SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  32
1




                                                   บทที่4
   การคิด คำา นวณนำ้า หนัก ภาระงานของวิช าชีพ พยาบาล
หลัก การและแนวคิด

       แนวคิดเรื่องการคิดคำานวณนำ้าหนักภาระงานของวิชาชีพ
พยาบาล มีหลักการสำาคัญที่ใช้ในการคำานวณภาระงาน คือการถ่วง
นำ้าหนักภาระงานของพยาบาลแต่ละสาขาของการจัดบริการพยาบาล
ในหน่วยบริการ เพื่อแปลงค่าของกิจกรรมการให้บริการทางการ
พยาบาลเป็นหน่วยนับที่สามารถนำามาเทียบเคียงกิจกรรมแต่ละ
กิจกรรมได้ ซึ่งจะสามารถนำามาใช้ประโยชน์ในทางการบริหาร
ทางการพยาบาลทั้งการกำาหนดค่าตอบแทนตามนโยบายการกำาหนด
ค่าตอบแทนตามภาระงาน หรือการบริหารอัตรากำาลังตามปริมาณ
งาน ซึ่งจะเป็นการบริหารทางการพยาบาลที่สอดคล้องกับข้อกำาหนด
ตามมาตรฐานวิชาชีพและประกาศกำาหนดของสภาการพยาบาล
นอกจากนี้ยังสามารถเทียบเคียงภารกิจที่พยาบาลปฏิบัติกับวิชาชี
พอื่นๆได้ การดำาเนินการคิดค่าภาระงานเพื่อจ่ายค่าตอบแทนตาม
ภาระงาน มีโรงพยาบาลที่มีการดำาเนินการเรื่องการจ่ายค่าตอบแทน
ตามภาระงานแล้ว ได้แก่ โรงพยาบาลพาน จังหวัดเชียงราย โรง
พยาบาลสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา และ อีก 10 โรงพยาบาล ที่
เข้าร่วมโครงการพัฒนาการจ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน ปี 2552
ของกระทรวงสาธารณสุข มีทั้งโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป
และโรงพยาบาลชุมชน ซึ่งโรงพยาบาลที่ดำาเนินงานจนประสบความ
สำาเร็จและยังดำาเนินงานในขณะนี้ได้แก่โรงพยาบาล พาน จังหวัด
เชียงราย ซึ่งถือได้ว่าเป็นต้นแบบของหน่วยงานในการจ่ายค่า
ตอบแทนตามภาระงาน ที่ก่อให้เกิดคุณภาพการให้บริการ พร้อมทั้ง
สร้างสรรค์ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในกระบวนการ
พยาบาล ทั้งด้านการบริหาร ด้านการบริการพยาบาล และ ด้าน
วิชาการ โดยไม่มีผลกระทบกับภาระกับงบประมาณของหน่วยงานแต่
กลับมีผลพลอยได้ที่ทำาให้เกิดขวัญกำาลังใจของคนทำางานมากกว่า
หลายหน่วยงานที่ยังคงจ่ายค่าตอบแทนตามระเบียบปฏิบัติ การคิด
ค่าของภาระจึงเป็นกิจกรรมที่สามารถสร้างคุณค่าในการบริหารอย่าง
เป็นรูปธรรมได้มากขึ้น เอกสารฉบับนี้เกิดจาการรวบรวม
ประสบการณ์การทำางานและการทบทวนเอกสารเพื่อจัดทำาเป็นร่าง



      กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี   พฤศจิกายน 52
2


แนวทางการคิดค่าภาระงานของสายงานพยาบาล อันจะทำาให้เกิด
ประโยชน์ต่อผู้ที่ศึกษาเอกสารฉบับนี้ต่อไป

การกำา หนดกิจ กรรมทางการพยาบาล
      ในการจัดบริการทางการพยาบาล ของหน่วยบริการสุขภาพ
พยาบาลในหน่วยบริการสุขภาพ มีขอบเขตของภาระหน้าที่ ทั้ง ด้าน
การบริหารการพยาบาล ด้านปฏิบัติการพยาบาล ด้านวิชาการ โดย
พยาบาลแต่ละคนอาจจะต้องปฏิบัติงานทั้ง 3 บทบาท หรือบาง
บทบาท นำ้าหนักการปฏิบัติงานของแต่ละบทบาทจะด้านใดมากหรือ
น้อย ขึ้นกับหน่วยงานที่ปฏิบัติ และ ตำาแหน่งหน้าที่ที่รับผิดชอบ ดัง
นั้นในการกำาหนดนำ้าหนักตามภาระงานจึงกำาหนดตามบทบาทหน้าที่
ของพยาบาลแยกรายหน่วยงาน รายกิจกรรม มีหลักในการคิด โดย
ใช้เวลาเป็นพื้นฐานของการกำาหนดนำ้าหนักคะแนน เริ่มต้น ผันแปร
ค่าคะแนนของกิจกรรมเดียวกันแต่กระทำาโดย บุคคลากรต่างวิชาชีพ
ด้วยการถ่วงนำ้าหนักค่าวิชาชีพ (ในที่นี้กำาหนดค่าวิชาชีพตามค่า
ตอบแทนล่วงเวลา) และค่าของงานที่ปรับเพิ่มจำานวนเท่าของแต้ม
หลังปรับค่าวิชาชีพแล้วด้วยการถ่วงนำ้าหนักทั้งจากความยุ่งยากซับ
ซ้อน ความสำาคัญ ความเร่งด่วน คุณภาพของงาน ความรับผิดชอบ
อีกครั้ง เพื่อให้งานที่ดำาเนินการโดยบุคลากรวิชาชีพเดียวกัน มีเวลา
เท่ากันแต่ แต่ลักษณะงานที่มีความยากหรือความเร่งด่วนไม่เท่ากัน
ดังมีรายละเอียดของการดำาเนินการคิดค่าภาระงานของแต่ละ
กิจกรรม ทั้ง 3 ด้านดังนี้

        1. ด้า นการบริห ารการพยาบาล
           ภาระงานทางด้านการบริหารการพยาบาล ไม่สามารถ
           กำาหนดกิจกรรมในรายละเอียดที
ตายตัวได้ดังนั้นการกำาหนดนำ้าหนักของภาระงานตามกิจกรรมแต่
ครั้งที่ทำาจึงไม่สอดคล้องกับภาระงานดังกล่าว การกำาหนดนำ้าหนัก
ด้านการบริหารจึงควรกำาหนดตามตำาแหน่ง แต่ต้องสามารถนำาความ
สำาเร็จตามตัวชี้วัดมาเป็นการกำาหนดร่วมกับความรับผิดชอบของผู้
บริหารในแต่ละระดับ เป็นกรอบในการทำาข้อกำาหนดขั้นต้น ตาม
ระดับของการบริหาร ในการนำาการคิดค่าภาระงานหากต้องนำามา
เทียบค่าของค่าตอบแทนควรเป็นการคำานวณค่าตอบแทนโดยใช้การ
กำาหนดค่าตายตัว( Fix rate ) เพื่อเป็นค่าของการบริหารงานที่
สำาเร็จตามตัวชี้วัด หรือ การคำานวณจากดัชนี้ความสำาเร็จของงาน



       กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี     พฤศจิกายน 52
3


ตามที่กำาหนด หรือ การจัดสัดส่วนจากงบประมาณ ที่ได้รับจัดสรร
โดยแยกระดับผู้บริหารทางการพยาบาลเป็น 3 กลุ่ม คือ
           ผู้บริหารระดับสูง   คือ หัวหน้ าพยาบาล สัดส่ว นค่ า
    ตอบแทนทั้งหมด 33%
           ผู้บริหารระดับกลาง คื อ หั ว ห น้ า ง า น สั ด ส่ ว น ค่ า
    ตอบแทนทั้งหมด 33%
           ผู้บริหารระดับต้น   คื อ หั ว ห น้ า ตึ ก สั ด ส่ ว น ค่ า
    ตอบแทนทั้งหมด 34%
       ผู้บริหารระดับ          รพศ          รพท           รพช       สอ/PCU/ รพ.สต.
      ผู้บริหารระดับสูง   หัวหน้า       หัวหน้า       หัวหน้า       ผอ รพ.สต.
                          พยาบาล        พยาบาล        พยาบาล        หัวหน้าสอ./

      ผู้บริหารระดับ      -หัวหน้างาน   -หัวหน้างาน   หัวหน้างาน    พยาบาลวิชาชีพ
      กลาง
      ผู้บริหารระดับ      หัวหน้าตึก    หัวหน้าตึก
      ต้น


      2. ด้า นบริก ารพยาบาล
      ด้านการให้บริการทางการพยาบาลมีความแตกต่างกันมาทั้ง
ประเภทของหน่วยงาน เช่น งานผู้ป่วยนอก งานอุบัติเหตุฉุกเฉิน งาน
ห้องคลอด เป็นต้น ประเภทของผู้รับบริการ เช่นผู้ป่วยต้องรับรักษา
ในหอผู้ป่วยหนัก ผู้ป่วยกึ่งหนัก ผู้ป่วยรอกลับบ้าน ประเภทของ
กิจกรรม เช่นบางกิจกรรมอาจทำาได้ด้วยคนเดียว แต่บางกิจกรรม
ต้องการการทำางานร่วมกันเป็นทีมเช่น การช่วยฟื้นคืนชีพ บาง
กิจกรรมต้องประกอบด้วยกิจกรรมหลายกิจกรรมมารวมกันจึงเป็น
หนึ่งกิจกรรมเช่น การพยาบาลผู้ป่วยรับใหม่ ความแตกต่างดัง
กล่าวทำาให้การให้ค่านำ้าหนักของงานแต่ละกิจกรรมจึงควรสอดคล้อง
กับลักษณะงานทำางานที่แท้จริงและไม่สร้างความยุ่งยากในการจัด
เก็บข้อมูล ดังนั้นการจัดแบ่งกิจกรรม จึงมีความจำาเป็นต้องมีความ
ชัดเจนและกำาหนดคำาจำากัดความ
      ภาระงานการให้บริการของวิชาชีพพยาบาล จะคิดเป็นค่า WP
หรือ workload point ซึ่งพิจารณาจากกิจกรรมที่ให้บริการผู้ป่วย
เป็นฐานในการคิดคำานวณ มีแนวทางในการรวมค่า WP ให้แก่
พยาบาลเป็นรายบุคคลมี 3 รูปแบบ ดังนี้

     รูปแบบ a ระดับ ทีม เป็นกิจกรรมที่บุคลากรทำางานมากกว่า
             1 คน กิจกรรมนี้เมื่อคิดค่า WP จะต้องหารเฉลี่ย


       กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี                  พฤศจิกายน 52
4


                 แต้ม ต่อ คนด้วยจำานวนบุคคลากรที่เข้าร่วมทำา
                 กิจกรรมในทีม ซึ่งอาจหารจำานวนคนเท่ากันทุกคน
                 หรือเป็นสัดส่วนตามบทบาทหน้าที่ของแต่ละคนใน
                 ทีม เช่น
กรณีก ารจัด แบ่ง สัด ส่ว นเท่า กัน ของบุค คลากรในทีม
      ได้แก่กรณี หอผู้ป่วยใน นำาจำานวน WP รวมกันทั้งเวรแล้วหาร
ด้วยจำานวนพยาบาลที่ขึ้นเวรนั้นๆ หากเวรนั้นมีจำานวนพยาบาลขึ้น
ปฏิบัติงานมาก ก็ทำาให้ตัวหารมีมาก ผลลัพธ์ที่ได้ ค่า WP จะน้อย
เป็นการเกลี่ยค่าตอบแทนให้แก่พยาบาลที่มีภาระงานมาก แม้อยู่ใน
วอร์ดเดียวกันแต่หากแต่ละเวรมีปริมาณผู้รับบริการที่แตกต่างกัน มี
จำานวนผู้ปฏิบัติงานที่ไม่เท่ากัน ทำาให้พยาบาลแต่ละเวร ได้รับค่า
ตอบแทนที่ไม่เท่ากัน ได้แก่การคำานวณภาระงานตามประเภทผู้ป่วย
ในแต่ละเวร โดยคำานวณจากผู้ป่วยแต่ละราย ตัวอย่างเช่นผู้ป่วยใน
ประเภท Need ICU 1 รายเท่ากับ 10 WP ( ตัวเลขสมมุติ) หากมีผู้
ป่วย 16 ราย เท่ากับ 160 WP ในเวรมีพยาบาลขึ้นปฏิบัติงาน เวร
เช้า 4 คน จะได้รับคนละ 40 WP เวรบ่าย พยาบาลขึ้นปฏิบัติงาน 3
คน จะได้รับคนละ 53 WP และ เวรดึก พยาบาลขึ้นปฏิบัติงาน 2 คน
จะได้รับคนละ 80 WP หรือกรณีผู้ป่วยคลอด 1 ราย เท่ากับ 20
WP( ตัวเลขสมมุติ) มีผู้ทำาคลอดและช่วยคลอด 2 คน จะได้รับ
คนละ 10 WP

ในกรณีการแบ่ง สัด ส่ว น WP ตามบทบาทหน้า ที่
      ได้แก่กรณีงาน งานห้องผ่าตัดมีการแบ่งกระบวนการทำางานที่
ไม่เท่ากัน เช่นพยาบาล Scrub nurse มือ 1 อาจให้ค่ามากกว่า
Scrub nurse มือ 2 และ Scrub nurse มือ 2 มีสดส่วนมากกว่า
                                                      ั
Circulate Nurse จำา เป็น ต้อ งมีก ารกำา หนดนำ้า หนัก ที่แตกต่าง
กันตามเกณฑ์การถ่วงนำ้าหนัก เช่น เมื่อออกมา อาจเป็นว่า Scrub
nurse มือ 1; Scrub nurse มือ 2 ; Circulate Nurse อาจมีค่า
เท่ากับ 1.5 : 1.2 : 1 ดังนั้น การทำาผ่าตัด Appendix ที่ มีค่า
เท่ากับ 30 WP( ตัวเลขสมมุติ) พยาบาล Scrub nurse มือ 1 จะได้
เท่ากับ 12 WP Scrub nurse มือ 2 ได้ เท่ากับ 10 WP และ
Circulate Nurse 8 WP
      รูปแบบ b ระดับ บุค คล ได้เฉพาะพยาบาลที่ปฏิบัติภารกิจนั้นๆ
                อนึ่ง ต้องเป็นงานที่ต้องรับผิดชอบสูง มีประสบการณ์
                งานที่ต้องใช้บุคลากรระดับวิชาชีพ หรือเป็น งาน
                เสี่ยง เช่น การฉีดยา การให้อาหารทางสายยาง


      กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี     พฤศจิกายน 52
5


               การให้เลือด การตรวจภายในเพื่อประเมินความ
               ก้าวหน้าการคลอด งานมอบหมายกรณีพิเศษ งาน
               สำาคัญ แต่ไม่มีใครอาสาทำา หรืองานอาสาสมัครที่หา
               คนไปทำายาก เช่น หัวหน้าเวร (in-charge) ค่า
               คะแนนของแต่ละกิจกรรมเป็นการคำานวณตาม
               ปริมาณงานที่ปฏิบัติได้คูณกับจำานวน WP ในงานนั้น
               เช่นการให้เลือด = 3 WP ( ตัวเลขสมมุติ) หากวัน
               นั้นให้เลือด จำานวน 1 ราย คิดเป็น 3 WP เป็นต้น

