SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  69
Télécharger pour lire hors ligne
Tassaneeya chuencharoen
จุลชีววิทยา : Microbiology
 คือการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตซึ่งมองไม่เห็นด้วย
ตาเปล่า ซึ่งเรียกว่าจุลินทรีย์
จุลินทรีย์ได้แก่ แบคทีเรีย โปรโตซัว ไวรัส เชื้อรา
และ สาหร่าย
Tassaneeya chuencharoen
Tassaneeya chuencharoen
Tassaneeya chuencharoen
Escherichia coli (เอสเชอริเชีย โคไล) : E. coli(อี.โคไล)
Tassaneeya chuencharoenโปรโตซัว
Tassaneeya chuencharoen
ไวรัส
Tassaneeya chuencharoen
เชื้อรา
Tassaneeya chuencharoenสาหร่าย
ประวัติศาสตร์ของจุลชีววิทยา
แบคทีเรียถูกค้นพบเป็น
ครั้งแรกโดยแอนโทนี แวน
ลีเวนฮุก
ในปี 1676 (พ.ศ. 2219)
Tassaneeya chuencharoen
ประวัติศาสตร์ของจุลชีววิทยา
โดยใช้กล้องจุลทรรศน์เลนส์เดียวที่เขาออกแบบเองส่องจน
พบ เขาได้รับการยกย่องว่าเป็นนักจุลชีววิทยาคนแรกของโลก
ศึกษาเกี่ยวกับเซลล์ของจุลินทรีย์
เช่น โปรโตซัว (protozoa) แบคทีเรีย (bacteria) สเปิร์ม และ
เซลล์เม็ดเลือด เขาได้ชื่อว่าเป็นคนแรกที่ให้คาอธิบายเกี่ยวกับ
เซลล์เม็ดเลือดแดง (red blood cells)
Tassaneeya chuencharoen
สาขาของจุลชีววิทยา
สรีรวิทยาของจุลินทรีย์ ศึกษาหน้าที่ทางชีวเคมี
การเจริญเติบโต เมตาบอลิซึมและโครงสร้างของเซลล์ของ
จุลินทรีย์
พันธุศาสตร์ของจุลินทรีย์ ศึกษา
ความสัมพันธ์ระหว่างหน้าที่ของเซลล์
ของจุลินทรีย์และการสร้างหรือควบคุมยีน
สาขานี้มีความเกี่ยวข้องกับอณูชีววิทยา Tassaneeya chuencharoen
สาขาของจุลชีววิทยา
จุลชีววิทยาทางการแพทย์ ศึกษาบทบาทของจุลินทรีย์ใน
โรคของมนุษย์กระบวนการก่อโรคของจุลินทรีย์และระบาด
วิทยา สาขานี้มีความเกี่ยวข้องกับพยาธิวิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน
จุลชีววิทยาของสิ่งแวดล้อม ศึกษาหน้าที่และความหลากหลาย
ของจุลินทรีย์ในสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ รวมทั้งนิเวศวิทยา
ของจุลินทรีย์ บทบาทของจุลินทรีย์ในวัฏจักรสารอาหาร
Tassaneeya chuencharoen
สาขาของจุลชีววิทยา
จุลชีววิทยาของอุตสาหกรรม ศึกษาการใช้จุลินทรีย์ใน
กระบวนการทางอุตสาหกรรม ตัวอย่างเช่น การหมัก การบาบัด
น้าเสีย สาขานี้มีความเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีชีวภาพ
จุลชีววิทยาของอากาศ ศึกษาจุลินทรีย์ที่อยู่ในอากาศ
จุลชีววิทยาของอาหาร ศึกษาการเน่าเสียของอาหารที่มีสาเหตุ
จากจุลินทรีย์ Tassaneeya chuencharoen
ประโยชน์ของการศึกษาจุลชีววิทยา
จุลินทรีย์บางชนิดก็มีความจาเป็นในกระบวนการที่เป็น
ประโยชน์
เช่น การหมัก (ใช้ผลิตแอลกอฮอล์และผลิตภัณฑ์ต่างๆจากนม)
การผลิตยาปฏิชีวนะ และเป็นสื่อสาหรับโคลนนิ่งสิ่งมีชีวิต
ชั้นสูงอย่างเช่นพืช
นอกจากนี้ นักวิทยาศาสตร์ยังต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับจุลินทรีย์
