผู้รบการทดสอบยืนตรง หันหลังให้ผทดสอบ
       ั                           ู้
- งอข้อศอกข้างที่ถนัด จนท่อนแขนส่วนบน และ
ท่อนแขนส่วนล่างตั้งฉากกัน โดยท่อนแขนส่วนบน
แนบกับลําตัว และท่อนแขนส่วนล่างชี้ตรงไป
ข้างหน้า




2.ผู้ทดสอบใช้สายวัด
- วัดระยะห่างระหว่างปุ่มกระดูกของกระดูก
สะบักที่นนขึ้นบริเวณหัวไหล่ด้านข้างค่อนมาทาง
          ู
ข้างหลังกับปุ่มปลายกกระดูกข้อศอก
- แล้วใช้ปากกาทําเครื่องหมายไว้ที่กึ่งกลาง
ระหว่างระยะห่าง
3.ผู้เข้ารับการทดสอบปล่อยแขนข้างลําตัวอย่าง
ผ่อนคลาย




4. ผู้ทดสอบใช้มือข้างซ้ายดึงผิวหนังพร้อมไขมัน
ใต้ผิวหนังในแนวกึ่งกลางด้านหลังของแขนเหนือ
เครื่องหมายที่ทําไว้ประมาณ 1 ซม.
- แล้วใช้เครื่องวัดความหนาของไขมันใต้ผวหนังที่
                                          ิ
ถืออยู่มือขวาหนีบไปที่เนื้อใต้บริเวณที่ขอมือข้าง
                                        ้
ซ้ายจับอยู่ในระดับเดียวกันกับเครื่องหมายที่
กําหนดไว้ รอประมาณ 1 - 3 วินาที จนกระทั่ง
เข็มชี้สเกลนิ่งแล้วจึงอ่านค่าจากสเกล


5.ทําการวัด 2 ครั้ง แล้วหาค่าเฉลี่ยเพื่อนําไปคํานวณตามวิธีการต่อไป

วิธีการวัดความหนาของไขมันใต้ผิวหนังบริเวณน่องด้านใน (medial calf skinfold)
1.ผู้รบการทดสอบนั่งบนเก้าอี้สูงประมาณ 70 - 75 ซม. แล้ววางเท้าขวาราบลงบนพื้นหรือกล่องที่จัดระดับ
      ั
ความสูงให้ขอสะโพก ข้อเข่า และข้อเท้าทํามุมฉากซึ่งกันและกัน
            ้

2. ผู้ทดสอบใช้สายวัด วัดรอบน่องที่ระดับความ
สูงต่าง ๆ กัน เพื่อหาระดับที่มีเส้นรอบน่องกว้าง
ที่สุด
3. ใช้ปากกาทําเครื่องหมายที่ระดับที่มีเส้นรอบ
น่องมากที่สุด
4. ผู้ทดสอบใช้มือซ้ายดึงผิวหนังพร้อมไขมันใต้ผิวหนังในแนวตั้งด้านในของน่องเหนือระดับเครื่องหมายที่ทําไว้
ประมาณ 1 ซม. แล้วใช้เครื่องวัดความหนาของไขมันใต้ผวหนังที่ถืออยู่ในมือข้างขวาหนีบ ไปที่เนื้อใต้บริเวณที่
                                                      ิ
มือข้างซ้ายจับอยู่เล็กน้อย ในระดับเดียวกับเครื่องหมายที่กําหนดไว้ รอประมาณ 1 - 3 วินาที จนกระทังเข็มชี้
                                                                                                ่
สเกลนิ่งแล้วจึงอ่านค่าจากสเกล




5.ทําการวัด 2 ครั้ง แล้วหาค่าเฉลี่ยเพื่อนําไปคํานวณตามวิธีการต่อไป
การบันทึกผล              นําค่าความหนาของไขมันใต้ผวหนังที่วัดได้ทั้ง 2 ตําแหน่งแปลงเป็นเปอร์เซ็นต์ของ
                                                     ิ
                         ไขมันที่สะสมในร่างกายจากสมการต่อไปนี้
วิธีการคํานวณของเพศชาย
เปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกาย
= (0.735 x ผลรวมของความหนาของไขมันบริเวณต้นแขนด้านหลังและน่องด้านใน) + 1.0
วิธีการคํานวณของเพศหญิง
เปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกาย
= (0.610 x ผลรวมของความหนาของไขมันบริเวณต้นแขนด้านหลังและน่องด้านใน) + 5.1

ตัวอย่างอุปกรณ์วัดไขมันใต้ผิวหนัง
นั่งงอตัวไปข้างหน้า
วัตถุประสงค์ของการทดสอบ           เพื่อวัดความอ่อนตัวของกล้ามเนื้อหลังและต้นขาด้านหลัง
อุปกรณ์ที่ใช้                     กล่องเครื่องมือวัดความอ่อนตัว ขนาดสูง 30 เซนติเมตร
วิธีการปฏิบัติ
1.ท่าเริ่มต้น
- ผู้รับการทดสอบนั่งเหยียดขาตรงไป
ข้างหน้า
- เท้าทั้งสองอยู่ห่างกันประมาณ 1
ฟุต โดยให้ฝ่าเท้าวางราบชิดกล่อง
- แขนทั้งสองเหยียดตรงไปข้างหน้า


2.ผู้เข้ารับการทดสอบค่อย ๆ ก้ม
ลําตัวลงและใช้ปลายนิ้วจากมือทั้ง
สองดันแกนวัดระยะทางไปข้างหน้า
จนไม่สามารถก้มลําตัวลงไปได้อีก ให้
ผู้เข้ารับการทดสอบก้มตัวค้างไว้ 1
วินาที