     รูปแบบ c ระดับ หน่ว ยงาน เป็นกิจกรรมที่ถูกประเมินทั้ง
               งานหน่ว ยงาน หรือวอร์ด ตามตัวชี้วัดที่หน่วยงาน
               รับผิดชอบและส่งผลต่อปริมาณงาน ความเสี่ยง
               รายรับ รายจ่าย ของโรงพยาบาล เช่น อัตราการ
               ครองเตียง อัตราการใช้ห้องผ่าตัด อัตราความพึง
               พอใจของผู้รับบริการ หรือจำานวนผู้ร้องเรียน ( มีค่า
               5-10 WP ขึนอยู่กับความเสี่ยงน้อย-มาก) เป็นต้น
                             ้
               พยาบาลแต่ละบุคคลไม่ว่าจะอยู่เวรกะใดก็ตาม เมื่อ
               ถูกประเมินทั้งหน่วยงาน ผลขอค่าคะแนนจะเป็น
               คะแนนของพยาบาลทุกคนในหน่วยงานนั้น ทำาให้
               พยาบาลแต่ละคนจะได้รับค่าคะแนนเท่าๆ กันหมด
               อาจตั้งต้นที่ 10 WP หรือ 5 WP แล้วลดลงตาม
               เงื่อนไข ดังนี้
                 • ตามสัดส่วนที่ผลงานสำาเร็จ กล่าวคือ 100% =
                     10 WP( ตัวเลขสมมุติ)
                 • ตามจำานวนนับที่กำาหนดอัตราไว้ เช่น จำานวนผู้
                     ร้องเรียนของวอร์ดศัลย์ได้ค่าตั้งต้น 5WP หัก
                     รายละ 1WP มีผู้รองเรียนทั้งหมดใน 6 เดือน
                                     ้
                     เท่ากับ 2 ราย พยาบาลในหน่วยงานนั้นก็จะได้
                     คนละ 3WP
ด้านวิชาการ
         ภาระงานในด้านนี้แม้นจะไม่ได้เป็นภาระงานหลักของหน่วย
         งานด้านการให้บริการ
สุขภาพ แต่การพัฒนาบุคคลากรหรือการพัฒนากระบวนการทำางาน
ใหม่ๆที่สนับสนุนให้การจัดบริการมีคุณภาพมากขึ้นย่อมส่งผลต่อทั้ง
โรงพยาบาล และผู้รับบริการเช่นกัน โดยเฉพาะงานวิชาการที่


       กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี    พฤศจิกายน 52
6


สนับสนุนให้การทำางานที่รวดเร็วขึ้น ประหยัดมากขึ้น ส่งผลให้
ประสิทธิภาพการรักษาผู้รับบริการดีขึ้น ลดความเสี่ยงทั้งผู้รับบริการ
และผู้ให้บริการ เช่น การพัฒนางานวิจัย การสร้าง นวัตรกรรม
ใหม่ๆ การทบทวนการดูแลผู้ป่วย การล้วนแล้วแต่เกิดจากการ
พัฒนาด้านวิชาการ ในด้านวิชาการยังรวมถึงการสนับสนุนการเรียน
การสอนของนักศึกษาที่มาฝึกปฏิบัติการ การถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้
มาศึกษาดูงาน หรือการเป็นวิทยากร ในเวทีต่างๆ ในการคิดค่าภาระ
งาน จึงเป็นการคิดค่าคะแนนจากผลงานที่เกิดขึ้นระดับบุคคล โดยวัด
ได้ทั้งจากกระบวนการและผลสำาเร็จของงาน เช่น หากสามารถ
ทำางานวิจัยและผลงานวิจัยได้รับการเผยแพร่ มีค่าเท่ากับ 5 WP (
ตัวเลขสมมุติ) เป็นทีมงานวิจัย เรื่องละ 0.5 WP สอนนักศึกษา
พยาบาล 1 WP / 8 ชม ผลิตผลงานด้าน CQI 1 เรื่อง =1 WP

ขั้น ตอนการดำา เนิน การคิด นำ้า หนัก ภาระงานสายงาน
พยาบาล

ขั้น ที่ 1 การกำา หนดนำ้า หนัก คะแนนต่อ กิจ กรรม
    1. การวิเ คราะห์ก ิจ กรรม ตามกระบวนการของการปฏิบัติงาน
        ที่ปฏิบัติอยู่ของแต่ละตำาแหน่ง แต่ละหน่วยงาน โดยการกำาหนด
        กิจกรรมที่จะนำามาใช้ในการคิดค่าภาระงาน ซึ่งกิจกรรมที่จะ
        นำามาคำานวณควรเป็นกิจกรรมที่มีการเปลี่ยนแปลง ตามปริมาณ
        งานที่เกิดจากการให้บริการ หรือจำานวนผู้รับบริการ หรือความ
        รุนแรงตามประเภทของผู้ป่วย หรือเป็นกิจกรรมที่สร้างคุณค่า
        ของการให้บริการ กิจกรรมพื้นฐานการทำางานที่ต้องกระทำาอยู่
        เป็นประจำา เช่นการเตรียมหน่วยงาน การตรวจนับยา(OK ยา)
        การตรวจนับจำานวนเครื่องมือ(OK เครื่องมือ) การส่งข้อมูลเพื่อ
        การดูแลต่อเนื่อง( การส่งเวร) ไม่ควรถูกนำามาคิด( ซึ่งทุกคน
        มีเงินเดือนเป็นค่าตอบแทนพื้นฐานอยู่แล้ว กิจกรรมที่เป็นงาน
        ประจำาจึงเป็นภาระที่ทุกคนต้องรับผิดชอบกระทำาให้มีความ
        พร้อมต่อการให้บริการ ) ดังนั้นกิจกรรมที่จะนำามาเทียบเคียง
        ภาระงานจึงเป็นกิจกรรมที่แต่ละหน่วยงาน แต่ละตำาแหน่งต้อง



       กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี     พฤศจิกายน 52
7


ปฏิบัติที่อาจไม่เหมือนกันหรือคล้ายกัน โดยกิจกรรมนั้นมีความ
แตกต่างตามภาระงานแต่ละวันแต่ละเวร ให้ดำาเนินการดังนี้
      1.1 กำา หนดชื่อ ของกิจ กรรม ที่สามารถสื่อสารให้เข้าใจ
           ได้ตรงกัน ในการกำาหนดชื่อกิจกรรมควรเป็นชื่อที่
           สะท้อนว่าทำากิจกรรมอะไร หากกิจกรรมใดมีราย
           ละเอียดหรือขั้นตอนของกิจกรรมจำานวนมาก สามารถ
           กำาหนดเป็นกิจรรมรวมหรือจำาแนกตามขั้นตอนของ
           กิจกรรมก้อได้ แต่ไม่ควรจำาแนกกิจกรรมละเอียดมาก
           เกินไปเพราะอาจมีผลต่อจำานวนรายการของกิจกรรม
           ที่ม าก       ทำา ให้เ ป็น ภาระในการจัด เก็บ ข้อ มูล
           เมื่อนำาไปปฏิบัติ
      1.2 กำาหนด หน่ว ยนับ ของกิจกรรม ต้องมีความชัดเจน
           เพราะบางกิจกรรมอาจสามารถนับได้หลายรูปแบบ จึง
           มีความจำาเป็นต้องกำาหนดให้ชัดว่าเป็นราย เป็นครั้ง
           หรือเป็นชิ้นงาน เพื่อให้การจัดเก็บข้อมูลมีความตรง
           กันของทุกหน่วยงาน
      1.3 กำาหนดประเภทของกิจกรรม ซึ่งแบ่งออกเป็น 3
           ประเภทคือ
                  1.3.1 ประเภท a ว่ากิจกรรมดังกล่าวเป็น
                        กิจกรรมประเภทที่ต้องทำางานด้วยหลาย
                        กิจกรรมประกอบกันและเป็นการทำางาน
                        ร่วมกันหลายคน ซึ่งมีนำ้าหนักในกิจกรรมที่
                        ทำาใกล้เคียงกัน กำาหนดเป็นประเภทที่ต้อง
                        หารเฉลี่ยกันทั้งเวร
                  1.3.2 ประเภท b หากกิจกรรมใดเป็นการทำางาน
                        โดยคนเดียวเป็นส่วนใหญ่ หรืออาจมีคน
                        ทำางานร่วมแต่ปริมาณงานอาจหนักไปที่คน
                        ใดคนหนึ่ง เช่นการฉีดยา ถึงแม้นจะมี
                        การเตรียมยาโดยคนหนึ่งแต่การฉีดเป็นอีก
                        คน อาจกำาหนดเป็นกิจกรรมที่ให้หน่วยกับ
                        คนฉีดยา หรือการเย็บแผล อาจมีคนช่วย


 กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี        พฤศจิกายน 52
8


                    เตรียมหรือเพิ่มเติมเครื่องมือ แต่ควร
                    กำาหนดเป็นกิจกรรมหลักสำาหรับคนที่ทำา
                    หน้าที่เป็นคนเย็บแผล เป็นต้น กำาหนดเป็น
                    ประเภท b
              1.3.3 ประเภท c คือกิจกรรมที่ต้องร่วมมือกันทำา
                    ทั้งหน่วยงานเพื่อให้เกิดคุณภาพของงาน
                    ซึ่งกิจกรรมกลุ่มนี้เป็นกิจกรรมตามตัวชี้วัด
                    KPI หรือกิจกรรมด้านคุณภาพ ที่นำามาคิด
                    ภาระงานที่เป็นภาระงานด้านคุณภาพ(
                    Quality point) ที่นำามาจัดสรรให้กับ
                    บุคลากรทั้งหน่วยงานเท่าเทียมกัน เช่น
                    ร้อยละของแฟ้มประวัติที่มีการบันทึก
                    ทางการพยาบาลที่สมบูรณ์ อัตราการติด
                    เชื้อในแผลสะอาด ซึ่งต้องนำามาเทียบ
                    เคียงกับเป้าหมายที่กำาหนด ก่อนกำาหนด
                    เป็นนำ้าหนักคะแนน
    1.4 กำาหนดคำา จำา กัด ความ ของกิจกรรม โดยเฉพาะ
       กิจกรรมประเภท a ควรกำาหนดว่ามีองค์ประกอบการ
       ทำางานอะไรบ้าง ขั้นตอนนี้มีความสำาคัญอย่างยิ่ง โดย
       เฉพาะกิจกรรมที่มีองค์ประกอบของขั้นตอนหลายขั้น
       ตอน ในการทำางาน หรือประกอบด้วยกิจกรรมหลาย
       กิจกรรมจากบุคลากรหลายประเภท เช่น การรับใหม่ผู้
       ป่วยใน (ประกอบด้วย การประเมินสภาพผู้ป่วย การจัด
       ผู้ป่วยเข้าเตียง การเตรียมเครื่องมือพิเศษ การให้คำา
       แนะ การจัดทำาแฟ้มประวัติ เป็นต้น) หากกำาหนดราย
       ละเอียดของคำาจำากัดความไม่ครอบคลุม อาจทำาให้ผู้
       จัดเก็บกิจกรรมมีความรู้สึกว่างานที่ทำาไม่ได้ถูกประเมิน
       แต่ถ้าครอบคลุมทุกรายละเอียดมากเกินไป กิจกรรม
       บางอย่างที่เป็นภาระงานที่สำาคัญอาจไม่ถูกประเมินได้
       เช่น ถ้ารวมการให้การรักษาตามแผนการรักษา ใน
       กระบวนการรับใหม่ด้วย เช่นการให้ยา ย่อมทำาให้การ



กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี       พฤศจิกายน 52
9


               ให้ยาที่ผู้ป่วยแต่ละรายที่มีรายการให้ที่แตกต่างกัน ไม่
               เกิดความเป็นธรรมกับผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่ต้องมี
               การให้ยาหลายรายการขณะที่บางหน่วยไม่มีการให้
               ยาเป็นต้น ดังนั้นการให้คำาจำากัดความจึงมีความ
               สำาคัญอย่างมากต่อกิจกรรมที่มีกระบวนการหรือขั้น
               ตอนหลายอย่างในกิจกรรมเดียวกัน และยังเป็นการ
               สือสารทำาความเข้าใจให้ตรงกันของผู้จัดเก็บข้อมูล
                 ่
               แต่ละหน่วยงาน ไม่ให้เกิดความซำ้าซ้อนของการเก็บ
               ข้อมูลด้วยเช่นกัน
           1.5 กำาหนดประเภทของบุค ลากร ที่รับผิดชอบหลัก ใน
               การทำากิจกรรม ด้วยกิจกรรมบางรายการที่กำาหนดเป็น
               ประเภท b แต่มีผู้มีส่วนร่วมหลากหลายวิชาชีพหรือมี
               ผู้รับผิดชอบบางส่วน ควรต้องกำาหนดประเภทของ
               บุคลากรในกิจกรรมนั้นด้วย ซึ่งจะได้สามารถนำามา
               คำานวณนำ้าหนักของกิจกรรมตามประเภทของบุคคลา
               กรด้วย เนื่องจากบางกิจกรรมที่เหมือนกันแต่การให้
               บริการกับผู้รับบริการที่แตกต่างกันอาจต้องการบุคคลา
               กรที่ แตกต่างกันจึงควรมีค่าคะแนนที่ไม่เท่ากัน เช่น
               การตรวจวัดสัญญาณชีพผู้ป่วย หากเป็นแผนกผู้ป่วย
               นอกอาจกำาหนดเป็นหน้าที่หลักของผู้ช่วยเหลือคนไข้
               แต่เมื่อให้บริการที่แผนกผู้ป่วยหนักต้องเป็นหน้าที่ของ
               พยาบาลวิชาชีพ ค่านำ้าหนักการวัดสัญญาณชีพของ
               ทั้ง 2 แผนก อาจใช้เวลาเท่ากันแต่นำ้าหนักของค่า
               คะแนนการทำางานจึงไม่ควรเท่ากัน




ตัว อย่า งการการ กำา หนดชื่อ กิจ กรรมและคำา จำา กัด ความ

  ชื่อกิจกรรม    หน่วย    ประเ       คำาจำากัดความ      ประเภทบุคคลา



      กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี        พฤศจิกายน 52
10


                     นับ     ภท                                    กร
การพยาบาลผู้         ราย      a   การคัดกรองนำ้าหนัก       พยาบาล
ป่วยนอก                           ส่วนสูง BMI สัญญาณ       วิชาชีพ 1 คน
                                  ชีพ ซักประวัติก่อนตรวจ ผู้ช่วยเหลือ
                                  การดูแลขณะตรวจ การ คนไข้ 1 คน
                                  ดูแลหลังตรวจ การนัดผู้
                                  ป่วย
การพยาบาลผู้         ครั้ง   b    การวัดไข้ก่อนการเช็ด     พยาบาล
ป่วยที่ต้อง                       ตัว การเช็ดลดไข้ด้วยนำ้า วิชาชีพ
ปฐมพยาบาล เช่น                    การวัดไข้หลังการเช็ด
เช็ดตัวลดไข้                      ตัว
อัตราความพึง        ร้อยละ   c    การประเมินความพึง        ทั้งหน่วยงาน
พอใจ                              พอใจโดยกรรมการ
                                  ประเมินความพึงพอใจ
                                  โดยการสุ่มประเมินทุก
                                  เดือน
การตรวจรักษาผู้      ครั้ง   b    การตรวจวินิจฉัย สั่งยา พยาบาล
ป่วย นอก โดย                      และการบันทึกผลการ        วิชาชีพ
พยาบาล                            รักษาการวินิจฉัยใน
                                  โปรแกรมคอมพิวเตอร์
                                  ตาม DRG
การช่วยฟื้นคืนชีพ    ครั้ง   b    การช่วยฟื้นคืนชีพ ผู้    พยาบาล
CPR (ทีมละ 4                      ป่วยทั้งการให้ออกวิเจน วิชาชีพ 2 คน
คน)                               ทางหน้ากากหรือการใส่ EMT หรือ TN
                                  ท่อช่วยหายใจ การให้      1 คน
                                  ยา การนวดหัวใจ           ผู้ช่วยเหลือ
                                                           คนไข้ หรือ คน
                                                           งาน 1 คน