ในการผลิตเอนไซม์ที่สาคัญๆด้วยวิธีทางเทคโนโลยีชีวภาพ
Tassaneeya chuencharoen
หลักปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา
การปฏิบัติการทางจุลชีววิทยาต้องอาศัยหลัก
“ปลอดภัยไว้ก่อน (safety first)” เช่นเดียวกับ
การปฏิบัติงานด้านอื่นๆ แต่มีลักษณะที่แตกต่าง
จากงานด้านอื่นคือจะต้องเน้นเรื่องความสะอาด
และปลอดภัยจากเชื้อจุลินทรีย์
Tassaneeya chuencharoen
สรุปเป็นแนวปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา
1. ควรสวมเสื้อคลุมกันเปื้อน (สีขาว) ทุกครั้งเมื่อเข้าปฏิบัติการ
2. ต้องไม่นาวัสดุอุปกรณ์ที่ไม่จาเป็น เช่น กระเป๋ าหนังสือ หรือ
อื่น ๆ มาวางไว้ในบริเวณที่จะปฏิบัติการ
3. ต้องทาความสะอาดโต๊ะปฏิบัติการ และเช็ดด้วยน้ายาฆ่าเชื้อ
(เอทธิลแอลกอฮอล์70 เปอร์เซ็นต์) ทั้งก่อนและหลัง
ปฏิบัติการ
Tassaneeya chuencharoen
สรุปเป็นแนวปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา
4. ต้องล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่ และเช็ดมือด้วยน้ายาฆ่าเชื้อ ก่อนและ
หลังปฏิบัติการทุกครั้ง
5. ต้องฆ่าเชื้อที่เข็มเขี่ย (needle) หรือห่วงเขี่ยเชื้อ (loop) ก่อนและหลัง
การเขี่ยเชื้อทุกครั้ง โดยการเผาไฟบริเวณปลายอุปกรณ์ดังกล่าวให้
ร้อนแดงก่อน แล้วเผาเรื่อยมาจนร้อนแดงตลอดความยาวของเส้น
ลวด และควรเผาให้เลยขึ้นมาถึงด้ามอีกเล็กน้อย ระวังอย่าให้มีเชื้อ
เหลือติดอยู่บนปลายเส้นลวดของอุปกรณ์ดังกล่าวมากเกินไป เพราะ
เชื้ออาจกระเด็นเปรอะเปื้อนระหว่างการเผาด้วยเปลวไฟ
Tassaneeya chuencharoen
สรุปเป็นแนวปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา
6. ห้ามวางเข็มหรือห่วงเขี่ยเชื้อบนพื้นโต๊ะปฏิบัติการ ควรจัดหาภาชนะ
สาหรับใส่หรือวางอุปกรณ์ดังกล่าว
7. ให้ทิ้งอุปกรณ์ที่ปนเปื้อนเชื้อทุกชนิดในภาชนะที่มีน้ายาฆ่าเชื้อ
8. ปรับระดับเปลวไฟจากตะเกียงให้พอดี อย่าให้เปลวอ่อนหรือแรง
จนเกินไป กรณีที่ใช้ตะเกียงบุนเสนต้องพยายามปรับให้เปลวไฟเป็น
สีน้าเงินอย่าให้มีสีเหลือง และพยายามปรับเปลวไฟให้ต่าที่สุดเท่าที่
จะทาได้และเมื่อเลิกใช้ตะเกียงแล้วจะต้องดับไฟทันที ถ้าใช้แก๊ส
จะต้องปิดวาล์วแก๊สที่ถังด้วย
Tassaneeya chuencharoen
สรุปเป็นแนวปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา
9. ควรเขี่ยเชื้อในบริเวณที่ไม่มีลมพัด ถ้าลมสงบจะดีมาก
10. หมั่นทบทวนเทคนิคเบื้องต้นทางจุลชีววิทยาให้แม่นยาที่สุด
เช่น เทคนิคปลอดเชื้อ (aseptic technique) เทคนิคการถ่ายเชื้อ
เทคนิคการปลูกเชื้อ
11. ถ้าเชื้อหกเปรอะปื้อนบริเวณปฏิบัติการให้รีบกาจัดเชื้อโดย
เทลาดด้วยน้ายาฆ่าเชื้อ หรือเช็ดด้วยน้ายาฆ่าเชื้อให้ทั่วบริเวณ
ด้วยความระมัดระวังและต้องแจ้งให้อาจารย์ผู้ควบคุมทราบ
Tassaneeya chuencharoen
สรุปเป็นแนวปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา
12. ถ้าเชื้อกระเด็นเข้าตา, ผิวหนัง, เศษแก้วบาด ให้แจ้งอาจารย์ที่