ระเบียบการทดสอบ 1. ขณะที่กมเพื่อให้ปลายนิ้วแตะแกนที่วัดระยะทางไปข้างหน้านั้น เข่าจะต้องไม่งอ
                            ้
                2. ห้ามผู้เข้ารับการทดสอบโยกตัวช่วยขณะที่ก้มลําตัวลง
                3. ให้ทําการทดสอบ 2 ครั้ง
การบันทึกผล     1. ให้บนทึกระยะทางเป็นเซนติเมตร
                        ั
                2. บันทึกค่าทีทาการทดสอบได้ดีที่สุด จากการทดสอบ 2 ครั้ง
                                ่ ํ
ยืนกระโดดไกล
วัตถุประสงค์ของการทดสอบ                               เพื่อวัดกําลังกล้ามเนื้อขา
อุปกรณ์ที่ใช้     1.แผ่นยางสําหรับยืนกระโดดไกล
                  2.เทปวัดระยะไม้ที หรือไม้บรรทัด (กรณีไม่มีแผ่นยาง)
                  3.ปูนขาว หรือผ้าเช็ดพื้น (กรณีใช้แผ่นยาง)
วิธีการปฏิบัติ
1.ท่าเริ่มต้น
- ผู้เข้ารับการทดสอบ ยืนแยกเท้าห่างกันประมาณ
ช่วงไหล ปลายเท้าอยู่หลังเส้นเริ่ม
- ย่อเข่าพร้อมกับเหวี่ยงแขนไปด้านหน้า-หลัง เพื่อหา
จังหวะในการกระโดด และเท้าทั้งสองไม่เคลื่อนที่


                                                             ท่าเตรียม             กรณีไม่มแผ่นยาง
                                                                                           ี
2.เมื่อได้จังหวะแล้ว ให้กระโดดด้วยเท้าทั้งสองข้างไปด้านหน้าให้ได้ระยะไกลที่สุด




3.วัดระยะจากจุดเริ่มไปยังส่วนของร่างกายของผู้รับ
การทดสอบที่อยู่ใกล้ทสุด
                     ี่




การบันทึกผล                          1.ทําการทดสอบ 2 ครั้ง บันทึกผลการทดสอบครั้งที่กระโดดได้ไกลที่สุด
                                     2. ให้วดระยะทางเป็นเซนติเมตร
                                            ั
ลุกนั่ง 60 วินาที
วัตถุประสงค์ของการทดสอบ                    เพื่อวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อท้อง
อุปกรณ์ที่ใช้                              1. เบาะรองพื้น หรือสนามหญ้านุ่ม
                                           2. นาฬิกาจับเวลา
วิธีการปฏิบัติ
1.ท่าเริ่มต้น
- ผู้เข้ารับการทดสอบนอนหงาย
- ชันเข่าทั้งสองข้าง
- เข่าทั้งสองงอเป็นมุมฉาก
- เท้าทั้งสองวางห่างกันประมาณ 1 ช่วงไหล่
- ฝ่าเท้าวางราบกับพื้น
- มือทั้งสองแตะไว้ที่หน้าขาทั้งสองข้าง
2.ผู้ช่วยการทดสอบนั่งอยู่ที่ปลายเท้า




3.เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้เข้ารับการทดสอบยกลําตัวขึ้นไปสู่ท่านั่ง ก้มลําตัวให้ศรษะผ่านไประหว่างเข่า
                                                                                       ี
แขนทั้งสองเหยียดตรงไปข้างหน้า และให้ปลายนิ้วแตะเส้นตรงที่อยู่แนวเดียวกับปลายเท้าทั้งสองข้าง




4.กลับสู่ท่าเริ่มต้น โดยจะต้องให้สะบักทั้งสองข้างแตะพื้น
ระเบียบการทดสอบ ในการทดสอบจะไม่นับจํานวนครั้งในกรณีต่อไปนี้
1. มือทั้งสองไม่ได้วางแตะที่บริเวณขาทั้งสองข้าง
2. ในขณะกลับลงไปสู่ท่าเริ่มต้น สะบักไม่ได้แตะพื้น
3. ปลายนิ้วมือทั้งสองข้างไม่ได้แตะเส้นที่อยู่ในระดับเดียวกับปลายเท้า
4. ผู้เข้ารับการทดสอบใช้มือยันพื้น เพื่อดันลําตัวขึ้น
การบันทึกผล บันทึกจํานวนครั้งที่ทาได้อย่างถูกต้องภายในเวลา 60 วินาที
                                        ํ
ดันพื้น 30 วินาที
วัตถุประสงค์ของการทดสอบ                          เพื่อวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อท้อง
อุปกรณ์ที่ใช้                                    1. เบาะรองพื้น หรือสนามหญ้านุ่ม
                                                 2. นาฬิกาจับเวลา
วิธีการปฏิบัติ                                   ผู้ชายและผู้หญิงใช้ท่าทดสอบเหมือนกัน
1.ท่าเริ่มต้น
- ผู้เข้ารับการทดสอบนอนคว่ํา ลําตัวตรง
และเข่าเหยียดตรงขนานกับพื้น
- ยันฝ่ามือทั้งสองข้างไว้กับพื้นให้ปลายนิ้วชี้
ตรงไปข้างหน้า
- ฝ่ามือทั้งสองข้างเท่ากับช่วงไหล่
- ลําตัวจะเหยียดตรง
- แขนทั้งสองอยู่ท่าเหยียดตึง
2.เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้เข้ารับการ
ทดสอบยุบข้อเพื่อดันพื้นลงไป โดยทํามุม
90 องศาที่ข้อศอกทั้งสองข้าง ในขณะที่
แขนบนขนานกับพื้น แล้วยกแขนและลําตัว
กลับขึ้นมาอยู่ในท่าเดิม นับเป็น 1 ครั้ง