   2.   การวิเ คราะห์เ วลามาตรฐานของแต่ล ะกิจ กรรม เพื่อนำา
        มาใช้เป็นค่าเริ่มต้นในการคำานวณ ภายใต้แนวคิดของการ
        เทียบค่าของแต่ละกิจกรรมโดยใช้เวลาที่ให้บริการเป็นตัว
        กำาหนดนำ้าหนักของแต่ละกิจกรรม จากแนวคิดที่ว่างานที่ใช้
        เวลามากย่อมมีต้นทุนการให้บริการสูงกว่างานที่ใช้เวลาน้อย




         กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี       พฤศจิกายน 52
11


และเพื่อให้มีแนวทางในการเทียบค่าของงานแต่ละกิจกรรม จน
สามารถเทียบนำ้าหนักของแต่ละกิจกรรมออกมาเป็นตัวเลขได้
      2.1 เวลาที่ใช้ในการคำานวณมาจากการใช้เวลาที่เป็นผล
         การวิจัยขององค์กรระดับประเทศ หรือจากการจัดเก็บ
         ข้อมูลจริงของหน่วยงาน โดยเป็นค่าของเวลาเฉลี่ย
         ของกิจกรรมนั้นๆ เป็น จำานวนนาที ต่อกิจกรรม 1
         กิจกรรม
ประเภทกิจกรรม             หน่วยนับ ประเภท เวลาที่ใช้
                                               (นาที)
ให้การพยาบาลผู้ป่วย       ราย       a          15
นอก
ให้การพยาบาลผู้ป่วย       ครั้ง     b          30
หรือปฐมพยาบาล เช่น
เช็ดตัวลดไข้
อัตราความพึงพอใจ          ร้อยละ    c          -

     2.2 แปลงค่าเวลาเป็นค่าภาระงาน (WP) เมื่อมีการ
        วิเคราะห์เวลาของแต่ละกิจกรรมแล้วให้นำาค่าของเวลา
        แต่ละกิจกรรมมาปรับเป็นค่าภาระงาน โดยกำาหนดให้
        เวลา 10 นาที มีค่าเท่ากับ 1 ภาระงาน (WP) การปรับ
        เวลาเป็นค่าภาระงานจึงเท่ากับ เวลา / 10 = WP
        เพื่อนำาค่าภาระงานไปเทียบเคียงกันของแต่ละกิจกรรม
ประเภทกิจกรรม          หน่วย ประเภท เวลาที่     คิดเป็น WP
                       นับ             ใช้      ( 10 นาที=
                                                   1WP)
                                       (นาที)
ให้การพยาบาลผู้        ราย        a       15       1.5
ป่วยนอก
ให้การพยาบาลผู้        ครั้ง      b       30         3
ป่วยหรือ
ปฐมพยาบาล เช่น
เช็ดตัวลดไข้
อัตราความพึงพอใจ ร้อยละ           c        -         -


 กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี   พฤศจิกายน 52
12




    3.    การปรับ เพิ่ม ค่า คะแนน ตามค่า ของวิช าชีพ ในการทำา
          กิจกรรมการให้บริการแม้นจะเป็นกิจกรรมเดียวกันแต่กระทำา
          โดยบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานที่ไม่เท่า
          กันย่อมมีคุณค่าของงานที่แตกต่างกัน รวมทั้งประเภทของผู้รับ
          บริการในการดำาเนินกิจกรรมมีความหลากหลายทำาให้จำาเป็น
          ต้องมีการจัดประเภทของผู้ให้บริการกับผู้รับบริการที่แตกต่าง
          กัน จึงเป็นที่มาของการปรับเพิ่มค่าวิชาชีพ ในการเพิ่มค่า
          วิชาชีพ ใช้ฐานแนวคิดจากการคิดค่าตอบแทนนอกเวลา
          ราชการของแต่ละวิชาชีพที่ไม่เท่ากันมาเป็นตัวกำาหนด
          ในการคำานวณค่าภาระงานของแต่ละวิชาชีพใช้ค่าตอบแทน
          ล่วงเวลาเป็นฐานการคำานวณ
          ตามระเบียบค่าตอบแทนที่กระทรวงสาธารณสุขกำาหนด ในขั้น
          พื้นฐาน หากหน่วยงานใดได้มีการปรับอัตราค่าตอบแทนล่วง
          เวลา(OT) ไปแล้ว ให้ใช้อัตราที่หน่วยงานมีการกำาหนดใหม่มา
          เป็นฐานในการคำานวณ ดังตัวอย่างที่ใช้จากอัตราที่กระทรง
          สาธารณสุขประกาศ
วิชาชีพ              อัตรา O ค่าวิชาชีพต่อ ค่าวิชาชีพต่อนาที=   ค่า
                     T/วัน   ชัวโมง=
                               ่           ค่าวิชาชีพต่อ        วิชาชีพ
                             ค่าล่วงเวลา/7 ชัวโมง /60 นาที
                                             ่                  ต่อ 1
                             ชัวโมง
                                 ่                              แต้ม WP
แพทย์/               1,100      157.14            2.62           26.2
ทันตแพทย์
เภสัชกร               720       102.85            1.71           17.1
พยาบาลวิชาชีพ         600        85.71            1.43           14.3
พยาบาล                480        68.57            1.14           11.4
เทคนิค/EMT
ลูกจ้าง               300       42.86             0.71           7.1

    • นำากิจกรรมและเวลาที่ได้กำาหนดไว้มาคิดค่าตามแต้มวิชาชีพ
      เพื่อเป็นแต้มต่อภาระงาน




           กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี     พฤศจิกายน 52
13



กิจกรรม              หน่ว ประเ     เวลาที่   แปลง แต้ม        แต้มหลัง
                     ยนับ ภท       ใช้       เวลา   วิชาชีพ   ปรับค่า
                                   (นาที)
                                             เป็น W           วิชาชีพ
                                             P
ให้การพยาบาลผู้       ราย     a      10         1
ป่วยนอก                                              GN=1     GN =14.3
พยาบาลวิชาชีพ                                          4.3    WP
1 คน                                                  Aid     Aid= 7.1
ผู้ช่วยเหลือคนไข้                                     =7.1    WP
1 คน
ตรวจรักษาโรค          ราย     b      5        0.5      Doc=     Doc=
โดยแพทย์                                               26.2   0.5*26.2
                                                              =13.1 WP
ตรวจรักษาโรค          ราย     b      5        0.5       GN=1 GN=0.5*
โดยพยาบาล                                                4.3    14.3
                                                              =7.15 WP
การช่วยฟื้น           ราย     b      30        3        GN=1 GN=3*14
คืนชีพ CPR (ทีม                                          4.3      .3
ละ 4 คน)                                                      =42.9WP
-พยาบาล 2 คน                                           EMT=1 EMT=3*1
-EMT 1 คน                                                1.4     1.4
-Aide 1 คน                                                    =34.2WP
                                                       Aid=7. Aid=3*7.
                                                          1        1
                                                              =21.3 WP
เตรียมเครื่องมือ      ชิ้น    a      5         .5      Aid=7.   3.55
เพื่อส่งทำาให้                                            1
ปราศจากเชื้อ
ทำาถุงมือ              คู่    b    1.5       0.15   Aid=7.        1.07
                                                        1
    4.   การปรับ เพิ่ม ค่า คะแนน ด้วยลักษณะของกิจกรรมที่ใช้เวลา
         เท่ากันแต่อาจมีความยุ่งยากซับซ้อนที่ไม่เท่ากัน มีความเสี่ยง


          กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี      พฤศจิกายน 52
14


     ทั้งขณะให้บริการของผู้ให้บริการ หรือความเสี่ยงต่อการฟ้อง
     ร้องที่เกิดจากผลกระทบของการให้บริการไม่เป็นไปตามความ
     ประสงค์ บางกิจกรรมต้องการความเชี่ยวชาญของผู้ปฏิบัติ เป็น
     กิจกรรมที่ถูกกำาหนดในขอบเขตของวิชาชีพ จึงควรมีการปรับ
     ค่าคะแนนตามนำ้าหนักของวิชาชีพ โดยพิจารณาจาก ความยุ่งยาก
     ซับซ้อนของงาน ความเสี่ยง การประกันคุณภาพ และประสบการณ์
     ความเชี่ยวชาญเฉพาะของบุคลากร         ในการกำาหนดนำ้าหนักเพิ่ม
      เติมนี้เพื่อให้คุณค่ากับงานที่ มีเวลาเท่ากัน ทำางานโดยบุคลากร
      กลุ่มเดียวกัน หรือต่างกันแต่ลักษณะงานที่มีความเสี่ยง มีความ
      ต้องการความรอบครอบ การป้องกันความเสี่ยงและการประกัน
      คุณภาพของงาน เช่น การให้สารนำ้าทางเส้นเลือดดำา (IV) กับ
      การให้เลือด ( Blood infusion ) เวลาในการให้บริการเท่า
      กัน พยาบาลวิชาชีพเป็นผู้กระทำาแต่ ความเสี่ยงในการทำางาน
      ของผู้ให้บริการ ผู้รับบริการแตกต่างกัน หรือการตรวจรักษาผู้
      ป่วยโดย พยาบาลวิชาชีพ และแพทย์ แม้นจะใช้เวลาเท่ากัน
      และมีการคำานวณค่าของวิชาชีพแล้ว แต่ความรับผิดชอบทา
      งกฏหมายต่อการให้บริการแตกต่างกัน แพทย์ต้องเป็นผู้รับผิด
      ชอบหลักต่อการฟ้องร้องตามกฎหมายหากมีการตรวจรักษาผิด
      พลาดหรือไม่ได้มาตรฐาน ดังนั้นการให้นำ้าหนักเพื่อเพิ่มค่า
      ของงานจึงเป็นการถ่วงนำ้าหนักของงานที่คล้ายกัน ในการถ่วง
      นำ้าหนักให้มีการเติมเป็นสัดส่วนจาก
      1. ความยุ่งยากของงานที่มีขั้นตอนซับซ้อน
      2. ความเร่งด่วนของงานไม่สามารถล่าช้าได้
      3. ความรับผิดชอบต่อความเสี่ยงที่เกิดขึ้น ทั้งกับผู้รับบริการ
และผู้ให้บริการ
      4. การประกันคุณภาพของงานที่ไม่อาจผิดพลาดได้
ในการ ถ่วงนำ้าหนักให้แต่ละเกณฑ์มีค่านำ้าหนัก 0.1- 0.5 เท่าของ
นำ้าหนักคะแนน เมื่อรวมค่าของทั้ง 4 เกณฑ์ แล้วให้นำามาปรับ
คะแนนของแต่ละกิจกรรมตามนำ้าหนักที่กำาหนด ในการกำาหนดบาง
กิจกรรมที่ไม่เข้าเกณฑ์ ไม่จำาเป็นต้องเพิ่มนำ้าหนัก แต่หากกิจกรรมที่
เป็นไปตามเกณฑ์ให้ปรับค่าเพิ่มขึ้น การให้ค่าคะแนนควรเป็นการคิด



       กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี     พฤศจิกายน 52
15


คะแนนร่วมกันหลายๆฝ่ายเนื่องจากการคิดค่าถ่วงนำ้าหนักเพิ่มนี้
เป็นการใช้วิจารณญาณ ของคณะทำางานเป็นหลัก ไม่สามารถ
กำาหนดเป็นมาตรของการวัดได้แต่ต้องใช้วิจารณญาณนของบุคคลา
กรเป็นสำาคัญ แล้วนำามากำาหนดเป็นแนวทางเพื่อการคิดนำ้าหนักที่
ต้องการเพิ่ม

       ตัวอย่างการกำาหนดเกณฑ์นำ้าหนักคะแนน

 เกณฑ์เพิ่ม    0.5 เท่า       0.4 เท่า        0.3 เท่า         0.2 เท่า         0.1 เท่า
  นำ้าหนัก
  กิจกรรม
1.ความยุ่ง    เป็นงานที่    ไม่มีแนวทาง     มีแนวทาง         มีแนวทาง        มีแนวทางการ
ยากในการ      ไม่มี         การปฏิบัติ      การปฏิบัติ       การปฏิบัติ      ปฏิบัติงานที่
ปฏิบัติ       แนวทาง        งานที่กำาหนด    งานที่กำาหนด     งานที่          กำาหนด
              กำาหนด        ไว้ แต่งานมี    แล้ว แต่ต้อง     กำาหนด          เรียบร้อยแล้ว
              ตายตัว        ขั้นตอนยุ่ง     อาศัย            เรียบร้อย       โดยไม่ต้องมี
              แน่นอน        ยากซับซ้อน      ประสบการณ์       แล้วแต่บาง      การประสาน
              ต้องการการ    ทีต้องใช้ทั้ง
                               ่            ความรู้ความ      ครั้งต้องมี     งานหรือ
              ตัดสินใจ      ประสบการณ์      ชำานาญ           การประสาน       ตัดสินใจใหม่
              และความรู้    ความรู้ความ     ทักษะเฉพาะ       งานหรือต้อง     และเมื่อปฏิบัติ
              ความ          ชำานาญ          ตัวของผู้        ปรึกษาเพื่อ     ตามจะทำาให้
              ชำานาญหรือ    ทักษะเฉพาะ      ปฏิบัติงาน       ตัดสินใจ        งานสำาเร็จได้
              การฝึก        ตัวของผู้       บางกิจกรรม                       ขั้นตอนใน
              อบรมเพิ่ม     ปฏิบัตงาน
                                   ิ        ต้องการการ                       การ ปฏิบัติ
              เติม เพื่อ    หรือการ         ประสานที่                        งานมีน้อยไม่
              การปฏิบัติ    อบรมเพิ่มเติม   รวดเร็ว มีขั้น                   ยุงยากซับ
                                                                               ่
              กิจกรรม       แต่เป็นงานที่   ตอนในการ                         ซ้อน
              นั้นๆ หรือ    สามารถ          ปฏิบัติงาน
              เป็นงานใน     ปฏิบัตได้ใน
                                     ิ      หลายขั้น
              หน่วยงาน      ทุกหน่วยงาน     ตอน
              เฉพาะ
              เท่านั้น



 เกณฑ์เพิ่ม     0.5 เท่า       0.4 เท่า        0.3 เท่า        0.2 เท่า         0.1 เท่า
   นำ้าหนัก
   กิจกรรม
2.ความเร่ง    เป็นกิจกรรม   ต้องให้         ให้บริการ        ให้บริการ       ไม่มีความเร่ง
ด่วนหรือ      ที่ต้องการ    บริการตาม       ตามเวลาแต่       ล่าช้าได้บ้าง   ด่วนในการ



         กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี                       พฤศจิกายน 52
16


ภาวะวิกฤตที่      ความเร่งด่วน     กำาหนดเวลา     อาจมีการเตรี      แต่ต้อง         ทำางาน
ต้องการ           ในการให้         หากไม่         ยมก่อนหรือ        กระทำาหาก
กิจกรรมที่        บริการต้อง       กระทำาตาม      กระทำาก่อน        ไม่กระทำาจะ
กระทำา            กระทำาทันที      เวลาที่        เวลาได้บ้าง       มีผลต่อการ
                  ทันใด หาก        กำาหนดอาจมี                      รักษา
                  ไม่กระทำา        ผลต่อผลการ                       พยาบาลบ้าง
                  อาจมีผลต่อ       รักษา
                  ผู้รับบริการ     พยาบาลของ
                                   ผูป่วย
                                     ้