ควบคุมทราบทันที
13. ห้ามนาเชื้อจุลินทรีย์ออกนอกห้องปฏิบัติการ ก่อนได้รับอนุญาตจาก
อาจารย์ผู้ควบคุมอย่างเด็ดขาด
14. ห้ามใช้ปากหรือลิ้น อม เลีย วัตถุต่างๆ เช่น ปากกา ไม้บรรทัด บุหรี่
ฯลฯ และห้ามดื่มหรือรับประทานอาหารหรือสิ่งใดๆ ใน
ห้องปฏิบัติการโดยเด็ดขาด และหลีกเลี่ยงการกระทาใดๆ ซึ่งอาจทา
ให้เกิดการติดเชื้อเข้าสู่ร่างกายได้
Tassaneeya chuencharoen
สรุปเป็นแนวปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา
15. หลอดอาหารหรือจานเพาะเชื้อที่ปลูกเชื้อแล้ว ก่อนนาไปบ่มจะต้อง
เขียนบันทึกรายละเอียดที่จาเป็น ด้วยปากกาหรือดินสอเขียนแก้ว
ไว้บนอุปกรณ์ดังกล่าว หรืออาจเขียนไว้บนแผ่นกระดาษ แล้ววาง
หรือติดไว้บนอุปกรณ์ดังกล่าว ให้ชัดเจนและระวังอย่าให้หาย
เด็ดขาด รายละเอียดที่บันทึก เช่น รหัสเชื้อ (code number) หรือชื่อ
เชื้อ อาหารที่ใช้ทดสอบ อุณหภูมิที่ใช้วันเดือนปีที่ปลูกเชื้อ วัน
สิ้นสุดการทดลอง ผู้ดาเนินการทดลอง เป็นต้น นอกจากนี้อาจระบุ
หมายเหตุที่ควรระมัดระวัง เช่น ห้ามเคลื่อนย้าย ห้ามเปลี่ยนอุณหภูมิ
ห้ามเขย่า เป็นต้น
Tassaneeya chuencharoen
สรุปเป็นแนวปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา
16. เช็ดและทาความสะอาดอุปกรณ์ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการอย่าง
สม่าเสมอ เช่น หม้อนึ่งความดัน (autoclave) อ่างน้าควบคุม
อุณหภูมิ (water bath) ตู้อบความร้อน (hot air oven) ตู้บ่มเชื้อ
(incubator) เครื่องนับโคโลนี (colony counter) กล้อง
จุลทรรศน์ เป็นต้น กรณีของกล้องจุลทรรศน์ถ้าต้องการทา
ความสะอาดเลนส์ ต้องเช็ดด้วยกระดาษเช็ดเลนส์เท่านั้น ห้าม
ใช้วัสดุอย่างอื่นเช็ดแทนโดยเด็ดขาด
Tassaneeya chuencharoen
สรุปเป็นแนวปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา
17. การทิ้งเศษอาหารที่เป็นวุ้น ควรใส่ในถุงพลาสติกแล้วนาไป
ทิ้งในถังขยะที่จัดให้ ห้ามทิ้งเศษอาหารวุ้นลงในอ่างน้าโดย
เด็ดขาด เพราะเมื่อวุ้นแข็งตัวจะทาให้ท่อน้าอุดตันได้
18. เครื่องแก้วที่บรรจุอาหารเลี้ยงเชื้อซึ่งใช้ทดสอบแล้ว ต้อง
นาไปรวมไว้ในตะกร้าที่จัดให้ และควรรอนาไปฆ่าเชื้อ
พร้อมๆ กัน เพื่อประหยัดพลังงาน
Tassaneeya chuencharoen
สรุปเป็นแนวปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา
19. อุปกรณ์เครื่องแก้วที่แตกเสียหาย ควรแยกทิ้งในถังขยะที่จัด
ไว้ให้โดยเฉพาะ และเมื่อเกิดการเสียหายจะต้องรีบแจ้งให้
เจ้าหน้าที่ประจาห้องปฏิบัติการหรืออาจารย์ผู้ควบคุมทราบ
ทันที เพื่อจะได้พิจารณาการชดใช้ค่าเสียหายหรือดาเนินการ
อย่างหนึ่งอย่างใดตามความเหมาะสม
20. ก่อนเบิกและคืนอุปกรณ์ทุกครั้งจะต้องตรวจสภาพเครื่องมือ
ว่าอยู่ในสภาพเรียบร้อยสมบูรณ์
Tassaneeya chuencharoen
ลักษณะและโครงสร้างของแบคทีเรีย
แบคทีเรียเป็นจุลินทรีย์ที่มีขนาดเล็กมาก
มีลักษณะเซลล์เป็นแบบโพรคาริโอต (ไม่มีเยื่อ
หุ้มนิวเคลียส)