3.กลับสู่ท่าเริ่มต้นและปฏิบัติต่อเนื่อง
จนกว่าจะหมดเวลา
ระเบียบการทดสอบ
1. ผู้ทดสอบจะต้องสังเกตลําตัวของผู้เข้ารับการทดสอบให้เหยียดตรง แขนทั้งสองอยู่ในท่าเหยียดตึงก่อนจะ
ยุบข้อเพื่อการดันพื้นลงไป
2. เมื่อยุบข้อและดันพื้นลงไป บริเวณหน้าอกของผู้เข้ารับการทดสอบลดต่ําลงจนเกือบจะแตะบริเวณเบาะ
ฟองน้ํา
การบันทึกผล บันทึกจํานวนครั้งที่ทําได้อย่างถูกต้องภายในเวลา 30 วินาที
วิ่งอ้อมหลัก
วัตถุประสงค์ของการทดสอบ             เพื่อวัดความคล่องแคล่วว่องไว ความเร็วและความสามารถในการทรงตัว
อุปกรณ์ที่ใช้                       1. หลักสูง 100 เซนติเมตร จํานวน 6 หลัก
                                    2. เทปวัดระยะทาง
                                    3. นาฬิกาจับเวลา 1/100 วินาที
การเตรียมสถานที่ในการทดสอบ
    ก่อนการทดสอบ ผู้ทดสอบจะต้องเตรียมสถานที่ดังนี้ คือ จากเส้นเริ่ม วัดระยะทางมา 5 เมตร จะเป็นจุด
ในการวางหลักที่ 1 จากหลักที่ 1 ในแนวเส้นเดียวกัน วัดระยะทางจากหลักที่ 1 มา 4 เมตร จะเป็นจุดในการ
วางหลักที่ 3 และเช่นเดียวกัน จากหลักที่ 3 วัดระยะทางมาอีก 4 เมตร จะเป็นจุดวางหลักที่ 5 จากหลักที่ 1,
3, 5 ทํามุม 45 องศา วัดระยะทางจุดละ 2 เมตร จะเป็นการวางหลักที่ 2, 4 และ 6 ซึ่งในแต่ละจุดนั้น ก็จะมี
ระยะทางห่างกันจุดละ 4 เมตรเช่นเดียวกัน ดังรูป




 วิธีการปฏิบติ  ั
      ให้ผู้เข้ารับการทดสอบยืนอยู่หลังเส้นเริ่ม เมื่อได้รับสัญญาณ “เริ่ม” ผู้เข้ารับการทดสอบจะวิ่งไปอ้อมซ้าย
ในหลักที่ 1 แล้วไปอ้อมขวาในหลักที่ 2 ต่อไปจะอ้อมซ้ายในหลักที่ 3 อ้อมขวาในหลักที่ 4 อ้อมซ้ายในหลักที่ 5
และอ้อมขวาในหลักที่ 6 ต่อจากนั้นก็จะวิ่งกลับมาอ้อมขวาในหลักที่ 5 อ้อมซ้ายในหลักที่ 4 อ้อมขวาในหลักที่ 3
อ้อมซ้ายในหลักที่ 2 และอ้อมขวาในหลักที่ 1 และวิ่งผ่านเส้นเริ่มไปอย่างรวดเร็ว
 ระเบียบการทดสอบ หากผู้เข้ารับการทดสอบวิ่งผิดเส้นทางตามที่กําหนด หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
 สัมผัสกับหลักที่วางไว้ ให้หยุดพักและทําการทดสอบใหม่
 การบันทึกผล บันทึกเวลาที่ผเู้ ข้ารับการทดสอบเริ่มต้นออกวิ่งจากเส้นเริ่มไปอ้อมหลักทั้ง 6 หลักและวิ่ง
                     กลับไปถึงเส้นชัยเป็นวินาที ทศนิยมสองตําแหน่ง
วิ่งระยะไกล
วัตถุประสงค์ของการทดสอบ               เพื่อวัดความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิตและระบบหายใจ
ระยะทางในการวิ่ง
1.ระยะทาง 1,200 เมตร สําหรับนักเรียนชายและนักเรียนหญิงที่มีอายุระหว่าง 7-12 ปี
2.ระยะทาง 1,600 เมตร สําหรับนักเรียนชายและนักเรียนหญิงที่มีอายุระหว่าง 13-18 ปี
อุปกรณ์ที่ใช้                         1. นาฬิกาจับเวลา 1/100 วินาที
                                      2. สนามที่มีลู่วง หรือทางวิ่งพื้นราบ
                                                      ิ่
วิธีการปฏิบัติ
1.เมื่อให้สญญาณ “เข้าที่” ผูเ้ ข้ารับการทดสอบยืนให้เท้าข้างหนึ่งแตะเส้นเริ่ม
            ั
2.เมื่อพร้อมและนิ่ง ผู้ปล่อยตัวสั่ง “ไป” ผู้เข้ารับการทดสอบออกวิ่งไปตามเส้นทางที่กําหนดให้เร็วที่สุดเท่าที่
จะทําได้ (แม้วาจะอนุญาตให้เดินได้ แต่ก็ยังเน้นให้รักษาระดับความเร็วให้คงที่อยู่เสมอ)
                 ่
ระเบียบการทดสอบ
1.หากผู้เข้ารับการทดสอบไม่สามารถวิ่งได้ตลอดระยะทางที่กาหนดได้ ก็ให้เดินจนครบระยะทาง
                                                              ํ
2.ผู้เข้ารับการทดสอบที่ไม่สามารถวิ่ง/เดิน ได้ครบระยะทางที่กําหนดจะไม่มีการบันทึกเวลา และต้องทําการ
ทดสอบใหม่
3.หากไม่มีลู่ว่งระยะทาง 400 เมตร ก็สามารถดัดแปลงจากสนามหรือทางวิ่งให้ครบระยะทางที่กําหนดไว้
               ิ
การบันทึกผล บันทึกเวลาเป็นนาทีและวินาที