 เกณฑ์เพิ่ม         0.5 เท่า         0.4 เท่า       0.3 เท่า          0.2 เท่า        0.1 เท่า
    นำ้าหนัก
    กิจกรรม
3.โอกาสการ        กิจกรรมหรือ      กิจกรรมหรือ    เป็นกิจกรรม       กิจกรรมหรือ     มีโอกาสการ
เกิดความ          บริการที่        บริการทีผู้
                                            ่     ที่มีผลต่อ        บริการที่อาจ    เกิดความ
เสี่ยงต่อผู้รับ   ต้องมีความ       กระทำางาน      ผู้รับบริการ      มีผลต่อผู้รับ   เสี่ยงต่อผู้รับ
บริการหรือ        รับผิดชอบ        นั้นมีความ     ต้องการ           บริการถึง       บริการหาก
ให้บริการ         ทางกฏหมาย        เสี่ยงต่อการ   ความ              แม้ว่าจะมี      ไม่ปฏิบัตตาม
                                                                                              ิ
                  โดยตรงหาก        ตัดสินใจใน     ระมัดระวังใน      การทำาตาม       ขั้นตอน แต่
                  การกระทำามี      งานนั้น ทั้ง   การให้            ขั้นตอนแล้ว     ถ้าปฏิบัติตาม
                  ผลต่อ            ทางด้านกฏ      บริการและ         ต้องการการ      ขั้นตอนจะไม่
                  สุขภาพของ        หมาย ด้าน      ต้องการ           เฝ้าระวังจาก    เกิดความ
                  ผู้รับบริการ     สุขภาพ หรือ    ความเร่งด่วน      ผูให้บริการ
                                                                      ้             เสี่ยงใดๆ
                  หรือการฟ้อง      สุขภาพจิต      ในการตัดสิน       หลังการ         เป็นงานที่
                                   ของผูให้
                                          ้       ใจเพื่อลด         ดำาเนิน         ไม่มผลกระ
                                                                                         ี
                  ร้องเกิดขึ้น /
                                   บริการ หรือ    ผลกระทบต่อ        กิจกรรมนั้น     ทบต่อ
                  เป็นงานที่มี
                                   เป็นงานที่     ผู้รับบริการ                      สุขภาพของ
                  ผลต่อผู้ให้
                                   ต้องกระทำา     หรือเป็นงาน                       ผู้ให้บริการ
                  บริการ หรือ
                                   ในยามวิกาล     ที่ผู้ให้บริการ
                  เป็นบริการที่
                                   มีทรัพยากร     มีโอกาสได้
                  ต้องมีเครื่อง
                                   ที่สนับสนุน    รับผลกระทบ
                  ป้องกันเพื่อ
                                   ในการปฏิบัติ   โดยไม่ตั้งใจ
                  ป้องกัน
                                   งานน้อยกว่า    ได้
                  อันตรายที่จะ
                                   ปกติ
                  มาถึงผู้ให้
                  บริการ หรือ



           กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี                            พฤศจิกายน 52
17


                เป็นบริการ
                ในหน่วยงาน
                ที่บริการผู้
                ป่วยโรค
                ติดต่อ




  เกณฑ์เพิ่ม      0.5 เท่า            0.4 เท่า         0.3 เท่า           0.2 เท่า         0.1      เท่า
   นำ้าหนัก
   กิจกรรม
 4.ความสำาคัญ   งานบริการ        เป็นงาน             เป็นงาน            เป็นงาน           เป็นงาน
 ของงานและ      หลักที่ต้องมี    บริการหลักที่       บริการหลัก         สนับสนุนการ       สนับสนุนการ
 คุณภาพของ      การกระทำา        ต้องมีความ          ทางการ             บริการและมี       ให้บริการหลัก
 งาน            และมี ประกัน     เข้มงวดด้าน         พยาบาลที่มี        การกำาหนด         แต่ต้องมีขาด
                คุณภาพ ไม่       คุณภาพใน            การกำาหนด          แนวทาง            ไม่ได้
                สามารถผิด        ระดับหนึ่ง          แนวทาง ไว้         ปฏิบติไว้แล้ว
                                                                             ั
                พลาดได้แม้น      และต้องมีการ        แล้ว แต่ต้อง       แต่เมื่อปฏิบัติ
                แต่น้อย          ทบทวน รวม           ใช้วิจารณญา        งานต้องมีการ
                                 ถึงการสร้าง         นก่อนการ           ตรวจสอบซำ้า
                                 คุณค่าของ           ลงมือปฏิบติั       ทุกครั้ง
                                 งานให้ดีขึ้น

 ตัวอย่างการคิดค่าคะแนนที่ปรับเพิ่ม

                          ความยุ่ง        ความเร่ง         โอกาสการ            ความสำาคัญ        คะแนน
ประเภทกิจกรรม             ยากใน           ด่วนหรือ         เกิดความ            ของงานและ         นำ้าหนัก
                          การปฏิบัติ      ภาวะวิกฤต        เสี่ยงต่อผู้รับ     คุณภาพของ         ที่
                                          ที่ต้องการ       บริการหรือ          งาน               เพิ่ม(เท่
                                          กิจกรรมที่       ให้บริการ                             า)
                                          กระทำา
ให้การพยาบาลผู้                 0                0                0.1               0.1            0.2
ป่วยนอก
ตรวจรักษาโรคโดย                 0.5              0.5              0.5               0.5             2
แพทย์
ตรวจรักษาโรคโดย                 0.4              0.4              0.3               0.4            1.5
พยาบาล
การช่วยฟื้น                     0.5              0.5              0.5               0.5             2
คืนชีพ CPR
เตรียมเครื่องมือเพื่อ           0                0                0                  0              0



          กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี                                  พฤศจิกายน 52
18


ส่งทำาให้ปราศจาก
เชื้อ

 เมื่อได้คะแนนนำ้าหนักที่เพิ่ม (เท่า) แล้วให้นำาคะแนนที่ปรับเพิ่มมา
 คำานวณค่านำ้าหนักจากค่า WP โดยการ นำาไปคูณกับค่า WP เป็นค่า
 คะแนนที่จะเพิ่มให้กับกิจกรรมนั้น จากนั้นนำาค่าของคะแนนที่คูณได้
 ไปบวกกับ WP เดิมอีกครั้ง จะได้เป็นค่าคะแนน WP สุดท้ายที่
 สามารถนำามาใช้ในการเทียบเคียงค่าของกิจกรรมแต่ละ




 วิธ ีน ำา คะแนนนำ้า หนัก ที่ผ ่า นการพิจ ารณาร่ว มกัน แล้ว มาปรับ
 แต้ม ภาระงาน

กิจกรรม               หน่ว   ประเ   เวลาที่   แต้ม       คะแนน          แต้ม WP หลังปรับ
                      ยนับ   ภท       ใช้   WP ก่อน     นำ้าหนักที่          นำ้าหนัก
                                    (นาที) การปรับเพิ่ม เพิ่ม(เท่า)
ให้การพยาบาลผู้ป่วย ราย       a      10     GN=14.3        GN=         GN=14.3+(14
นอก                                           WP           0.2         .3.*0.2)
พยาบาลวิชาชีพ 1                             Aid=7.1                    =14.3+2.86
คน                                            WP                       =17.16 WP
ผู้ช่วยเหลือคนไข้ 1
คน
ตรวจรักษาโรคโดย     ราย       b       5     13.1 WP          2         Doc=13.1+(1



          กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี                  พฤศจิกายน 52
19


แพทย์                                                    3.1*2)
                                                         =13.1+26.2
                                                         =39.3 WP
ตรวจรักษาโรคโดย         ราย    b    5    7.15 WP  1.5    GN=7.15+
พยาบาล                                                   (7.15*1.5)
                                                         =7.15
                                                         +10.72
                                                         =17.88 WP
การช่วยฟื้น         ราย        b   30     GN=42. GN= 2 GN=42.9+(42
คืนชีพ CPR (ทีมละ 4                          9   EMT= .9*2)
คน)                                      EMT=34.  1.5        =42.9+85
-พยาบาล 2 คน                                 2   Aid ไม่ .8
-EMT 1 คน                                Aid=21.  เพิ่ม      =128.7
-Aide 1 คน                                   3           WP
                                                         EMT=34.2+(3
                                                         4.2*1.5)
                                                             =34.2+5
                                                         1.3
                                                             =85.5
                                                         WP
                                                         Aid = 21.3
                                                         WP
เตรียมเครื่องมือเพื่อ   ชิ้น   a    5      3.55    0          3.55
ส่งทำาให้ปราศจาก
เชื้อ
ทำาถุงมือ                คู่   b   1.5    1.07         0         1.07




 การคิด แต้ม ประกัน รายวัน
        การกำาหนดแต้มประกันประจำาวันของบุคลากรแต่ละตำาแหน่ง
 เพื่อเป็นค่าคะแนนที่ประกันว่าจะมีคนทำางานในหน่วยงาน งานพื้น


          กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี       พฤศจิกายน 52
20


ฐาน ทีอยู่ในบทบาทหน้าที่ ที่ทุกคนได้รับการปฏิบัติ และเพื่อเป็น
        ่
เกณฑ์ขั้นพื้นฐานในการคิดค่าตอบแทนในส่วนที่เป็นภาระงานสูง
กว่าปกติ โดยทุกคนต้องมีแต้มประกันขั้นตำ่าในแต่ละเดือน โรง
พยาบาลที่จ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน ควรจ่ายค่าตอบแทนตาม
ผลงาน ( WORK POINT ) ให้เฉพาะเจ้าหน้าที่ ที่มีผลงานเกิน
เกณฑ์ประกันขั้นตำ่าเท่านั้น วิธีคิดแต้มประกันขั้นตำ่า นิยมใช้วิธี
เทียบเคียงจากค่าตอบแทนล่วงเวลาของทุกวิชาชีพ ซึ่งจะคำานวณ
จาก ค่าตอบแทนของวิชาชีพนั้นๆ คูณด้วย 20 วันทำาการ(ซึ่ง
เป็นการประมาณค่าของเวลาทำางาน) แต่หากผู้ที่ปฏิบัติงานมีวัน
ทำาการมากกว่าให้คิดตามวันที่ขึ้นปฏิบัติงานจริง ผลลัพธ์ที่ได้
เท่ากับ แต้มประกันต่อเดือน โดยต้องมีการกำาหนดค่าของแต้มก่อน
การจัดสรรจริง ว่าค่าของแต้มเริ่มต้นที่ใช้ในการคำานวณแต้มประกัน
ว่ามีค่าเท่าใด ส่วนใหญ่จะกำาหนดไว้ที่ 10 บาทต่อแต้ม ดังนั้น ใน
หนึ่งวันทำาการ พยาบาลวิชาชีพมีค่าตอบแทนล่วงเวลา 600 บาท
ต้องปฏิบัติงานให้ได้ไม่น้อยกว่า 60 แต้มต่อวัน วิธีการคิดแต้ม
ประกันเป็นเพียงการกำาหนดให้ มีหลักเกณฑ์ในการเทียบค่าของทุก
วิชาชีพเท่านั้น
       ตัว อย่า งการคำา นวณแต้ม ประกัน
      วิชาชีพ    OT/วัน    แต้ม     แต้มประกัน/      แต้ม     แต้ม /
                          ประกัน/    เดือน (วัน   ประกัน/      นาที
                            วัน      ทำาการ 20    ชม.(OT)
                                         วัน)     คิด 7 ชม.
   แพทย์/        1,100     110         2,200       15.71      0.26
 ทันตแพทย์
  เภสัชกร         720       72        1,440         10.28     0.17
   พยาบาล         600       60        1,200         8.57      0.14
   วิชาชีพ
    จพง. /        480       48         960          6.85      0.11
   พยาบาล
    เทคนิค
ลูกจ้างประจำา/    300       30         600          4.28      0.07
    ลูกจ้าง
   ชัวคราว
     ่



       กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี       พฤศจิกายน 52
21




การบริห ารงบประมาณ
     แนวคิดการจ่ายค่าตอบแทนตามภาระงานเป็นการจ่ายค่า
ตอบแทนที่สะท้อนการทำางานงานที่เรียกว่า Performances base
แต่การจ่ายค่าตอบแทนดังกล่าวต้องไม่ส่งผลกระทบต่อการบริหารงบ
ประมาณของหน่วยงาน การบริหารการจ่ายค่าตอบแทนตามภาระ
งานจึงมีแนวคิดการจ่ายออกเป็น 2 แบบคือ
     1. การจ่ายค่าตอบแทนตามระเบียบค่าตอบแทนกระทรวง
        สาธารณสุข ตามภาระงาน ของบางสายงานต่อจากค่า
        ตอบแทนที่ได้รับตามระเบียบราชการ และได้รับค่าตอบแทน
        ตามภาระงานในอัตราตามประกาศกำาหนด เช่น กรณีที่
        ปฏิบัติงานต่างหน่วยงาน และ เบิกจ่ายตามปริมาณงานที่
        ปฏิบัติ ของ แพทย์ ทันตแพทย์
     2. การเบิกจ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน ตามศักยภาพของ
        หน่วยงานประกาศกำาหนด ซึ่งเป็นรูปแบบการจ่ายค่า
        ตอบแทนให้กับทุกคนในหน่วยงานโดยการกันเงินค่า
        ตอบแทนออกจากงบประมาณที่มี และจ่ายตามปริมาณงาน
        ที่ทำาการตกลง ซึ่งเรียกว่า Work point โดยมีการคิดค่า
        ตอบแทนต่อกิจกรรมในการทำางาน ส่วนใหญ่มีการกันงบ
        ประมาณค่าใช้จ่ายรวมของโรงพยาบาลออก ส่วนที่เหลือกัน
        ออกเป็นค่าตอบแทนและงบลงทุน ในการบริหารค่า
        ตอบแทนต่อหน่วยขึ้นกับการทำาความตกลงของผู้บริหารใน
        หน่วยงาน ปัจจุบันมี 2 แบบ คือ
            a. บริหารงบรวม โดยตั้งงบประมาณไว้ต่อเดือน แล้วนำา
               จำานวนแต้มภาระงานที่ได้มาหารยอดเงินคิดเป็นค่า
               ตอบแทนต่อแต้ม ทำาให้การจ่ายค่าตอบแทนต่อหน่วย
               เท่ากันทุกสายงาน ค่าตอบแทนต่อหน่วยจะผันแปร
               ตามจำานวนแต้มที่เก็บในแต่ละเดือน ตัวอย่างเช่น งบ
               ประมาณ ที่ใช้ต่อเดือน 150,000 บาท จำานวนแต้ม
               เดือน



      กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี   พฤศจิกายน 52
22


                          เดือน มกราคม แต้มรวมทั้งโรงพยาบาล
                15,000 แต้ม ค่าตอบแทนต่อหน่วย คือ 10 บาท
                แพทย์เก็บแต้มได้ 2,000 แต้ม ได้รับจัดสรร 20,000
                บาท พยาบาลเก็บได้ 300 แต้ม ได้รับจัดสรรเงิน
                3,000 บาท
                         เดือน กุมภาพันธ์ แต้มรวมทั้งโรงพยาบาล
                10,000 แต้ม ค่าตอบแทนต่อแต้มเป็น 15 บาท
                แพทย์เก็บแต้มได้ 2,000 แต้ม ได้รับจัดสรร 30,000
                บาท พยาบาลเก็บได้ 300 แต้ม ได้รับจัดสรรเงิน
                4,500 บาท
                    เดือนมีนาคม แต้มรวมทั้งโรงพยาบาล 30,000
                แต้ม ค่าตอบแทนต่อแต้มเป็น 5 บาท แพทย์เก็บแต้ม
                ได้ 4,000 แต้ม ได้รับจัดสรร 20,000 บาท พยาบาล
                เก็บได้ 350 แต้ม ได้รับจัดสรรเงิน 1,750 บาท
      b. บริหารงบแยกรายหน่วยงานหรือรายวิชาชีพ มีการกำาหนด
          วงเงินที่จะนำามาคำานวณค่าตอบแทนต่อเดือนแต่จัดสรร
          วงเงินไปตามแต้มของแต่ละวิชาชีพหรือหน่วยงาน ซึ่งแต่ละ
          วิชาชีพหรือหน่วยงานจะได้รับวงเงินคงที่ทุกเดือน ค่า
          ตอบแทนต่อแต้มของแต่ละสายงานมีค่าไม่เท่ากัน เช่น
แบ่งกลุ่ม                    สัดส่วน             รวม คิดเป็นงบ
                                                        ประมาณ
                        0.7          0.4
              1.1        2     0.6    4     0.3
แพทย์           5                                5.5     23,914
                                                  6.0
ฝ่าย เภสัช               6            4           8      26,435
งาน OPD                          3           10 4.8      20,870
                                                  9.1
งาน ER                           7    3      4    2      39,652
งาน
Ward 1                          12           6    9      39,130
รวมสัด ส่ว น                                 34.5


      กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี    พฤศจิกายน 52
23



รวมเงิน                                            150,000
             เดือน มกราคม
 แพทย์ รับไป 23,914 บาท จำานวนแต้มที่เก็บได้ 2,300 แต้ม ได้
แต้มละ 10.39 บาท
เภสัชกร รับไป 26,435 บาท จำานวนแต้มทุกคนรวม 3,000 แต้ม
ได้แต้มละ 8.81 บาท
งาน OPD รับไป 20,870 บาท แต้มทุกคนรวม 1,500 แต้ม ได้
แต้มละ 13.91 บาท
             เดือน กุมภาพันธ์
แพทย์ รับไป 23,914 บาท จำานวนแต้มที่เก็บได้ 5,000 แต้ม ได้
แต้มละ 4.78 บาท
เภสัชกร รับไป 26,435 บาท จำานวนแต้มทุกคนรวม 2,000 แต้ม
ได้แต้มละ 13.21 บาท
งาน OPD รับไป 20,870 บาท แต้มทุกคนรวม 3,500 แต้ม ได้
แต้มละ 5.96 บาท



การใช้ป ระโยชน์จ ากการคิด ค่า ภาระงาน
       การคิดค่าของภาระงานเป็นแนวทางในการกำาหนดค่าของ
กิจกรรมแต่ละกิจกรรม เพื่อนำามาเทียบเคียงการทำางานของบุคคลา
กร ทั้งในสายงานเดียวกันในการทำางานแต่ละช่วงเวลา บุคลากร
กลุ่มเดียวกันแต่ทำางานต่างหน่วยงานกัน หรือบุคลากรต่างสายงาน
โดยมุ่งเน้นที่การนำาค่าของภาระงานมาใช้ในการจ่ายค่าตอบแทน
เป็นหลัก ด้วยจุดเริ่มต้นของการคิดค่าภาระงานของโรงพยาบาลพาน
ซึ่งเป็นหน่วยงานแห่งแรกที่ดำาเนินการอย่างเป็นระบบนำาไปใช้ใน
การจ่ายค่าตอบแทนให้กับบุคลากรทุกระดับ และเมื่อหน่วยงานอื่นๆที่
ได้ศึกษาจากโรงพยาบาลและนำาไปใช้ก้อยังเน้นที่การนำาไปเพื่อใช้
จ่ายค่าตอบแทนเช่นกัน แต่การคิดค่าภาระงานที่จัดเก็บนั้นหาก
ศึกษาให้ดีจะพบว่าสามารถนำามาใช้ประโยชน์นอกเหนือจากการจ่าย
ค่าตอบแทนได้อย่างมาก




      กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี   พฤศจิกายน 52
4.ภาระงาน
4.ภาระงาน
4.ภาระงาน
4.ภาระงาน
4.ภาระงาน
4.ภาระงาน
4.ภาระงาน
4.ภาระงาน
4.ภาระงาน

Contenu connexe

Tendances

Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPrachaya Sriswang
 
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว Utai Sukviwatsirikul
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009taem
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
Ha and er
Ha and erHa and er
Ha and ertaem
 
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็กแนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็กUtai Sukviwatsirikul
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายชนิกานต์ บุญชู
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อUtai Sukviwatsirikul
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...Dr.Suradet Chawadet
 
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณีหลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณีTuang Thidarat Apinya
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 

Tendances (20)

Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
 
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
Ha and er
Ha and erHa and er
Ha and er
 
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็กแนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาลการบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
 
2 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 602 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 60
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณีหลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
 
Qaพยาบาลเสนอจังหวัด
QaพยาบาลเสนอจังหวัดQaพยาบาลเสนอจังหวัด
Qaพยาบาลเสนอจังหวัด
 
3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 

En vedette

ห้องฉุกเฉินจะทำอย่างไร
ห้องฉุกเฉินจะทำอย่างไรห้องฉุกเฉินจะทำอย่างไร
ห้องฉุกเฉินจะทำอย่างไรtaem
 
Manual government หลักการจำแนกประเภทหน่วยงานของรัฐ
Manual government หลักการจำแนกประเภทหน่วยงานของรัฐManual government หลักการจำแนกประเภทหน่วยงานของรัฐ
Manual government หลักการจำแนกประเภทหน่วยงานของรัฐParun Rutjanathamrong
 
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการWiroj Suknongbueng
 
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...ประพันธ์ เวารัมย์
 
ถ้าฉันเป็นครู
ถ้าฉันเป็นครูถ้าฉันเป็นครู
ถ้าฉันเป็นครูniralai
 
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58Yupin Jitbumrung
 
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยงานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (นพ.นเรนทร์)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (นพ.นเรนทร์)TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (นพ.นเรนทร์)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (นพ.นเรนทร์)taem
 
การช่วยเหลือประชาชน
การช่วยเหลือประชาชนการช่วยเหลือประชาชน
การช่วยเหลือประชาชนWiroj Suknongbueng
 
การส่งกำลังสิ่งอุปกรณ์ประเภทที่ ๑
การส่งกำลังสิ่งอุปกรณ์ประเภทที่ ๑การส่งกำลังสิ่งอุปกรณ์ประเภทที่ ๑
การส่งกำลังสิ่งอุปกรณ์ประเภทที่ ๑Monkiie Milkkiie
 
ซักซ้อมแนวทางการใช้จ่ายเงินในการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มท 080...
ซักซ้อมแนวทางการใช้จ่ายเงินในการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มท 080...ซักซ้อมแนวทางการใช้จ่ายเงินในการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มท 080...
ซักซ้อมแนวทางการใช้จ่ายเงินในการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มท 080...Wiroj Suknongbueng
 

En vedette (20)

ห้องฉุกเฉินจะทำอย่างไร
ห้องฉุกเฉินจะทำอย่างไรห้องฉุกเฉินจะทำอย่างไร
ห้องฉุกเฉินจะทำอย่างไร
 
Manual government หลักการจำแนกประเภทหน่วยงานของรัฐ
Manual government หลักการจำแนกประเภทหน่วยงานของรัฐManual government หลักการจำแนกประเภทหน่วยงานของรัฐ
Manual government หลักการจำแนกประเภทหน่วยงานของรัฐ
 
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
 
เรื่องเล่า ชาวบาดาล
เรื่องเล่า ชาวบาดาลเรื่องเล่า ชาวบาดาล
เรื่องเล่า ชาวบาดาล
 
11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม
11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม
11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม
 
Triage
TriageTriage
Triage
 
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...
 
ถ้าฉันเป็นครู
ถ้าฉันเป็นครูถ้าฉันเป็นครู
ถ้าฉันเป็นครู
 
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
 
Sawanpracharak Triage Scale
Sawanpracharak Triage ScaleSawanpracharak Triage Scale
Sawanpracharak Triage Scale
 
Ayutthaya Triage Scale
Ayutthaya Triage ScaleAyutthaya Triage Scale
Ayutthaya Triage Scale
 
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
 
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (นพ.นเรนทร์)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (นพ.นเรนทร์)TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (นพ.นเรนทร์)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (นพ.นเรนทร์)
 
1 2-51-452
1 2-51-4521 2-51-452
1 2-51-452
 
การช่วยเหลือประชาชน
การช่วยเหลือประชาชนการช่วยเหลือประชาชน
การช่วยเหลือประชาชน
 
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
 
การส่งกำลังสิ่งอุปกรณ์ประเภทที่ ๑
การส่งกำลังสิ่งอุปกรณ์ประเภทที่ ๑การส่งกำลังสิ่งอุปกรณ์ประเภทที่ ๑
การส่งกำลังสิ่งอุปกรณ์ประเภทที่ ๑
 
หน้าที่และบทบาท
หน้าที่และบทบาทหน้าที่และบทบาท
หน้าที่และบทบาท
 
ซักซ้อมแนวทางการใช้จ่ายเงินในการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มท 080...
ซักซ้อมแนวทางการใช้จ่ายเงินในการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มท 080...ซักซ้อมแนวทางการใช้จ่ายเงินในการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มท 080...
ซักซ้อมแนวทางการใช้จ่ายเงินในการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มท 080...
 

Similaire à 4.ภาระงาน

4 makarak
4 makarak4 makarak
4 makarakyim2009
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินtaem
 
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง spสปสช นครสวรรค์
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดpluakdeang Hospital
 
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติUtai Sukviwatsirikul
 
การพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
การพัฒนาสารสนเทศ Thai referการพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
การพัฒนาสารสนเทศ Thai referLampang Hospital
 
ผลงานนักเรียน 3
ผลงานนักเรียน 3ผลงานนักเรียน 3
ผลงานนักเรียน 3thkitiya
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยsoftganz
 

Similaire à 4.ภาระงาน (20)

Nurse workload
Nurse workloadNurse workload
Nurse workload
 
4 makarak
4 makarak4 makarak
4 makarak
 
2manual p4p
2manual p4p2manual p4p
2manual p4p
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
 
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
 
Hrd kan57
Hrd kan57Hrd kan57
Hrd kan57
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
 
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
 
006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท
 
3 tavee
3 tavee3 tavee
3 tavee
 
7 ร่างเกณฑ์กำหนดตำแหน่ง
7 ร่างเกณฑ์กำหนดตำแหน่ง  7 ร่างเกณฑ์กำหนดตำแหน่ง
7 ร่างเกณฑ์กำหนดตำแหน่ง
 
การพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
การพัฒนาสารสนเทศ Thai referการพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
การพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
 
5.การประเมินบุคคล
5.การประเมินบุคคล5.การประเมินบุคคล
5.การประเมินบุคคล
 
Fte kan57
Fte kan57Fte kan57
Fte kan57
 
3.is bph 15_rwm24oct_(9)
3.is bph 15_rwm24oct_(9)3.is bph 15_rwm24oct_(9)
3.is bph 15_rwm24oct_(9)
 
ผลงานนักเรียน 3
ผลงานนักเรียน 3ผลงานนักเรียน 3
ผลงานนักเรียน 3
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
 

Plus de กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์

ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ยศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ยกรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
 

Plus de กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ (20)

พระมงกุฎ.pptx
พระมงกุฎ.pptxพระมงกุฎ.pptx
พระมงกุฎ.pptx
 
Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่
 
Kanniga 31 jan
Kanniga 31 janKanniga 31 jan
Kanniga 31 jan
 
2559 บุรีรัมย์
2559 บุรีรัมย์2559 บุรีรัมย์
2559 บุรีรัมย์
 
เทคนิค ชลบุรี
เทคนิค ชลบุรีเทคนิค ชลบุรี
เทคนิค ชลบุรี
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
จริยธรรม
จริยธรรมจริยธรรม
จริยธรรม
 
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวนการพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
วันยาบาลชัยภูมิ
วันยาบาลชัยภูมิวันยาบาลชัยภูมิ
วันยาบาลชัยภูมิ
 
เทคนิค
เทคนิคเทคนิค
เทคนิค
 
สรุปงานชมรม
สรุปงานชมรมสรุปงานชมรม
สรุปงานชมรม
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการเหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
 
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ยศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
 