แต่ละชนิดจะมีขนาด รูปร่าง และการจัดเรียง
เซลล์ที่แตกต่างกัน
Tassaneeya chuencharoen
ขนาดและรูปร่างของแบคทีเรีย
แบคทีเรีย มีขนาด 0.5-10 ไมครอน(micron) มีรูปร่าง
ต่างๆกัน
Tassaneeya chuencharoen
ขนาดและรูปร่างของแบคทีเรีย
โดยทั่วไปมี 3 แบบด้วย
ทรงกลม (sphere) เรียกว่า ค็อกคัส (coccus) หรือ
ค็อกไค (cocci)
ทรงกระบอกหรือรูปท่อน (rod) เรียกว่า บาซิลลัส
(bacillus) หรือ บาซิลไล (bacilli)
รูปเกลียว (spiral) ที่เรียกว่า สไปริลลัม (spirillum)
หรือสไปริลไล (spirilli) Tassaneeya chuencharoen
ขนาดและรูปร่างของแบคทีเรีย
ทรงกลม (sphere) : ค็อกคัส (coccus) หรือ ค็อกไค (cocci)
- ค็อกคัส 2 เซลล์มาเรียงติดกัน เรียกว่า
ดิโพลค็อกไค (diplococci)
- หลายเซลล์เรียงกันเป็นสายยาวเรียกว่า
สเตรปโตค็อกไค (streptococci)
- สี่เซลล์เรียงกันเรียกว่า เทแทรด (tetrad)
ขนาดและรูปร่างของแบคทีเรีย
ทรงกลม (sphere) : ค็อกคัส (coccus) หรือ ค็อกไค (cocci)
- แปดเซลล์เรียงเป็นลูกบาศก์เรียกว่า
ซาสินา (sarcina)
- หลายเซลล์เรียงเป็นกลุ่มคล้ายพวงองุ่น
เรียกว่า สแตฟฟิโลค็อกไค (staphylococci)
ขนาดและรูปร่างของแบคทีเรีย
ทรงกระบอกหรือรูปท่อน (rod) : บาซิลลัส (bacillus) หรือ บาซิลไล (bacilli)
- แบคทีเรียที่มีรูปร่างเซลล์ทรงกระบอกไม่ค่อย มี
แบบแผนการเรียงตัวของเซลล์ที่เด่นชัดเท่าของเซลล์
ทรงกลม
- แต่ในระยะของการเจริญเติบโตหรือขึ้นกับสภาพ
ของการเพาะเลี้ยงในอาหารจะมีการเรียงตัว
โดยทั่วไปมักอยู่เดี่ยวๆ
ขนาดและรูปร่างของแบคทีเรีย
ทรงกระบอกหรือรูปท่อน (rod) : บาซิลลัส (bacillus) หรือ บาซิลไล (bacilli)
-ยกเว้นเซลล์บางชนิดที่ทาให้เกิดโรคคอตีบ
มักมีเซลล์เรียงติดกันเป็นชั้นหรือเป็นแถว
(palisade arrangement)
- เซลล์ที่ทาให้เกิดโรควัณโรคมักจะเรียงกัน
3 เซลล์เป็นกิ่งก้าน
ขนาดและรูปร่างของแบคทีเรีย
รูปเกลียว (spiral) : สไปริลลัม (spirillum) หรือสไปริลไล (spirilli)
- อยู่เป็นเซลล์เดี่ยวๆ
- แต่ละชนิดมีความแตกต่างกันทั้งทางด้านความยาว
จานวนเกลียว ความแข็งแรงของผนังเซลล์
- บางชนิดเซลล์ยาวและบิดเป็นเกลียวหลายเกลียว
เช่น Treponema ซึ่งจัดเป็นสไปโรขีต (spirochete)
น่ารู้
นอกจากนี้ยังมีแบคทีเรียอีกหลายชนิดที่มีรูปร่าง
แตกต่างไปจากที่กล่าวมาแล้ว
 เช่น Saprospira มีความยาวมากถึง 500
ไมโครเมตร และรูปร่างเปลี่ยนแปลงได้จากแท่ง
ตรงจนถึงรูปโค้ง
 เซลล์ของ Caulobacter sp,
Tassaneeya chuencharoen
น่ารู้
แต่ละเซลล์เป็นรูปแท่งตรง หรือปลายแหลม
เรียวทั้งสองข้างและมีก้าน (stalk) ยื่นออกมา
จากปลายหนึ่ง Streptomyces มีไมซีเลียม
(mycelium) ซึ่งเป็นเส้นใยที่แตกกิ่งก้านมาก
และสืบพันธุ์โดยสร้างสปอร์ในอากาศ บางครั้ง
เจริญโดยแตกหักของไมซีเลียม
Tassaneeya chuencharoen
การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางจุลชีววิทยา
การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางจุลชีววิทยา
Tassaneeya chuencharoen
การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางจุลชีววิทยา
Tassaneeya chuencharoen
การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางจุลชีววิทยา
Tassaneeya chuencharoen
การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางจุลชีววิทยา
ห่วงเขี่ยเชื้อและเข็มเขี่ยเชื้อ
(Inoculating loop and needle)
- เป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับการถ่าย
เชื้อแบคทีเรียจากภาชนะหนึ่งไปใส่
ในภาชนะหนึ่ง
- ทาด้วยลวดที่เป็นตัวนาความร้อน
ที่ดี เช่น nichrome หรือ platinum
การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางจุลชีววิทยา
ห่วงเขี่ยเชื้อและเข็มเขี่ยเชื้อ (Inoculating loop and
needle)
- มีด้ามถือที่เป็นวัสดุที่ไม่นาความร้อน
- ห่วงเขี่ยเชื้อมีลักษณะเป็นเส้นลวดมีปลายขดเป็น
วงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 4 มิลลิเมตร
- เข็มเขี่ยเชื้อนั้นปลายเหยียดตรง
- เมื่อเวลาจะใช้เครื่องมือทั้งสองนี้จะต้องทาให้ปราศจาก
เชื้อโดยการเผาจนกระทั่งลวดร้อนแดงและปล่อยให้เย็น
ก่อนนามาใช้
การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางจุลชีววิทยา
ตะเกียงแอลกอฮอล์
- ใช้แอลกอฮอล์เป็นเชื้อเพลิงเพื่อให้ได้เปลวเพลิงเพื่อให้ได้
เปลวไฟ
- ใช้ประโยชน์เช่นเดียวกับตะเกียงก๊าซในกรณีที่
ห้องปฏิบัติการนั้นไม่มีก๊าซ
-เปลวไฟจากตะเกียงแอลกอฮอล์ร้อนน้อย
กว่าจากตะเกียงก๊าซมาก จึงต้องใช้
เวลานานกว่าในการเผา
เพื่อให้ปราศจากเชื้อ
การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางจุลชีววิทยา
การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางจุลชีววิทยา
ตะเกียงก๊าซ (Bunsen burner)
- เป็นตะเกียงที่ใช้ก๊าซหุงต้มทาให้เกิด
เปลวไฟสาหรับใช้เผาฆ่าเชื้อที่ติดอยู่
กับเครื่องมือบางอย่าง
- เช่น เข็มเขี่ยเชื้อ ปิเปต หลอดทดลอง
ปากคีบ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในกันมาก
ในการถ่ายเชื้อ
การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางจุลชีววิทยา
จานเพาะเชื้อ (Petri dish)
- มีลักษณะคล้ายจานทรงกระบอกแบบ
ตื้น 2 ใบ สวมประกบกันสนิท
-โดยปกติทาด้วยแก้วหรือพลาสติกที่ทน
ความร้อน
- ใช้สาหรับใส่อาหารเลี้ยงเชื้อชนิดแข็ง
(agar) ทาให้มีบริเวณเนื้อที่ผิว (surface
area) กว้างเหมาะในการแยกเชื้อ
แบคทีเรียจากตัวอย่างส่งตรวจโดยทั่วไป
การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางจุลชีววิทยา
หลอดเลี้ยงเชื้อ (Culture tube)
- จาเป็นต้องใช้หลอดทดลอง (test
tube) ขนาดต่างๆ จานวนมาก
-เพื่อใช้ใส่อาหารเลี้ยงเชื้อจุลินทรีย์
หลอดทดลอง
-มีทั้งแบบปิดด้วยจุกเกลียว (screw
cap test tube) และแบบธรรมดาซึ่งใช้
สาลีอุดเป็นจุก
การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางจุลชีววิทยา
หลอดเลี้ยงเชื้อ (Culture tube)