                                               เอกสารอ้างอิง

วัลลีย์ ภัทโรภาส สุพิตร สมาหิโต และคณะ (สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ). 2553.
          แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสําหรับเด็กไทยระดับก่อนประถมศึกษาอายุ
          4 – 6 ปี. กรุงเทพฯ

สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. 2549. แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทาง
        กายที่สัมพันธ์กับสุขภาพสําหรับเด็กไทยอายุ 7 – 18 ปี. โรงพิม พี เอส พริ้นท์. กรุงเทพฯ.

Contenu connexe

Tendances

ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4preecha2001
 
แฮนด์บอล
แฮนด์บอลแฮนด์บอล
แฮนด์บอลkruda500
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2sarawut chaicharoen
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์Maikeed Tawun
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6supap6259
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่Apirak Potpipit
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 

Tendances (20)

ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
 
แฮนด์บอล
แฮนด์บอลแฮนด์บอล
แฮนด์บอล
 
แบบประเม น
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม น
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 

Similaire à แบบทดสอบอายุ7 18

สรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกายสรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกายcaptain
 
สรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกายสรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกายcaptain
 
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูคู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูArt Nan
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01Bunsita Baisang
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01Bunsita Baisang
 
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายNun อันทวีสิน
 
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายNun อันทวีสิน
 
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & StrokeIntervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & StrokeAphisit Aunbusdumberdor
 
ใบความรู้+แรงดึงดูดของโลก+ป.3+248+dltvscip3+55t2sci p03 f26-4page
ใบความรู้+แรงดึงดูดของโลก+ป.3+248+dltvscip3+55t2sci p03 f26-4pageใบความรู้+แรงดึงดูดของโลก+ป.3+248+dltvscip3+55t2sci p03 f26-4page
ใบความรู้+แรงดึงดูดของโลก+ป.3+248+dltvscip3+55t2sci p03 f26-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+แรงดึงดูดของโลก+ป.3+248+dltvscip3+55t2sci p03 f26-1page
ใบความรู้+แรงดึงดูดของโลก+ป.3+248+dltvscip3+55t2sci p03 f26-1pageใบความรู้+แรงดึงดูดของโลก+ป.3+248+dltvscip3+55t2sci p03 f26-1page
ใบความรู้+แรงดึงดูดของโลก+ป.3+248+dltvscip3+55t2sci p03 f26-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบkrutitirut
 
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1sonsukda
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10Chok Ke
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)krutitirut
 
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2sonsukda
 
การวัด
การวัดการวัด
การวัดkroojaja
 
ยินดีต้อนรับสู่ศูนย์ศูนย์วิจัยและพัฒนาความ
ยินดีต้อนรับสู่ศูนย์ศูนย์วิจัยและพัฒนาความยินดีต้อนรับสู่ศูนย์ศูนย์วิจัยและพัฒนาความ
ยินดีต้อนรับสู่ศูนย์ศูนย์วิจัยและพัฒนาความPoony Sumranpat
 

Similaire à แบบทดสอบอายุ7 18 (20)

สรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกายสรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกาย
 
สรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกายสรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกาย
 
5 หมู
5 หมู5 หมู
5 หมู
 
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูคู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01
 
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
 
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
 
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & StrokeIntervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
 
ใบความรู้+แรงดึงดูดของโลก+ป.3+248+dltvscip3+55t2sci p03 f26-4page
ใบความรู้+แรงดึงดูดของโลก+ป.3+248+dltvscip3+55t2sci p03 f26-4pageใบความรู้+แรงดึงดูดของโลก+ป.3+248+dltvscip3+55t2sci p03 f26-4page
ใบความรู้+แรงดึงดูดของโลก+ป.3+248+dltvscip3+55t2sci p03 f26-4page
 
ใบความรู้+แรงดึงดูดของโลก+ป.3+248+dltvscip3+55t2sci p03 f26-1page
ใบความรู้+แรงดึงดูดของโลก+ป.3+248+dltvscip3+55t2sci p03 f26-1pageใบความรู้+แรงดึงดูดของโลก+ป.3+248+dltvscip3+55t2sci p03 f26-1page
ใบความรู้+แรงดึงดูดของโลก+ป.3+248+dltvscip3+55t2sci p03 f26-1page
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
 
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
 
E5
E5E5
E5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
 
Obec robot contest 2012
Obec robot contest 2012Obec robot contest 2012
Obec robot contest 2012
 