Sup kan 57
Sup kan 57Sup kan 57
Sup kan 57
 
Intro kan57
Intro kan57Intro kan57
Intro kan57
 
บริหารเชิงกลยุทธ์
บริหารเชิงกลยุทธ์บริหารเชิงกลยุทธ์
บริหารเชิงกลยุทธ์
 
กลุ่มการพยาบาล
กลุ่มการพยาบาลกลุ่มการพยาบาล
กลุ่มการพยาบาล
 

4.ภาระงาน

  • 1. 1 บทที่4 การคิด คำา นวณนำ้า หนัก ภาระงานของวิช าชีพ พยาบาล หลัก การและแนวคิด แนวคิดเรื่องการคิดคำานวณนำ้าหนักภาระงานของวิชาชีพ พยาบาล มีหลักการสำาคัญที่ใช้ในการคำานวณภาระงาน คือการถ่วง นำ้าหนักภาระงานของพยาบาลแต่ละสาขาของการจัดบริการพยาบาล ในหน่วยบริการ เพื่อแปลงค่าของกิจกรรมการให้บริการทางการ พยาบาลเป็นหน่วยนับที่สามารถนำามาเทียบเคียงกิจกรรมแต่ละ กิจกรรมได้ ซึ่งจะสามารถนำามาใช้ประโยชน์ในทางการบริหาร ทางการพยาบาลทั้งการกำาหนดค่าตอบแทนตามนโยบายการกำาหนด ค่าตอบแทนตามภาระงาน หรือการบริหารอัตรากำาลังตามปริมาณ งาน ซึ่งจะเป็นการบริหารทางการพยาบาลที่สอดคล้องกับข้อกำาหนด ตามมาตรฐานวิชาชีพและประกาศกำาหนดของสภาการพยาบาล นอกจากนี้ยังสามารถเทียบเคียงภารกิจที่พยาบาลปฏิบัติกับวิชาชี พอื่นๆได้ การดำาเนินการคิดค่าภาระงานเพื่อจ่ายค่าตอบแทนตาม ภาระงาน มีโรงพยาบาลที่มีการดำาเนินการเรื่องการจ่ายค่าตอบแทน ตามภาระงานแล้ว ได้แก่ โรงพยาบาลพาน จังหวัดเชียงราย โรง พยาบาลสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา และ อีก 10 โรงพยาบาล ที่ เข้าร่วมโครงการพัฒนาการจ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน ปี 2552 ของกระทรวงสาธารณสุข มีทั้งโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลชุมชน ซึ่งโรงพยาบาลที่ดำาเนินงานจนประสบความ สำาเร็จและยังดำาเนินงานในขณะนี้ได้แก่โรงพยาบาล พาน จังหวัด เชียงราย ซึ่งถือได้ว่าเป็นต้นแบบของหน่วยงานในการจ่ายค่า ตอบแทนตามภาระงาน ที่ก่อให้เกิดคุณภาพการให้บริการ พร้อมทั้ง สร้างสรรค์ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในกระบวนการ พยาบาล ทั้งด้านการบริหาร ด้านการบริการพยาบาล และ ด้าน วิชาการ โดยไม่มีผลกระทบกับภาระกับงบประมาณของหน่วยงานแต่ กลับมีผลพลอยได้ที่ทำาให้เกิดขวัญกำาลังใจของคนทำางานมากกว่า หลายหน่วยงานที่ยังคงจ่ายค่าตอบแทนตามระเบียบปฏิบัติ การคิด ค่าของภาระจึงเป็นกิจกรรมที่สามารถสร้างคุณค่าในการบริหารอย่าง เป็นรูปธรรมได้มากขึ้น เอกสารฉบับนี้เกิดจาการรวบรวม ประสบการณ์การทำางานและการทบทวนเอกสารเพื่อจัดทำาเป็นร่าง กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี พฤศจิกายน 52
  • 2. 2 แนวทางการคิดค่าภาระงานของสายงานพยาบาล อันจะทำาให้เกิด ประโยชน์ต่อผู้ที่ศึกษาเอกสารฉบับนี้ต่อไป การกำา หนดกิจ กรรมทางการพยาบาล ในการจัดบริการทางการพยาบาล ของหน่วยบริการสุขภาพ พยาบาลในหน่วยบริการสุขภาพ มีขอบเขตของภาระหน้าที่ ทั้ง ด้าน การบริหารการพยาบาล ด้านปฏิบัติการพยาบาล ด้านวิชาการ โดย พยาบาลแต่ละคนอาจจะต้องปฏิบัติงานทั้ง 3 บทบาท หรือบาง บทบาท นำ้าหนักการปฏิบัติงานของแต่ละบทบาทจะด้านใดมากหรือ น้อย ขึ้นกับหน่วยงานที่ปฏิบัติ และ ตำาแหน่งหน้าที่ที่รับผิดชอบ ดัง นั้นในการกำาหนดนำ้าหนักตามภาระงานจึงกำาหนดตามบทบาทหน้าที่ ของพยาบาลแยกรายหน่วยงาน รายกิจกรรม มีหลักในการคิด โดย ใช้เวลาเป็นพื้นฐานของการกำาหนดนำ้าหนักคะแนน เริ่มต้น ผันแปร ค่าคะแนนของกิจกรรมเดียวกันแต่กระทำาโดย บุคคลากรต่างวิชาชีพ ด้วยการถ่วงนำ้าหนักค่าวิชาชีพ (ในที่นี้กำาหนดค่าวิชาชีพตามค่า ตอบแทนล่วงเวลา) และค่าของงานที่ปรับเพิ่มจำานวนเท่าของแต้ม หลังปรับค่าวิชาชีพแล้วด้วยการถ่วงนำ้าหนักทั้งจากความยุ่งยากซับ ซ้อน ความสำาคัญ ความเร่งด่วน คุณภาพของงาน ความรับผิดชอบ อีกครั้ง เพื่อให้งานที่ดำาเนินการโดยบุคลากรวิชาชีพเดียวกัน มีเวลา เท่ากันแต่ แต่ลักษณะงานที่มีความยากหรือความเร่งด่วนไม่เท่ากัน ดังมีรายละเอียดของการดำาเนินการคิดค่าภาระงานของแต่ละ กิจกรรม ทั้ง 3 ด้านดังนี้ 1. ด้า นการบริห ารการพยาบาล ภาระงานทางด้านการบริหารการพยาบาล ไม่สามารถ กำาหนดกิจกรรมในรายละเอียดที ตายตัวได้ดังนั้นการกำาหนดนำ้าหนักของภาระงานตามกิจกรรมแต่ ครั้งที่ทำาจึงไม่สอดคล้องกับภาระงานดังกล่าว การกำาหนดนำ้าหนัก ด้านการบริหารจึงควรกำาหนดตามตำาแหน่ง แต่ต้องสามารถนำาความ สำาเร็จตามตัวชี้วัดมาเป็นการกำาหนดร่วมกับความรับผิดชอบของผู้ บริหารในแต่ละระดับ เป็นกรอบในการทำาข้อกำาหนดขั้นต้น ตาม ระดับของการบริหาร ในการนำาการคิดค่าภาระงานหากต้องนำามา เทียบค่าของค่าตอบแทนควรเป็นการคำานวณค่าตอบแทนโดยใช้การ กำาหนดค่าตายตัว( Fix rate ) เพื่อเป็นค่าของการบริหารงานที่ สำาเร็จตามตัวชี้วัด หรือ การคำานวณจากดัชนี้ความสำาเร็จของงาน กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี พฤศจิกายน 52
  • 3. 3 ตามที่กำาหนด หรือ การจัดสัดส่วนจากงบประมาณ ที่ได้รับจัดสรร โดยแยกระดับผู้บริหารทางการพยาบาลเป็น 3 กลุ่ม คือ ผู้บริหารระดับสูง คือ หัวหน้ าพยาบาล สัดส่ว นค่ า ตอบแทนทั้งหมด 33% ผู้บริหารระดับกลาง คื อ หั ว ห น้ า ง า น สั ด ส่ ว น ค่ า ตอบแทนทั้งหมด 33% ผู้บริหารระดับต้น คื อ หั ว ห น้ า ตึ ก สั ด ส่ ว น ค่ า ตอบแทนทั้งหมด 34% ผู้บริหารระดับ รพศ รพท รพช สอ/PCU/ รพ.สต. ผู้บริหารระดับสูง หัวหน้า หัวหน้า หัวหน้า ผอ รพ.สต. พยาบาล พยาบาล พยาบาล หัวหน้าสอ./ ผู้บริหารระดับ -หัวหน้างาน -หัวหน้างาน หัวหน้างาน พยาบาลวิชาชีพ กลาง ผู้บริหารระดับ หัวหน้าตึก หัวหน้าตึก ต้น 2. ด้า นบริก ารพยาบาล ด้านการให้บริการทางการพยาบาลมีความแตกต่างกันมาทั้ง ประเภทของหน่วยงาน เช่น งานผู้ป่วยนอก งานอุบัติเหตุฉุกเฉิน งาน ห้องคลอด เป็นต้น ประเภทของผู้รับบริการ เช่นผู้ป่วยต้องรับรักษา ในหอผู้ป่วยหนัก ผู้ป่วยกึ่งหนัก ผู้ป่วยรอกลับบ้าน ประเภทของ กิจกรรม เช่นบางกิจกรรมอาจทำาได้ด้วยคนเดียว แต่บางกิจกรรม ต้องการการทำางานร่วมกันเป็นทีมเช่น การช่วยฟื้นคืนชีพ บาง กิจกรรมต้องประกอบด้วยกิจกรรมหลายกิจกรรมมารวมกันจึงเป็น หนึ่งกิจกรรมเช่น การพยาบาลผู้ป่วยรับใหม่ ความแตกต่างดัง กล่าวทำาให้การให้ค่านำ้าหนักของงานแต่ละกิจกรรมจึงควรสอดคล้อง กับลักษณะงานทำางานที่แท้จริงและไม่สร้างความยุ่งยากในการจัด เก็บข้อมูล ดังนั้นการจัดแบ่งกิจกรรม จึงมีความจำาเป็นต้องมีความ ชัดเจนและกำาหนดคำาจำากัดความ ภาระงานการให้บริการของวิชาชีพพยาบาล จะคิดเป็นค่า WP หรือ workload point ซึ่งพิจารณาจากกิจกรรมที่ให้บริการผู้ป่วย เป็นฐานในการคิดคำานวณ มีแนวทางในการรวมค่า WP ให้แก่ พยาบาลเป็นรายบุคคลมี 3 รูปแบบ ดังนี้ รูปแบบ a ระดับ ทีม เป็นกิจกรรมที่บุคลากรทำางานมากกว่า 1 คน กิจกรรมนี้เมื่อคิดค่า WP จะต้องหารเฉลี่ย กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี พฤศจิกายน 52
  • 4. 4 แต้ม ต่อ คนด้วยจำานวนบุคคลากรที่เข้าร่วมทำา กิจกรรมในทีม ซึ่งอาจหารจำานวนคนเท่ากันทุกคน หรือเป็นสัดส่วนตามบทบาทหน้าที่ของแต่ละคนใน ทีม เช่น กรณีก ารจัด แบ่ง สัด ส่ว นเท่า กัน ของบุค คลากรในทีม ได้แก่กรณี หอผู้ป่วยใน นำาจำานวน WP รวมกันทั้งเวรแล้วหาร ด้วยจำานวนพยาบาลที่ขึ้นเวรนั้นๆ หากเวรนั้นมีจำานวนพยาบาลขึ้น ปฏิบัติงานมาก ก็ทำาให้ตัวหารมีมาก ผลลัพธ์ที่ได้ ค่า WP จะน้อย เป็นการเกลี่ยค่าตอบแทนให้แก่พยาบาลที่มีภาระงานมาก แม้อยู่ใน วอร์ดเดียวกันแต่หากแต่ละเวรมีปริมาณผู้รับบริการที่แตกต่างกัน มี จำานวนผู้ปฏิบัติงานที่ไม่เท่ากัน ทำาให้พยาบาลแต่ละเวร ได้รับค่า ตอบแทนที่ไม่เท่ากัน ได้แก่การคำานวณภาระงานตามประเภทผู้ป่วย ในแต่ละเวร โดยคำานวณจากผู้ป่วยแต่ละราย ตัวอย่างเช่นผู้ป่วยใน ประเภท Need ICU 1 รายเท่ากับ 10 WP ( ตัวเลขสมมุติ) หากมีผู้ ป่วย 16 ราย เท่ากับ 160 WP ในเวรมีพยาบาลขึ้นปฏิบัติงาน เวร เช้า 4 คน จะได้รับคนละ 40 WP เวรบ่าย พยาบาลขึ้นปฏิบัติงาน 3 คน จะได้รับคนละ 53 WP และ เวรดึก พยาบาลขึ้นปฏิบัติงาน 2 คน จะได้รับคนละ 80 WP หรือกรณีผู้ป่วยคลอด 1 ราย เท่ากับ 20 WP( ตัวเลขสมมุติ) มีผู้ทำาคลอดและช่วยคลอด 2 คน จะได้รับ คนละ 10 WP ในกรณีการแบ่ง สัด ส่ว น WP ตามบทบาทหน้า ที่ ได้แก่กรณีงาน งานห้องผ่าตัดมีการแบ่งกระบวนการทำางานที่ ไม่เท่ากัน เช่นพยาบาล Scrub nurse มือ 1 อาจให้ค่ามากกว่า Scrub nurse มือ 2 และ Scrub nurse มือ 2 มีสดส่วนมากกว่า ั Circulate Nurse จำา เป็น ต้อ งมีก ารกำา หนดนำ้า หนัก ที่แตกต่าง กันตามเกณฑ์การถ่วงนำ้าหนัก เช่น เมื่อออกมา อาจเป็นว่า Scrub nurse มือ 1; Scrub nurse มือ 2 ; Circulate Nurse อาจมีค่า เท่ากับ 1.5 : 1.2 : 1 ดังนั้น การทำาผ่าตัด Appendix ที่ มีค่า เท่ากับ 30 WP( ตัวเลขสมมุติ) พยาบาล Scrub nurse มือ 1 จะได้ เท่ากับ 12 WP Scrub nurse มือ 2 ได้ เท่ากับ 10 WP และ Circulate Nurse 8 WP รูปแบบ b ระดับ บุค คล ได้เฉพาะพยาบาลที่ปฏิบัติภารกิจนั้นๆ อนึ่ง ต้องเป็นงานที่ต้องรับผิดชอบสูง มีประสบการณ์ งานที่ต้องใช้บุคลากรระดับวิชาชีพ หรือเป็น งาน เสี่ยง เช่น การฉีดยา การให้อาหารทางสายยาง กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี พฤศจิกายน 52
  • 5. 5 การให้เลือด การตรวจภายในเพื่อประเมินความ ก้าวหน้าการคลอด งานมอบหมายกรณีพิเศษ งาน สำาคัญ แต่ไม่มีใครอาสาทำา หรืองานอาสาสมัครที่หา คนไปทำายาก เช่น หัวหน้าเวร (in-charge) ค่า คะแนนของแต่ละกิจกรรมเป็นการคำานวณตาม ปริมาณงานที่ปฏิบัติได้คูณกับจำานวน WP ในงานนั้น เช่นการให้เลือด = 3 WP ( ตัวเลขสมมุติ) หากวัน นั้นให้เลือด จำานวน 1 ราย คิดเป็น 3 WP เป็นต้น รูปแบบ c ระดับ หน่ว ยงาน เป็นกิจกรรมที่ถูกประเมินทั้ง งานหน่ว ยงาน หรือวอร์ด ตามตัวชี้วัดที่หน่วยงาน รับผิดชอบและส่งผลต่อปริมาณงาน ความเสี่ยง รายรับ รายจ่าย ของโรงพยาบาล เช่น อัตราการ ครองเตียง อัตราการใช้ห้องผ่าตัด อัตราความพึง พอใจของผู้รับบริการ หรือจำานวนผู้ร้องเรียน ( มีค่า 5-10 WP ขึนอยู่กับความเสี่ยงน้อย-มาก) เป็นต้น ้ พยาบาลแต่ละบุคคลไม่ว่าจะอยู่เวรกะใดก็ตาม เมื่อ ถูกประเมินทั้งหน่วยงาน ผลขอค่าคะแนนจะเป็น คะแนนของพยาบาลทุกคนในหน่วยงานนั้น ทำาให้ พยาบาลแต่ละคนจะได้รับค่าคะแนนเท่าๆ กันหมด อาจตั้งต้นที่ 10 WP หรือ 5 WP แล้วลดลงตาม เงื่อนไข ดังนี้ • ตามสัดส่วนที่ผลงานสำาเร็จ กล่าวคือ 100% = 10 WP( ตัวเลขสมมุติ) • ตามจำานวนนับที่กำาหนดอัตราไว้ เช่น จำานวนผู้ ร้องเรียนของวอร์ดศัลย์ได้ค่าตั้งต้น 5WP หัก รายละ 1WP มีผู้รองเรียนทั้งหมดใน 6 เดือน ้ เท่ากับ 2 ราย พยาบาลในหน่วยงานนั้นก็จะได้ คนละ 3WP ด้านวิชาการ ภาระงานในด้านนี้แม้นจะไม่ได้เป็นภาระงานหลักของหน่วย งานด้านการให้บริการ สุขภาพ แต่การพัฒนาบุคคลากรหรือการพัฒนากระบวนการทำางาน ใหม่ๆที่สนับสนุนให้การจัดบริการมีคุณภาพมากขึ้นย่อมส่งผลต่อทั้ง โรงพยาบาล และผู้รับบริการเช่นกัน โดยเฉพาะงานวิชาการที่ กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี พฤศจิกายน 52