- อาหารเลี้ยงเชื้อที่บรรจุในหลอด
ทดลองมีทั้งชนิดที่เป็นอาหารแข็ง
ประเภทวุ้น (agar) และอาหารเหลว
(broth)
- เมื่อบรรจุอาหารในหลอดทดลอง
แล้วจะต้องมีจุกปิดปากหลอดไว้เพื่อ
ป้องกันไม่ให้เชื้อจุลินทรีย์อื่นปนเปื้อน
การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางจุลชีววิทยา
หลอดดักก๊าซ (Durham tube)
- เป็นหลอดทดลองขนาดเล็กประมาณ 5x50 มิลลิเมตร
- ใช้คว่าลงในหลอดทดลองขนาดปกติที่บรรจุอาหาร
เลี้ยงเชื้อที่ต้องการทดสอบความสามารถในการใช้น้าตาล
-แล้วให้กรดและก๊าซ CO2
ก๊าซที่เกิดขึ้นจะลอยขึ้น
- จึงทาให้มีก๊าซจานวนหนึ่ง
ดันไล่ที่ของของเหลวแล้วถูกขังอยู่ที่ก้นหลอดดักก๊าซ
การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางจุลชีววิทยา
การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางจุลชีววิทยา
ปิเปต (Pipette)
- การถ่ายเชื้อในสภาพของเหลวหรือสารละลายจานวน
มากจากหลอดทดลอง จาเป็นต้องใช้ปิเปต
-ในทางจุลชีววิทยาปิเปต
ที่ใช้มักจะอุดปลายด้านที่
สาหรับดูดไว้กรองเชื้อไม่ให้
ผ่านเข้าปาก
การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางจุลชีววิทยา
ปิเปต (Pipette)
- เพื่อป้องกันเชื้อจากปากลงสู่อาหารเลี้ยงเชื้อ
- สาหรับนักเรียนให้ใช้ลูกยางแดงในการดูดปล่อย
สารละลายโดยใช้ปิเปต
- ห้ามใช้ปากเนื่องจากนักเรียน
ยังไม่มีความชานาญใน
การทาปฏิบัติการทาง
จุลชีววิทยา
การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางจุลชีววิทยา
ชุดย้อมสี (Staining set)
- ประกอบด้วยขวดสีต่างๆ หลายชนิด-
สาหรับการย้อมสไลด์แบบ Gram’s stain,
Acid fast stain หรือ Simple stain อื่นๆ
-โดยมากนิยมใช้ขวดสีชา
- เพื่อกันแสง เนื่องจากสารเคมีหลายชนิด
เปลี่ยนสภาพได้ง่ายเมื่อถูกแสงสว่าง
การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางจุลชีววิทยา
เครื่องกรองแบคทีเรีย (Bacteriological filter)
- จะมีแผ่นกรองแบคทีเรีย (membrane filter)
- ซึ่งแผ่นกรองเหล่านี้มีรูขนาดเล็กมาก (0.22-0.45 ?m)
จนกระทั่งตัวแบคทีเรียไม่สามารถผ่านได้(แต่ไวรัสผ่านได้)
- ฉะนั้นสารที่ผ่านการกรองแล้วจะปราศจากแบคทีเรียและ
สิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่มีขนาดใหญ่
กว่ารูของกระดาษกรอง
การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางจุลชีววิทยา
ตู้บ่มเชื้อ (Incubator)
- เป็นตู้อบที่สามารถปรับอุณหภูมิได้ตามความต้องการ
- มีประโยชน์ในการเพาะเลี้ยง
เชื้อแบคทีเรีย ซึ่งส่วนใหญ่เจริญ
ได้ดีที่อุณหภูมิ 37C
การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางจุลชีววิทยา
ตู้บ่มเชื้อ (Incubator)
- วิธีใช้สะดวกเนื่องจากมีหน้าปัดสาหรับหมุนเลือก
อุณหภูมิได้ตามที่ต้องการ
- ภายในตู้จะมีระบบปรับ
การไหลเวียนของอากาศทาให้
อุณหภูมิสม่าเสมอทั่วบริเวณต่างๆ
ภายในตู้อบ
การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางจุลชีววิทยา
ตู้เย็น (Refrigerator)
- ใช้ในการเก็บอาหารเลี้ยงเชื้อที่ยังไม่ต้องการใช้สารเคมี
และน้ายาที่จาเป็นต้องเก็บรักษาใน
อุณหภูมิต่าๆ เช่น ยาปฏิชีวนะ ซีรั่ม
พลาสมา เลือด และอื่นๆ
การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางจุลชีววิทยา
ตู้เย็น (Refrigerator)
- ในกรณีที่ต้องการเก็บแบคทีเรียไว้เป็นเวลานานๆ โดยไม่
ต้องการให้แบ่งตัวเพิ่มจานวนมาก
อาจเก็บไว้ในตู้เย็นได้เช่นเดียวกัน
(ยกเว้นเชื้อบางชนิดที่ตายได้ง่ายที่
อุณหภูมิต่าๆ)
การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางจุลชีววิทยา
อ่างน้าควบคุมอุณหภูมิ (Water bath)
- เป็นอ่างน้าที่ปรับอุณหภูมิได้ตามความต้องการ
- สามารถใช้บ่มเพาะเชื้อได้ในกรณีที่เลี้ยงเชื้อในอาหาร
เหลวหรือในหลอดทดลอง
-ใช้ในการเตรียมอาหารเลี้ยงเชื้อ
หรืออุ่นอาหารเลี้ยงเชื้อให้มีอุณหภูมิ
เหมาะสมสาหรับการทดลอง
การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางจุลชีววิทยา
หม้อนึ่งฆ่าเชื้อภายใต้ความดันไอน้า (Autoclave)
- เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ทุกชนิด
-เป็นวิธีที่นิยมใช้กันมาก ซึ่งสามารถฆ่าเชื้อได้โดยอาศัย
ความร้อนจากไอน้าเดือดภายใต้
ความดัน
-ลักษณะของเครื่องเป็นภาชนะโลหะ
รูปสี่เหลี่ยมหรือรูปทรงกระบอกมี
ฝาปิดที่แข็งแรง
การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางจุลชีววิทยา
หม้อนึ่งฆ่าเชื้อภายใต้ความดันไอน้า (Autoclave)
- ภายในมีช่องว่าง (chamber) สาหรับบรรจุสิ่งของที่
ต้องการฆ่าเชื้อในลักษณะเช่นเดียวกับการนึ่ง
- ด้านล่างมีช่องว่างสาหรับบรรจุน้า
- ซึ่งเมื่อต้มให้เดือดจะกลายเป็นไอ
อัดแน่นอยู่ภายใน มีอุณหภูมิสูงถึง 121C
ภายใต้ความดัน 15 ปอนด์/ตารางนิ้ว
การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางจุลชีววิทยา
หม้อนึ่งฆ่าเชื้อภายใต้ความดันไอน้า (Autoclave)
- ตามปกติถ้าวัตถุอยู่ภายในสภาพนี้นาน 10-15 นาที จะ
ปราศจากสิ่งมีชีวิตทุกอย่าง (sterile)
- เครื่องมือนี้ใช้กันมากในการเตรียมอาหารเลี้ยงเชื้อ
(media) และฆ่าเชื้อจากจานอาหาร,
หลอดทดลอง ตลอดจนใช้ทาให้เครื่องมือเครื่อง
ใช้ปราศจากเชื้อจุลินทรีย์
การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางจุลชีววิทยา
การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางจุลชีววิทยา
ตู้อบความร้อน (Hot air oven)
- เป็นตู้อบฆ่าเชื้อโดยใช้ความร้อนแห้ง (dry heat) ที่
อุณหภูมิสูงมาก เช่น อุณหภูมิ 160?Cนาน 1-2 ชั่วโมง
- เครื่องมือแบบนี้เหมาะสาหรับ
การทาลายเชื้อจากวัตถุสิ่งของที่
ทนความร้อน ไม่เสื่อมสลาย
เมื่อสัมผัสกับความร้อนสูงโดยตรง
- เช่น เครื่องแก้วต่างๆ เพื่อทาให้ปราศจากเชื้อก่อนที่
จะนามาใช้ในการทดลองทางจุลชีววิทยา
การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางจุลชีววิทยา
การขีดเชื้อ
การขีดเชื้อ
Microbiology4.5
Microbiology4.5