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
 
การวัด
การวัดการวัด
การวัด
 
ยินดีต้อนรับสู่ศูนย์ศูนย์วิจัยและพัฒนาความ
ยินดีต้อนรับสู่ศูนย์ศูนย์วิจัยและพัฒนาความยินดีต้อนรับสู่ศูนย์ศูนย์วิจัยและพัฒนาความ
ยินดีต้อนรับสู่ศูนย์ศูนย์วิจัยและพัฒนาความ
 

แบบทดสอบอายุ7 18

  • 1. แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย สําหรับนักเรียนอายุ 7 – 18 ปี โดย สํานักวิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
  • 2. รายการทดสอบสมรรถภาพทางกายสําหรับนักเรียน 7 – 18 ปี ที่ รายการทดสอบ วัตถุประสงค์ของการทดสอบ 1 องค์ประกอบของร่างกาย : เพื่อประเมินความเหมาะสมของสัดส่วนร่างกาย ดัชนีมวลกาย (BMI) (น้ําหนักและส่วนสูง) 2 วัดความหนาของไขมันใต้ผิวหนัง เพื่อประเมินปริมาณไขมันใต้ผิวหนังของร่างกาย 3 นั่งงอตัวไปข้างหน้า เพื่อวัดความอ่อนตัวของกล้ามเนื้อหลังและต้นขาด้านหลัง 4 ยืนกระโดดไกล เพื่อวัดกําลังกล้ามเนื้อขา 5 ลุกนั่ง 60 วินาที เพื่อวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อท้อง 6 ดันพื้น 30 วินาที เพื่อวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อแขน 7 วิ่งอ้อมหลัก (Zigzag run) เพื่อวัดความคล่องแคล่วว่องไว ความเร็วและความสามารถ ในการทรงตัว 8 วิ่งระยะไกล เพื่อวัดความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิตและระบบ หายใจ
  • 3. องค์ประกอบของร่างกาย : ดัชนีมวลกาย (BMI) วัตถุประสงค์ของการทดสอบ เพื่อประเมินความเหมาะสมของสัดส่วนร่างกาย (น้ําหนักและส่วนสูง) อุปกรณ์ที่ใช้ 1.เครื่องชั่งน้ําหนัก 2.เครื่องวัดส่วนสูง 3.เครื่องคิดเลข วิธีการปฏิบัติ ตัวอย่าง เช่น 1.ชั่งน้ําหนัก และวัดส่วนสูงของผู้เข้ารับการทดสอบ ผู้เข้ารับการทดสอบมีน้ําหนักตัว 25 กิโลกรัม 2.นําน้ําหนัก และส่วนสูงมาคํานวณหาค่า มีส่วนสูง 120 เซนติเมตร ดัชนีมวลกาย โดยนําค่า ค่าดัชนีมวลกาย = 25 / (1.20)2 น้าหนัก (กิโลกรัม) หารด้วย ส่วนสูง (เมตร)2 ํ = 25 / 1.44 = 17.36 กิโลกรัมต่อตารางเมตร ระเบียบการทดสอบ 1. การชั่งน้ําหนักให้ผู้เข้ารับการทดสอบสวมชุดที่เบาที่สุด และให้ถอดรองเท้า 2. การวัดส่วนสูงให้ผู้เข้ารับการทดสอบ ยืนตรง ศีรษะตั้งตรง สายตามองตรงไป ข้างหน้า การบันทึกผล น้ําหนักตัวให้บันทึกเป็นค่ากิโลกรัม สําหรับส่วนสูงให้บันทึกค่าเป็นเมตร ชั่งน้ําหนัก วัดส่วนสูง
  • 4. ความหนาของไขมันใต้ผิวหนัง วัตถุประสงค์ของการทดสอบ เพื่อประเมินปริมาณไขมันใต้ผิวหนังของร่างกาย อุปกรณ์ที่ใช้ 1.เครื่องวัดความหนาของไขมันใต้ผิวหนัง 2.สายวัด 3.เครื่องคิดเลข วิธีการปฏิบัติ 1.วัดความหนาของไขมันใต้ผิวหนังบริเวณต้นแขน ด้านหลัง (triceps skinfold) 2.วัดความหนาของไขมันใต้ผิวหนังบริเวณน่องด้านใน (medial calf skinfold) 3.นําผลรวมจาก 2 วิธีการข้างต้น มาคํานวณตามวิธีการที่ กําหนด วิธีการวัดความหนาของไขมันใต้ผิวหนังบริเวณต้นแขนด้านหลัง (triceps skinfold) 1. ผู้รบการทดสอบยืนตรง หันหลังให้ผทดสอบ ั ู้ - งอข้อศอกข้างที่ถนัด จนท่อนแขนส่วนบน และ ท่อนแขนส่วนล่างตั้งฉากกัน โดยท่อนแขนส่วนบน แนบกับลําตัว และท่อนแขนส่วนล่างชี้ตรงไป ข้างหน้า 2.ผู้ทดสอบใช้สายวัด - วัดระยะห่างระหว่างปุ่มกระดูกของกระดูก สะบักที่นนขึ้นบริเวณหัวไหล่ด้านข้างค่อนมาทาง ู ข้างหลังกับปุ่มปลายกกระดูกข้อศอก - แล้วใช้ปากกาทําเครื่องหมายไว้ที่กึ่งกลาง ระหว่างระยะห่าง