  • 6. 6 สนับสนุนให้การทำางานที่รวดเร็วขึ้น ประหยัดมากขึ้น ส่งผลให้ ประสิทธิภาพการรักษาผู้รับบริการดีขึ้น ลดความเสี่ยงทั้งผู้รับบริการ และผู้ให้บริการ เช่น การพัฒนางานวิจัย การสร้าง นวัตรกรรม ใหม่ๆ การทบทวนการดูแลผู้ป่วย การล้วนแล้วแต่เกิดจากการ พัฒนาด้านวิชาการ ในด้านวิชาการยังรวมถึงการสนับสนุนการเรียน การสอนของนักศึกษาที่มาฝึกปฏิบัติการ การถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้ มาศึกษาดูงาน หรือการเป็นวิทยากร ในเวทีต่างๆ ในการคิดค่าภาระ งาน จึงเป็นการคิดค่าคะแนนจากผลงานที่เกิดขึ้นระดับบุคคล โดยวัด ได้ทั้งจากกระบวนการและผลสำาเร็จของงาน เช่น หากสามารถ ทำางานวิจัยและผลงานวิจัยได้รับการเผยแพร่ มีค่าเท่ากับ 5 WP ( ตัวเลขสมมุติ) เป็นทีมงานวิจัย เรื่องละ 0.5 WP สอนนักศึกษา พยาบาล 1 WP / 8 ชม ผลิตผลงานด้าน CQI 1 เรื่อง =1 WP ขั้น ตอนการดำา เนิน การคิด นำ้า หนัก ภาระงานสายงาน พยาบาล ขั้น ที่ 1 การกำา หนดนำ้า หนัก คะแนนต่อ กิจ กรรม 1. การวิเ คราะห์ก ิจ กรรม ตามกระบวนการของการปฏิบัติงาน ที่ปฏิบัติอยู่ของแต่ละตำาแหน่ง แต่ละหน่วยงาน โดยการกำาหนด กิจกรรมที่จะนำามาใช้ในการคิดค่าภาระงาน ซึ่งกิจกรรมที่จะ นำามาคำานวณควรเป็นกิจกรรมที่มีการเปลี่ยนแปลง ตามปริมาณ งานที่เกิดจากการให้บริการ หรือจำานวนผู้รับบริการ หรือความ รุนแรงตามประเภทของผู้ป่วย หรือเป็นกิจกรรมที่สร้างคุณค่า ของการให้บริการ กิจกรรมพื้นฐานการทำางานที่ต้องกระทำาอยู่ เป็นประจำา เช่นการเตรียมหน่วยงาน การตรวจนับยา(OK ยา) การตรวจนับจำานวนเครื่องมือ(OK เครื่องมือ) การส่งข้อมูลเพื่อ การดูแลต่อเนื่อง( การส่งเวร) ไม่ควรถูกนำามาคิด( ซึ่งทุกคน มีเงินเดือนเป็นค่าตอบแทนพื้นฐานอยู่แล้ว กิจกรรมที่เป็นงาน ประจำาจึงเป็นภาระที่ทุกคนต้องรับผิดชอบกระทำาให้มีความ พร้อมต่อการให้บริการ ) ดังนั้นกิจกรรมที่จะนำามาเทียบเคียง ภาระงานจึงเป็นกิจกรรมที่แต่ละหน่วยงาน แต่ละตำาแหน่งต้อง กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี พฤศจิกายน 52
  • 7. 7 ปฏิบัติที่อาจไม่เหมือนกันหรือคล้ายกัน โดยกิจกรรมนั้นมีความ แตกต่างตามภาระงานแต่ละวันแต่ละเวร ให้ดำาเนินการดังนี้ 1.1 กำา หนดชื่อ ของกิจ กรรม ที่สามารถสื่อสารให้เข้าใจ ได้ตรงกัน ในการกำาหนดชื่อกิจกรรมควรเป็นชื่อที่ สะท้อนว่าทำากิจกรรมอะไร หากกิจกรรมใดมีราย ละเอียดหรือขั้นตอนของกิจกรรมจำานวนมาก สามารถ กำาหนดเป็นกิจรรมรวมหรือจำาแนกตามขั้นตอนของ กิจกรรมก้อได้ แต่ไม่ควรจำาแนกกิจกรรมละเอียดมาก เกินไปเพราะอาจมีผลต่อจำานวนรายการของกิจกรรม ที่ม าก ทำา ให้เ ป็น ภาระในการจัด เก็บ ข้อ มูล เมื่อนำาไปปฏิบัติ 1.2 กำาหนด หน่ว ยนับ ของกิจกรรม ต้องมีความชัดเจน เพราะบางกิจกรรมอาจสามารถนับได้หลายรูปแบบ จึง มีความจำาเป็นต้องกำาหนดให้ชัดว่าเป็นราย เป็นครั้ง หรือเป็นชิ้นงาน เพื่อให้การจัดเก็บข้อมูลมีความตรง กันของทุกหน่วยงาน 1.3 กำาหนดประเภทของกิจกรรม ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ประเภทคือ 1.3.1 ประเภท a ว่ากิจกรรมดังกล่าวเป็น กิจกรรมประเภทที่ต้องทำางานด้วยหลาย กิจกรรมประกอบกันและเป็นการทำางาน ร่วมกันหลายคน ซึ่งมีนำ้าหนักในกิจกรรมที่ ทำาใกล้เคียงกัน กำาหนดเป็นประเภทที่ต้อง หารเฉลี่ยกันทั้งเวร 1.3.2 ประเภท b หากกิจกรรมใดเป็นการทำางาน โดยคนเดียวเป็นส่วนใหญ่ หรืออาจมีคน ทำางานร่วมแต่ปริมาณงานอาจหนักไปที่คน ใดคนหนึ่ง เช่นการฉีดยา ถึงแม้นจะมี การเตรียมยาโดยคนหนึ่งแต่การฉีดเป็นอีก คน อาจกำาหนดเป็นกิจกรรมที่ให้หน่วยกับ คนฉีดยา หรือการเย็บแผล อาจมีคนช่วย กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี พฤศจิกายน 52
  • 8. 8 เตรียมหรือเพิ่มเติมเครื่องมือ แต่ควร กำาหนดเป็นกิจกรรมหลักสำาหรับคนที่ทำา หน้าที่เป็นคนเย็บแผล เป็นต้น กำาหนดเป็น ประเภท b 1.3.3 ประเภท c คือกิจกรรมที่ต้องร่วมมือกันทำา ทั้งหน่วยงานเพื่อให้เกิดคุณภาพของงาน ซึ่งกิจกรรมกลุ่มนี้เป็นกิจกรรมตามตัวชี้วัด KPI หรือกิจกรรมด้านคุณภาพ ที่นำามาคิด ภาระงานที่เป็นภาระงานด้านคุณภาพ( Quality point) ที่นำามาจัดสรรให้กับ บุคลากรทั้งหน่วยงานเท่าเทียมกัน เช่น ร้อยละของแฟ้มประวัติที่มีการบันทึก ทางการพยาบาลที่สมบูรณ์ อัตราการติด เชื้อในแผลสะอาด ซึ่งต้องนำามาเทียบ เคียงกับเป้าหมายที่กำาหนด ก่อนกำาหนด เป็นนำ้าหนักคะแนน 1.4 กำาหนดคำา จำา กัด ความ ของกิจกรรม โดยเฉพาะ กิจกรรมประเภท a ควรกำาหนดว่ามีองค์ประกอบการ ทำางานอะไรบ้าง ขั้นตอนนี้มีความสำาคัญอย่างยิ่ง โดย เฉพาะกิจกรรมที่มีองค์ประกอบของขั้นตอนหลายขั้น ตอน ในการทำางาน หรือประกอบด้วยกิจกรรมหลาย กิจกรรมจากบุคลากรหลายประเภท เช่น การรับใหม่ผู้ ป่วยใน (ประกอบด้วย การประเมินสภาพผู้ป่วย การจัด ผู้ป่วยเข้าเตียง การเตรียมเครื่องมือพิเศษ การให้คำา แนะ การจัดทำาแฟ้มประวัติ เป็นต้น) หากกำาหนดราย ละเอียดของคำาจำากัดความไม่ครอบคลุม อาจทำาให้ผู้ จัดเก็บกิจกรรมมีความรู้สึกว่างานที่ทำาไม่ได้ถูกประเมิน แต่ถ้าครอบคลุมทุกรายละเอียดมากเกินไป กิจกรรม บางอย่างที่เป็นภาระงานที่สำาคัญอาจไม่ถูกประเมินได้ เช่น ถ้ารวมการให้การรักษาตามแผนการรักษา ใน กระบวนการรับใหม่ด้วย เช่นการให้ยา ย่อมทำาให้การ กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี พฤศจิกายน 52
  • 9. 9 ให้ยาที่ผู้ป่วยแต่ละรายที่มีรายการให้ที่แตกต่างกัน ไม่ เกิดความเป็นธรรมกับผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่ต้องมี การให้ยาหลายรายการขณะที่บางหน่วยไม่มีการให้ ยาเป็นต้น ดังนั้นการให้คำาจำากัดความจึงมีความ สำาคัญอย่างมากต่อกิจกรรมที่มีกระบวนการหรือขั้น ตอนหลายอย่างในกิจกรรมเดียวกัน และยังเป็นการ สือสารทำาความเข้าใจให้ตรงกันของผู้จัดเก็บข้อมูล ่ แต่ละหน่วยงาน ไม่ให้เกิดความซำ้าซ้อนของการเก็บ ข้อมูลด้วยเช่นกัน 1.5 กำาหนดประเภทของบุค ลากร ที่รับผิดชอบหลัก ใน การทำากิจกรรม ด้วยกิจกรรมบางรายการที่กำาหนดเป็น ประเภท b แต่มีผู้มีส่วนร่วมหลากหลายวิชาชีพหรือมี ผู้รับผิดชอบบางส่วน ควรต้องกำาหนดประเภทของ บุคลากรในกิจกรรมนั้นด้วย ซึ่งจะได้สามารถนำามา คำานวณนำ้าหนักของกิจกรรมตามประเภทของบุคคลา กรด้วย เนื่องจากบางกิจกรรมที่เหมือนกันแต่การให้ บริการกับผู้รับบริการที่แตกต่างกันอาจต้องการบุคคลา กรที่ แตกต่างกันจึงควรมีค่าคะแนนที่ไม่เท่ากัน เช่น การตรวจวัดสัญญาณชีพผู้ป่วย หากเป็นแผนกผู้ป่วย นอกอาจกำาหนดเป็นหน้าที่หลักของผู้ช่วยเหลือคนไข้ แต่เมื่อให้บริการที่แผนกผู้ป่วยหนักต้องเป็นหน้าที่ของ พยาบาลวิชาชีพ ค่านำ้าหนักการวัดสัญญาณชีพของ ทั้ง 2 แผนก อาจใช้เวลาเท่ากันแต่นำ้าหนักของค่า คะแนนการทำางานจึงไม่ควรเท่ากัน ตัว อย่า งการการ กำา หนดชื่อ กิจ กรรมและคำา จำา กัด ความ ชื่อกิจกรรม หน่วย ประเ คำาจำากัดความ ประเภทบุคคลา กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี พฤศจิกายน 52
  • 10. 10 นับ ภท กร การพยาบาลผู้ ราย a การคัดกรองนำ้าหนัก พยาบาล ป่วยนอก ส่วนสูง BMI สัญญาณ วิชาชีพ 1 คน ชีพ ซักประวัติก่อนตรวจ ผู้ช่วยเหลือ การดูแลขณะตรวจ การ คนไข้ 1 คน ดูแลหลังตรวจ การนัดผู้ ป่วย การพยาบาลผู้ ครั้ง b การวัดไข้ก่อนการเช็ด พยาบาล ป่วยที่ต้อง ตัว การเช็ดลดไข้ด้วยนำ้า วิชาชีพ ปฐมพยาบาล เช่น การวัดไข้หลังการเช็ด เช็ดตัวลดไข้ ตัว อัตราความพึง ร้อยละ c การประเมินความพึง ทั้งหน่วยงาน พอใจ พอใจโดยกรรมการ ประเมินความพึงพอใจ โดยการสุ่มประเมินทุก เดือน การตรวจรักษาผู้ ครั้ง b การตรวจวินิจฉัย สั่งยา พยาบาล ป่วย นอก โดย และการบันทึกผลการ วิชาชีพ พยาบาล รักษาการวินิจฉัยใน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ตาม DRG การช่วยฟื้นคืนชีพ ครั้ง b การช่วยฟื้นคืนชีพ ผู้ พยาบาล CPR (ทีมละ 4 ป่วยทั้งการให้ออกวิเจน วิชาชีพ 2 คน คน) ทางหน้ากากหรือการใส่ EMT หรือ TN ท่อช่วยหายใจ การให้ 1 คน ยา การนวดหัวใจ ผู้ช่วยเหลือ คนไข้ หรือ คน งาน 1 คน 2. การวิเ คราะห์เ วลามาตรฐานของแต่ล ะกิจ กรรม เพื่อนำา มาใช้เป็นค่าเริ่มต้นในการคำานวณ ภายใต้แนวคิดของการ เทียบค่าของแต่ละกิจกรรมโดยใช้เวลาที่ให้บริการเป็นตัว กำาหนดนำ้าหนักของแต่ละกิจกรรม จากแนวคิดที่ว่างานที่ใช้ เวลามากย่อมมีต้นทุนการให้บริการสูงกว่างานที่ใช้เวลาน้อย กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี พฤศจิกายน 52
  • 11. 11 และเพื่อให้มีแนวทางในการเทียบค่าของงานแต่ละกิจกรรม จน สามารถเทียบนำ้าหนักของแต่ละกิจกรรมออกมาเป็นตัวเลขได้ 2.1 เวลาที่ใช้ในการคำานวณมาจากการใช้เวลาที่เป็นผล การวิจัยขององค์กรระดับประเทศ หรือจากการจัดเก็บ ข้อมูลจริงของหน่วยงาน โดยเป็นค่าของเวลาเฉลี่ย ของกิจกรรมนั้นๆ เป็น จำานวนนาที ต่อกิจกรรม 1 กิจกรรม ประเภทกิจกรรม หน่วยนับ ประเภท เวลาที่ใช้ (นาที) ให้การพยาบาลผู้ป่วย ราย a 15 นอก ให้การพยาบาลผู้ป่วย ครั้ง b 30 หรือปฐมพยาบาล เช่น เช็ดตัวลดไข้ อัตราความพึงพอใจ ร้อยละ c - 2.2 แปลงค่าเวลาเป็นค่าภาระงาน (WP) เมื่อมีการ วิเคราะห์เวลาของแต่ละกิจกรรมแล้วให้นำาค่าของเวลา แต่ละกิจกรรมมาปรับเป็นค่าภาระงาน โดยกำาหนดให้ เวลา 10 นาที มีค่าเท่ากับ 1 ภาระงาน (WP) การปรับ เวลาเป็นค่าภาระงานจึงเท่ากับ เวลา / 10 = WP เพื่อนำาค่าภาระงานไปเทียบเคียงกันของแต่ละกิจกรรม ประเภทกิจกรรม หน่วย ประเภท เวลาที่ คิดเป็น WP นับ ใช้ ( 10 นาที= 1WP) (นาที) ให้การพยาบาลผู้ ราย a 15 1.5 ป่วยนอก ให้การพยาบาลผู้ ครั้ง b 30 3 ป่วยหรือ ปฐมพยาบาล เช่น เช็ดตัวลดไข้ อัตราความพึงพอใจ ร้อยละ c - - กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี พฤศจิกายน 52