Contenu connexe

Tendances

การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนWan Ngamwongwan
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงOui Nuchanart
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชพัน พัน
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทWichai Likitponrak
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ Thitaree Samphao
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศKatewaree Yosyingyong
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจWan Ngamwongwan
 

Tendances (20)

การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
ย่อยอาหาร
ย่อยอาหารย่อยอาหาร
ย่อยอาหาร
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
Tissue oui
Tissue ouiTissue oui
Tissue oui
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืช
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
 
จุลชีววิทยา1
จุลชีววิทยา1จุลชีววิทยา1
จุลชีววิทยา1
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 

En vedette

บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์Wan Ngamwongwan
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตSumalee Khvamsuk
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราพัน พัน
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจพัน พัน
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชtarcharee1980
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจkrunidhswk
 
การสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 moneraการสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 moneranazmnazm070838
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราPinutchaya Nakchumroon
 

En vedette (16)

บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
 
Cell
CellCell
Cell
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
Monera kingdom
Monera kingdomMonera kingdom
Monera kingdom
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
 
Cell.ppt25 copy
Cell.ppt25   copyCell.ppt25   copy
Cell.ppt25 copy
 
Cell
CellCell
Cell
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
Microbiology
Microbiology Microbiology
Microbiology
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
 
การสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 moneraการสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 monera
 
Kingdom
KingdomKingdom
Kingdom
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 

Plus de kkrunuch

หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มkkrunuch
 
เอกสารโคมไฟ
เอกสารโคมไฟเอกสารโคมไฟ
เอกสารโคมไฟkkrunuch
 
สื่อการสอน Internet 2559
สื่อการสอน Internet  2559สื่อการสอน Internet  2559
สื่อการสอน Internet 2559kkrunuch
 
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคน
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคนใบความรู้ เรื่อง แอลเคน
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคนkkrunuch
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกkkrunuch
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนkkrunuch
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีkkrunuch
 
ส่วนประกอบของโปรแกรม Flie album
ส่วนประกอบของโปรแกรม Flie albumส่วนประกอบของโปรแกรม Flie album
ส่วนประกอบของโปรแกรม Flie albumkkrunuch
 
เรื่องสารรอบตัว ครูเจริญ มีเหมือน
เรื่องสารรอบตัว  ครูเจริญ  มีเหมือนเรื่องสารรอบตัว  ครูเจริญ  มีเหมือน
เรื่องสารรอบตัว ครูเจริญ มีเหมือนkkrunuch
 
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3kkrunuch
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชาkkrunuch
 

Plus de kkrunuch (11)

หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม
 
เอกสารโคมไฟ
เอกสารโคมไฟเอกสารโคมไฟ
เอกสารโคมไฟ
 
สื่อการสอน Internet 2559
สื่อการสอน Internet  2559สื่อการสอน Internet  2559
สื่อการสอน Internet 2559
 
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคน
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคนใบความรู้ เรื่อง แอลเคน
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคน
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
ส่วนประกอบของโปรแกรม Flie album
ส่วนประกอบของโปรแกรม Flie albumส่วนประกอบของโปรแกรม Flie album
ส่วนประกอบของโปรแกรม Flie album
 
เรื่องสารรอบตัว ครูเจริญ มีเหมือน
เรื่องสารรอบตัว  ครูเจริญ  มีเหมือนเรื่องสารรอบตัว  ครูเจริญ  มีเหมือน
เรื่องสารรอบตัว ครูเจริญ มีเหมือน
 
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
 

Microbiology4.5