  • 5. 3.ผู้เข้ารับการทดสอบปล่อยแขนข้างลําตัวอย่าง ผ่อนคลาย 4. ผู้ทดสอบใช้มือข้างซ้ายดึงผิวหนังพร้อมไขมัน ใต้ผิวหนังในแนวกึ่งกลางด้านหลังของแขนเหนือ เครื่องหมายที่ทําไว้ประมาณ 1 ซม. - แล้วใช้เครื่องวัดความหนาของไขมันใต้ผวหนังที่ ิ ถืออยู่มือขวาหนีบไปที่เนื้อใต้บริเวณที่ขอมือข้าง ้ ซ้ายจับอยู่ในระดับเดียวกันกับเครื่องหมายที่ กําหนดไว้ รอประมาณ 1 - 3 วินาที จนกระทั่ง เข็มชี้สเกลนิ่งแล้วจึงอ่านค่าจากสเกล 5.ทําการวัด 2 ครั้ง แล้วหาค่าเฉลี่ยเพื่อนําไปคํานวณตามวิธีการต่อไป วิธีการวัดความหนาของไขมันใต้ผิวหนังบริเวณน่องด้านใน (medial calf skinfold) 1.ผู้รบการทดสอบนั่งบนเก้าอี้สูงประมาณ 70 - 75 ซม. แล้ววางเท้าขวาราบลงบนพื้นหรือกล่องที่จัดระดับ ั ความสูงให้ขอสะโพก ข้อเข่า และข้อเท้าทํามุมฉากซึ่งกันและกัน ้ 2. ผู้ทดสอบใช้สายวัด วัดรอบน่องที่ระดับความ สูงต่าง ๆ กัน เพื่อหาระดับที่มีเส้นรอบน่องกว้าง ที่สุด 3. ใช้ปากกาทําเครื่องหมายที่ระดับที่มีเส้นรอบ น่องมากที่สุด
  • 6. 4. ผู้ทดสอบใช้มือซ้ายดึงผิวหนังพร้อมไขมันใต้ผิวหนังในแนวตั้งด้านในของน่องเหนือระดับเครื่องหมายที่ทําไว้ ประมาณ 1 ซม. แล้วใช้เครื่องวัดความหนาของไขมันใต้ผวหนังที่ถืออยู่ในมือข้างขวาหนีบ ไปที่เนื้อใต้บริเวณที่ ิ มือข้างซ้ายจับอยู่เล็กน้อย ในระดับเดียวกับเครื่องหมายที่กําหนดไว้ รอประมาณ 1 - 3 วินาที จนกระทังเข็มชี้ ่ สเกลนิ่งแล้วจึงอ่านค่าจากสเกล 5.ทําการวัด 2 ครั้ง แล้วหาค่าเฉลี่ยเพื่อนําไปคํานวณตามวิธีการต่อไป การบันทึกผล นําค่าความหนาของไขมันใต้ผวหนังที่วัดได้ทั้ง 2 ตําแหน่งแปลงเป็นเปอร์เซ็นต์ของ ิ ไขมันที่สะสมในร่างกายจากสมการต่อไปนี้ วิธีการคํานวณของเพศชาย เปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกาย = (0.735 x ผลรวมของความหนาของไขมันบริเวณต้นแขนด้านหลังและน่องด้านใน) + 1.0 วิธีการคํานวณของเพศหญิง เปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกาย = (0.610 x ผลรวมของความหนาของไขมันบริเวณต้นแขนด้านหลังและน่องด้านใน) + 5.1 ตัวอย่างอุปกรณ์วัดไขมันใต้ผิวหนัง
  • 7. นั่งงอตัวไปข้างหน้า วัตถุประสงค์ของการทดสอบ เพื่อวัดความอ่อนตัวของกล้ามเนื้อหลังและต้นขาด้านหลัง อุปกรณ์ที่ใช้ กล่องเครื่องมือวัดความอ่อนตัว ขนาดสูง 30 เซนติเมตร วิธีการปฏิบัติ 1.ท่าเริ่มต้น - ผู้รับการทดสอบนั่งเหยียดขาตรงไป ข้างหน้า - เท้าทั้งสองอยู่ห่างกันประมาณ 1 ฟุต โดยให้ฝ่าเท้าวางราบชิดกล่อง - แขนทั้งสองเหยียดตรงไปข้างหน้า 2.ผู้เข้ารับการทดสอบค่อย ๆ ก้ม ลําตัวลงและใช้ปลายนิ้วจากมือทั้ง สองดันแกนวัดระยะทางไปข้างหน้า จนไม่สามารถก้มลําตัวลงไปได้อีก ให้ ผู้เข้ารับการทดสอบก้มตัวค้างไว้ 1 วินาที ระเบียบการทดสอบ 1. ขณะที่กมเพื่อให้ปลายนิ้วแตะแกนที่วัดระยะทางไปข้างหน้านั้น เข่าจะต้องไม่งอ ้ 2. ห้ามผู้เข้ารับการทดสอบโยกตัวช่วยขณะที่ก้มลําตัวลง 3. ให้ทําการทดสอบ 2 ครั้ง การบันทึกผล 1. ให้บนทึกระยะทางเป็นเซนติเมตร ั 2. บันทึกค่าทีทาการทดสอบได้ดีที่สุด จากการทดสอบ 2 ครั้ง ่ ํ
  • 8. ยืนกระโดดไกล วัตถุประสงค์ของการทดสอบ เพื่อวัดกําลังกล้ามเนื้อขา อุปกรณ์ที่ใช้ 1.แผ่นยางสําหรับยืนกระโดดไกล 2.เทปวัดระยะไม้ที หรือไม้บรรทัด (กรณีไม่มีแผ่นยาง) 3.ปูนขาว หรือผ้าเช็ดพื้น (กรณีใช้แผ่นยาง) วิธีการปฏิบัติ 1.ท่าเริ่มต้น - ผู้เข้ารับการทดสอบ ยืนแยกเท้าห่างกันประมาณ ช่วงไหล ปลายเท้าอยู่หลังเส้นเริ่ม - ย่อเข่าพร้อมกับเหวี่ยงแขนไปด้านหน้า-หลัง เพื่อหา จังหวะในการกระโดด และเท้าทั้งสองไม่เคลื่อนที่ ท่าเตรียม กรณีไม่มแผ่นยาง ี 2.เมื่อได้จังหวะแล้ว ให้กระโดดด้วยเท้าทั้งสองข้างไปด้านหน้าให้ได้ระยะไกลที่สุด 3.วัดระยะจากจุดเริ่มไปยังส่วนของร่างกายของผู้รับ การทดสอบที่อยู่ใกล้ทสุด ี่ การบันทึกผล 1.ทําการทดสอบ 2 ครั้ง บันทึกผลการทดสอบครั้งที่กระโดดได้ไกลที่สุด 2. ให้วดระยะทางเป็นเซนติเมตร ั
  • 9. ลุกนั่ง 60 วินาที วัตถุประสงค์ของการทดสอบ เพื่อวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อท้อง อุปกรณ์ที่ใช้ 1. เบาะรองพื้น หรือสนามหญ้านุ่ม 2. นาฬิกาจับเวลา วิธีการปฏิบัติ 1.ท่าเริ่มต้น - ผู้เข้ารับการทดสอบนอนหงาย - ชันเข่าทั้งสองข้าง - เข่าทั้งสองงอเป็นมุมฉาก - เท้าทั้งสองวางห่างกันประมาณ 1 ช่วงไหล่ - ฝ่าเท้าวางราบกับพื้น - มือทั้งสองแตะไว้ที่หน้าขาทั้งสองข้าง 2.ผู้ช่วยการทดสอบนั่งอยู่ที่ปลายเท้า 3.เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้เข้ารับการทดสอบยกลําตัวขึ้นไปสู่ท่านั่ง ก้มลําตัวให้ศรษะผ่านไประหว่างเข่า ี แขนทั้งสองเหยียดตรงไปข้างหน้า และให้ปลายนิ้วแตะเส้นตรงที่อยู่แนวเดียวกับปลายเท้าทั้งสองข้าง 4.กลับสู่ท่าเริ่มต้น โดยจะต้องให้สะบักทั้งสองข้างแตะพื้น ระเบียบการทดสอบ ในการทดสอบจะไม่นับจํานวนครั้งในกรณีต่อไปนี้ 1. มือทั้งสองไม่ได้วางแตะที่บริเวณขาทั้งสองข้าง 2. ในขณะกลับลงไปสู่ท่าเริ่มต้น สะบักไม่ได้แตะพื้น 3. ปลายนิ้วมือทั้งสองข้างไม่ได้แตะเส้นที่อยู่ในระดับเดียวกับปลายเท้า 4. ผู้เข้ารับการทดสอบใช้มือยันพื้น เพื่อดันลําตัวขึ้น การบันทึกผล บันทึกจํานวนครั้งที่ทาได้อย่างถูกต้องภายในเวลา 60 วินาที ํ
  • 10. ดันพื้น 30 วินาที วัตถุประสงค์ของการทดสอบ เพื่อวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อท้อง อุปกรณ์ที่ใช้ 1. เบาะรองพื้น หรือสนามหญ้านุ่ม 2. นาฬิกาจับเวลา วิธีการปฏิบัติ ผู้ชายและผู้หญิงใช้ท่าทดสอบเหมือนกัน 1.ท่าเริ่มต้น - ผู้เข้ารับการทดสอบนอนคว่ํา ลําตัวตรง และเข่าเหยียดตรงขนานกับพื้น - ยันฝ่ามือทั้งสองข้างไว้กับพื้นให้ปลายนิ้วชี้ ตรงไปข้างหน้า - ฝ่ามือทั้งสองข้างเท่ากับช่วงไหล่ - ลําตัวจะเหยียดตรง - แขนทั้งสองอยู่ท่าเหยียดตึง 2.เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้เข้ารับการ ทดสอบยุบข้อเพื่อดันพื้นลงไป โดยทํามุม 90 องศาที่ข้อศอกทั้งสองข้าง ในขณะที่ แขนบนขนานกับพื้น แล้วยกแขนและลําตัว กลับขึ้นมาอยู่ในท่าเดิม นับเป็น 1 ครั้ง 3.กลับสู่ท่าเริ่มต้นและปฏิบัติต่อเนื่อง จนกว่าจะหมดเวลา ระเบียบการทดสอบ 1. ผู้ทดสอบจะต้องสังเกตลําตัวของผู้เข้ารับการทดสอบให้เหยียดตรง แขนทั้งสองอยู่ในท่าเหยียดตึงก่อนจะ ยุบข้อเพื่อการดันพื้นลงไป 2. เมื่อยุบข้อและดันพื้นลงไป บริเวณหน้าอกของผู้เข้ารับการทดสอบลดต่ําลงจนเกือบจะแตะบริเวณเบาะ ฟองน้ํา การบันทึกผล บันทึกจํานวนครั้งที่ทําได้อย่างถูกต้องภายในเวลา 30 วินาที
  • 11. วิ่งอ้อมหลัก วัตถุประสงค์ของการทดสอบ เพื่อวัดความคล่องแคล่วว่องไว ความเร็วและความสามารถในการทรงตัว อุปกรณ์ที่ใช้ 1. หลักสูง 100 เซนติเมตร จํานวน 6 หลัก 2. เทปวัดระยะทาง 3. นาฬิกาจับเวลา 1/100 วินาที การเตรียมสถานที่ในการทดสอบ ก่อนการทดสอบ ผู้ทดสอบจะต้องเตรียมสถานที่ดังนี้ คือ จากเส้นเริ่ม วัดระยะทางมา 5 เมตร จะเป็นจุด ในการวางหลักที่ 1 จากหลักที่ 1 ในแนวเส้นเดียวกัน วัดระยะทางจากหลักที่ 1 มา 4 เมตร จะเป็นจุดในการ วางหลักที่ 3 และเช่นเดียวกัน จากหลักที่ 3 วัดระยะทางมาอีก 4 เมตร จะเป็นจุดวางหลักที่ 5 จากหลักที่ 1, 3, 5 ทํามุม 45 องศา วัดระยะทางจุดละ 2 เมตร จะเป็นการวางหลักที่ 2, 4 และ 6 ซึ่งในแต่ละจุดนั้น ก็จะมี ระยะทางห่างกันจุดละ 4 เมตรเช่นเดียวกัน ดังรูป วิธีการปฏิบติ ั ให้ผู้เข้ารับการทดสอบยืนอยู่หลังเส้นเริ่ม เมื่อได้รับสัญญาณ “เริ่ม” ผู้เข้ารับการทดสอบจะวิ่งไปอ้อมซ้าย ในหลักที่ 1 แล้วไปอ้อมขวาในหลักที่ 2 ต่อไปจะอ้อมซ้ายในหลักที่ 3 อ้อมขวาในหลักที่ 4 อ้อมซ้ายในหลักที่ 5 และอ้อมขวาในหลักที่ 6 ต่อจากนั้นก็จะวิ่งกลับมาอ้อมขวาในหลักที่ 5 อ้อมซ้ายในหลักที่ 4 อ้อมขวาในหลักที่ 3 อ้อมซ้ายในหลักที่ 2 และอ้อมขวาในหลักที่ 1 และวิ่งผ่านเส้นเริ่มไปอย่างรวดเร็ว ระเบียบการทดสอบ หากผู้เข้ารับการทดสอบวิ่งผิดเส้นทางตามที่กําหนด หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย สัมผัสกับหลักที่วางไว้ ให้หยุดพักและทําการทดสอบใหม่ การบันทึกผล บันทึกเวลาที่ผเู้ ข้ารับการทดสอบเริ่มต้นออกวิ่งจากเส้นเริ่มไปอ้อมหลักทั้ง 6 หลักและวิ่ง กลับไปถึงเส้นชัยเป็นวินาที ทศนิยมสองตําแหน่ง
  • 12. วิ่งระยะไกล วัตถุประสงค์ของการทดสอบ เพื่อวัดความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิตและระบบหายใจ ระยะทางในการวิ่ง 1.ระยะทาง 1,200 เมตร สําหรับนักเรียนชายและนักเรียนหญิงที่มีอายุระหว่าง 7-12 ปี 2.ระยะทาง 1,600 เมตร สําหรับนักเรียนชายและนักเรียนหญิงที่มีอายุระหว่าง 13-18 ปี อุปกรณ์ที่ใช้ 1. นาฬิกาจับเวลา 1/100 วินาที 2. สนามที่มีลู่วง หรือทางวิ่งพื้นราบ ิ่ วิธีการปฏิบัติ 1.เมื่อให้สญญาณ “เข้าที่” ผูเ้ ข้ารับการทดสอบยืนให้เท้าข้างหนึ่งแตะเส้นเริ่ม ั 2.เมื่อพร้อมและนิ่ง ผู้ปล่อยตัวสั่ง “ไป” ผู้เข้ารับการทดสอบออกวิ่งไปตามเส้นทางที่กําหนดให้เร็วที่สุดเท่าที่ จะทําได้ (แม้วาจะอนุญาตให้เดินได้ แต่ก็ยังเน้นให้รักษาระดับความเร็วให้คงที่อยู่เสมอ) ่ ระเบียบการทดสอบ 1.หากผู้เข้ารับการทดสอบไม่สามารถวิ่งได้ตลอดระยะทางที่กาหนดได้ ก็ให้เดินจนครบระยะทาง ํ 2.ผู้เข้ารับการทดสอบที่ไม่สามารถวิ่ง/เดิน ได้ครบระยะทางที่กําหนดจะไม่มีการบันทึกเวลา และต้องทําการ ทดสอบใหม่ 3.หากไม่มีลู่ว่งระยะทาง 400 เมตร ก็สามารถดัดแปลงจากสนามหรือทางวิ่งให้ครบระยะทางที่กําหนดไว้ ิ การบันทึกผล บันทึกเวลาเป็นนาทีและวินาที เอกสารอ้างอิง วัลลีย์ ภัทโรภาส สุพิตร สมาหิโต และคณะ (สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ). 2553. แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสําหรับเด็กไทยระดับก่อนประถมศึกษาอายุ 4 – 6 ปี. กรุงเทพฯ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. 2549. แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทาง กายที่สัมพันธ์กับสุขภาพสําหรับเด็กไทยอายุ 7 – 18 ปี. โรงพิม พี เอส พริ้นท์. กรุงเทพฯ.