  • 12. 12 3. การปรับ เพิ่ม ค่า คะแนน ตามค่า ของวิช าชีพ ในการทำา กิจกรรมการให้บริการแม้นจะเป็นกิจกรรมเดียวกันแต่กระทำา โดยบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานที่ไม่เท่า กันย่อมมีคุณค่าของงานที่แตกต่างกัน รวมทั้งประเภทของผู้รับ บริการในการดำาเนินกิจกรรมมีความหลากหลายทำาให้จำาเป็น ต้องมีการจัดประเภทของผู้ให้บริการกับผู้รับบริการที่แตกต่าง กัน จึงเป็นที่มาของการปรับเพิ่มค่าวิชาชีพ ในการเพิ่มค่า วิชาชีพ ใช้ฐานแนวคิดจากการคิดค่าตอบแทนนอกเวลา ราชการของแต่ละวิชาชีพที่ไม่เท่ากันมาเป็นตัวกำาหนด ในการคำานวณค่าภาระงานของแต่ละวิชาชีพใช้ค่าตอบแทน ล่วงเวลาเป็นฐานการคำานวณ ตามระเบียบค่าตอบแทนที่กระทรวงสาธารณสุขกำาหนด ในขั้น พื้นฐาน หากหน่วยงานใดได้มีการปรับอัตราค่าตอบแทนล่วง เวลา(OT) ไปแล้ว ให้ใช้อัตราที่หน่วยงานมีการกำาหนดใหม่มา เป็นฐานในการคำานวณ ดังตัวอย่างที่ใช้จากอัตราที่กระทรง สาธารณสุขประกาศ วิชาชีพ อัตรา O ค่าวิชาชีพต่อ ค่าวิชาชีพต่อนาที= ค่า T/วัน ชัวโมง= ่ ค่าวิชาชีพต่อ วิชาชีพ ค่าล่วงเวลา/7 ชัวโมง /60 นาที ่ ต่อ 1 ชัวโมง ่ แต้ม WP แพทย์/ 1,100 157.14 2.62 26.2 ทันตแพทย์ เภสัชกร 720 102.85 1.71 17.1 พยาบาลวิชาชีพ 600 85.71 1.43 14.3 พยาบาล 480 68.57 1.14 11.4 เทคนิค/EMT ลูกจ้าง 300 42.86 0.71 7.1 • นำากิจกรรมและเวลาที่ได้กำาหนดไว้มาคิดค่าตามแต้มวิชาชีพ เพื่อเป็นแต้มต่อภาระงาน กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี พฤศจิกายน 52
  • 13. 13 กิจกรรม หน่ว ประเ เวลาที่ แปลง แต้ม แต้มหลัง ยนับ ภท ใช้ เวลา วิชาชีพ ปรับค่า (นาที) เป็น W วิชาชีพ P ให้การพยาบาลผู้ ราย a 10 1 ป่วยนอก GN=1 GN =14.3 พยาบาลวิชาชีพ 4.3 WP 1 คน Aid Aid= 7.1 ผู้ช่วยเหลือคนไข้ =7.1 WP 1 คน ตรวจรักษาโรค ราย b 5 0.5 Doc= Doc= โดยแพทย์ 26.2 0.5*26.2 =13.1 WP ตรวจรักษาโรค ราย b 5 0.5 GN=1 GN=0.5* โดยพยาบาล 4.3 14.3 =7.15 WP การช่วยฟื้น ราย b 30 3 GN=1 GN=3*14 คืนชีพ CPR (ทีม 4.3 .3 ละ 4 คน) =42.9WP -พยาบาล 2 คน EMT=1 EMT=3*1 -EMT 1 คน 1.4 1.4 -Aide 1 คน =34.2WP Aid=7. Aid=3*7. 1 1 =21.3 WP เตรียมเครื่องมือ ชิ้น a 5 .5 Aid=7. 3.55 เพื่อส่งทำาให้ 1 ปราศจากเชื้อ ทำาถุงมือ คู่ b 1.5 0.15 Aid=7. 1.07 1 4. การปรับ เพิ่ม ค่า คะแนน ด้วยลักษณะของกิจกรรมที่ใช้เวลา เท่ากันแต่อาจมีความยุ่งยากซับซ้อนที่ไม่เท่ากัน มีความเสี่ยง กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี พฤศจิกายน 52
  • 14. 14 ทั้งขณะให้บริการของผู้ให้บริการ หรือความเสี่ยงต่อการฟ้อง ร้องที่เกิดจากผลกระทบของการให้บริการไม่เป็นไปตามความ ประสงค์ บางกิจกรรมต้องการความเชี่ยวชาญของผู้ปฏิบัติ เป็น กิจกรรมที่ถูกกำาหนดในขอบเขตของวิชาชีพ จึงควรมีการปรับ ค่าคะแนนตามนำ้าหนักของวิชาชีพ โดยพิจารณาจาก ความยุ่งยาก ซับซ้อนของงาน ความเสี่ยง การประกันคุณภาพ และประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญเฉพาะของบุคลากร ในการกำาหนดนำ้าหนักเพิ่ม เติมนี้เพื่อให้คุณค่ากับงานที่ มีเวลาเท่ากัน ทำางานโดยบุคลากร กลุ่มเดียวกัน หรือต่างกันแต่ลักษณะงานที่มีความเสี่ยง มีความ ต้องการความรอบครอบ การป้องกันความเสี่ยงและการประกัน คุณภาพของงาน เช่น การให้สารนำ้าทางเส้นเลือดดำา (IV) กับ การให้เลือด ( Blood infusion ) เวลาในการให้บริการเท่า กัน พยาบาลวิชาชีพเป็นผู้กระทำาแต่ ความเสี่ยงในการทำางาน ของผู้ให้บริการ ผู้รับบริการแตกต่างกัน หรือการตรวจรักษาผู้ ป่วยโดย พยาบาลวิชาชีพ และแพทย์ แม้นจะใช้เวลาเท่ากัน และมีการคำานวณค่าของวิชาชีพแล้ว แต่ความรับผิดชอบทา งกฏหมายต่อการให้บริการแตกต่างกัน แพทย์ต้องเป็นผู้รับผิด ชอบหลักต่อการฟ้องร้องตามกฎหมายหากมีการตรวจรักษาผิด พลาดหรือไม่ได้มาตรฐาน ดังนั้นการให้นำ้าหนักเพื่อเพิ่มค่า ของงานจึงเป็นการถ่วงนำ้าหนักของงานที่คล้ายกัน ในการถ่วง นำ้าหนักให้มีการเติมเป็นสัดส่วนจาก 1. ความยุ่งยากของงานที่มีขั้นตอนซับซ้อน 2. ความเร่งด่วนของงานไม่สามารถล่าช้าได้ 3. ความรับผิดชอบต่อความเสี่ยงที่เกิดขึ้น ทั้งกับผู้รับบริการ และผู้ให้บริการ 4. การประกันคุณภาพของงานที่ไม่อาจผิดพลาดได้ ในการ ถ่วงนำ้าหนักให้แต่ละเกณฑ์มีค่านำ้าหนัก 0.1- 0.5 เท่าของ นำ้าหนักคะแนน เมื่อรวมค่าของทั้ง 4 เกณฑ์ แล้วให้นำามาปรับ คะแนนของแต่ละกิจกรรมตามนำ้าหนักที่กำาหนด ในการกำาหนดบาง กิจกรรมที่ไม่เข้าเกณฑ์ ไม่จำาเป็นต้องเพิ่มนำ้าหนัก แต่หากกิจกรรมที่ เป็นไปตามเกณฑ์ให้ปรับค่าเพิ่มขึ้น การให้ค่าคะแนนควรเป็นการคิด กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี พฤศจิกายน 52
  • 15. 15 คะแนนร่วมกันหลายๆฝ่ายเนื่องจากการคิดค่าถ่วงนำ้าหนักเพิ่มนี้ เป็นการใช้วิจารณญาณ ของคณะทำางานเป็นหลัก ไม่สามารถ กำาหนดเป็นมาตรของการวัดได้แต่ต้องใช้วิจารณญาณนของบุคคลา กรเป็นสำาคัญ แล้วนำามากำาหนดเป็นแนวทางเพื่อการคิดนำ้าหนักที่ ต้องการเพิ่ม ตัวอย่างการกำาหนดเกณฑ์นำ้าหนักคะแนน เกณฑ์เพิ่ม 0.5 เท่า 0.4 เท่า 0.3 เท่า 0.2 เท่า 0.1 เท่า นำ้าหนัก กิจกรรม 1.ความยุ่ง เป็นงานที่ ไม่มีแนวทาง มีแนวทาง มีแนวทาง มีแนวทางการ ยากในการ ไม่มี การปฏิบัติ การปฏิบัติ การปฏิบัติ ปฏิบัติงานที่ ปฏิบัติ แนวทาง งานที่กำาหนด งานที่กำาหนด งานที่ กำาหนด กำาหนด ไว้ แต่งานมี แล้ว แต่ต้อง กำาหนด เรียบร้อยแล้ว ตายตัว ขั้นตอนยุ่ง อาศัย เรียบร้อย โดยไม่ต้องมี แน่นอน ยากซับซ้อน ประสบการณ์ แล้วแต่บาง การประสาน ต้องการการ ทีต้องใช้ทั้ง ่ ความรู้ความ ครั้งต้องมี งานหรือ ตัดสินใจ ประสบการณ์ ชำานาญ การประสาน ตัดสินใจใหม่ และความรู้ ความรู้ความ ทักษะเฉพาะ งานหรือต้อง และเมื่อปฏิบัติ ความ ชำานาญ ตัวของผู้ ปรึกษาเพื่อ ตามจะทำาให้ ชำานาญหรือ ทักษะเฉพาะ ปฏิบัติงาน ตัดสินใจ งานสำาเร็จได้ การฝึก ตัวของผู้ บางกิจกรรม ขั้นตอนใน อบรมเพิ่ม ปฏิบัตงาน ิ ต้องการการ การ ปฏิบัติ เติม เพื่อ หรือการ ประสานที่ งานมีน้อยไม่ การปฏิบัติ อบรมเพิ่มเติม รวดเร็ว มีขั้น ยุงยากซับ ่ กิจกรรม แต่เป็นงานที่ ตอนในการ ซ้อน นั้นๆ หรือ สามารถ ปฏิบัติงาน เป็นงานใน ปฏิบัตได้ใน ิ หลายขั้น หน่วยงาน ทุกหน่วยงาน ตอน เฉพาะ เท่านั้น เกณฑ์เพิ่ม 0.5 เท่า 0.4 เท่า 0.3 เท่า 0.2 เท่า 0.1 เท่า นำ้าหนัก กิจกรรม 2.ความเร่ง เป็นกิจกรรม ต้องให้ ให้บริการ ให้บริการ ไม่มีความเร่ง ด่วนหรือ ที่ต้องการ บริการตาม ตามเวลาแต่ ล่าช้าได้บ้าง ด่วนในการ กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี พฤศจิกายน 52
  • 16. 16 ภาวะวิกฤตที่ ความเร่งด่วน กำาหนดเวลา อาจมีการเตรี แต่ต้อง ทำางาน ต้องการ ในการให้ หากไม่ ยมก่อนหรือ กระทำาหาก กิจกรรมที่ บริการต้อง กระทำาตาม กระทำาก่อน ไม่กระทำาจะ กระทำา กระทำาทันที เวลาที่ เวลาได้บ้าง มีผลต่อการ ทันใด หาก กำาหนดอาจมี รักษา ไม่กระทำา ผลต่อผลการ พยาบาลบ้าง อาจมีผลต่อ รักษา ผู้รับบริการ พยาบาลของ ผูป่วย ้ เกณฑ์เพิ่ม 0.5 เท่า 0.4 เท่า 0.3 เท่า 0.2 เท่า 0.1 เท่า นำ้าหนัก กิจกรรม 3.โอกาสการ กิจกรรมหรือ กิจกรรมหรือ เป็นกิจกรรม กิจกรรมหรือ มีโอกาสการ เกิดความ บริการที่ บริการทีผู้ ่ ที่มีผลต่อ บริการที่อาจ เกิดความ เสี่ยงต่อผู้รับ ต้องมีความ กระทำางาน ผู้รับบริการ มีผลต่อผู้รับ เสี่ยงต่อผู้รับ บริการหรือ รับผิดชอบ นั้นมีความ ต้องการ บริการถึง บริการหาก ให้บริการ ทางกฏหมาย เสี่ยงต่อการ ความ แม้ว่าจะมี ไม่ปฏิบัตตาม ิ โดยตรงหาก ตัดสินใจใน ระมัดระวังใน การทำาตาม ขั้นตอน แต่ การกระทำามี งานนั้น ทั้ง การให้ ขั้นตอนแล้ว ถ้าปฏิบัติตาม ผลต่อ ทางด้านกฏ บริการและ ต้องการการ ขั้นตอนจะไม่ สุขภาพของ หมาย ด้าน ต้องการ เฝ้าระวังจาก เกิดความ ผู้รับบริการ สุขภาพ หรือ ความเร่งด่วน ผูให้บริการ ้ เสี่ยงใดๆ หรือการฟ้อง สุขภาพจิต ในการตัดสิน หลังการ เป็นงานที่ ของผูให้ ้ ใจเพื่อลด ดำาเนิน ไม่มผลกระ ี ร้องเกิดขึ้น / บริการ หรือ ผลกระทบต่อ กิจกรรมนั้น ทบต่อ เป็นงานที่มี เป็นงานที่ ผู้รับบริการ สุขภาพของ ผลต่อผู้ให้ ต้องกระทำา หรือเป็นงาน ผู้ให้บริการ บริการ หรือ ในยามวิกาล ที่ผู้ให้บริการ เป็นบริการที่ มีทรัพยากร มีโอกาสได้ ต้องมีเครื่อง ที่สนับสนุน รับผลกระทบ ป้องกันเพื่อ ในการปฏิบัติ โดยไม่ตั้งใจ ป้องกัน งานน้อยกว่า ได้ อันตรายที่จะ ปกติ มาถึงผู้ให้ บริการ หรือ กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี พฤศจิกายน 52
  • 17. 17 เป็นบริการ ในหน่วยงาน ที่บริการผู้ ป่วยโรค ติดต่อ เกณฑ์เพิ่ม 0.5 เท่า 0.4 เท่า 0.3 เท่า 0.2 เท่า 0.1 เท่า นำ้าหนัก กิจกรรม 4.ความสำาคัญ งานบริการ เป็นงาน เป็นงาน เป็นงาน เป็นงาน ของงานและ หลักที่ต้องมี บริการหลักที่ บริการหลัก สนับสนุนการ สนับสนุนการ คุณภาพของ การกระทำา ต้องมีความ ทางการ บริการและมี ให้บริการหลัก งาน และมี ประกัน เข้มงวดด้าน พยาบาลที่มี การกำาหนด แต่ต้องมีขาด คุณภาพ ไม่ คุณภาพใน การกำาหนด แนวทาง ไม่ได้ สามารถผิด ระดับหนึ่ง แนวทาง ไว้ ปฏิบติไว้แล้ว ั พลาดได้แม้น และต้องมีการ แล้ว แต่ต้อง แต่เมื่อปฏิบัติ แต่น้อย ทบทวน รวม ใช้วิจารณญา งานต้องมีการ ถึงการสร้าง นก่อนการ ตรวจสอบซำ้า คุณค่าของ ลงมือปฏิบติั ทุกครั้ง งานให้ดีขึ้น ตัวอย่างการคิดค่าคะแนนที่ปรับเพิ่ม ความยุ่ง ความเร่ง โอกาสการ ความสำาคัญ คะแนน ประเภทกิจกรรม ยากใน ด่วนหรือ เกิดความ ของงานและ นำ้าหนัก การปฏิบัติ ภาวะวิกฤต เสี่ยงต่อผู้รับ คุณภาพของ ที่ ที่ต้องการ บริการหรือ งาน เพิ่ม(เท่ กิจกรรมที่ ให้บริการ า) กระทำา ให้การพยาบาลผู้ 0 0 0.1 0.1 0.2 ป่วยนอก ตรวจรักษาโรคโดย 0.5 0.5 0.5 0.5 2 แพทย์ ตรวจรักษาโรคโดย 0.4 0.4 0.3 0.4 1.5 พยาบาล การช่วยฟื้น 0.5 0.5 0.5 0.5 2 คืนชีพ CPR เตรียมเครื่องมือเพื่อ 0 0 0 0 0 กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี พฤศจิกายน 52
  • 18. 18 ส่งทำาให้ปราศจาก เชื้อ เมื่อได้คะแนนนำ้าหนักที่เพิ่ม (เท่า) แล้วให้นำาคะแนนที่ปรับเพิ่มมา คำานวณค่านำ้าหนักจากค่า WP โดยการ นำาไปคูณกับค่า WP เป็นค่า คะแนนที่จะเพิ่มให้กับกิจกรรมนั้น จากนั้นนำาค่าของคะแนนที่คูณได้ ไปบวกกับ WP เดิมอีกครั้ง จะได้เป็นค่าคะแนน WP สุดท้ายที่ สามารถนำามาใช้ในการเทียบเคียงค่าของกิจกรรมแต่ละ วิธ ีน ำา คะแนนนำ้า หนัก ที่ผ ่า นการพิจ ารณาร่ว มกัน แล้ว มาปรับ แต้ม ภาระงาน กิจกรรม หน่ว ประเ เวลาที่ แต้ม คะแนน แต้ม WP หลังปรับ ยนับ ภท ใช้ WP ก่อน นำ้าหนักที่ นำ้าหนัก (นาที) การปรับเพิ่ม เพิ่ม(เท่า) ให้การพยาบาลผู้ป่วย ราย a 10 GN=14.3 GN= GN=14.3+(14 นอก WP 0.2 .3.*0.2) พยาบาลวิชาชีพ 1 Aid=7.1 =14.3+2.86 คน WP =17.16 WP ผู้ช่วยเหลือคนไข้ 1 คน ตรวจรักษาโรคโดย ราย b 5 13.1 WP 2 Doc=13.1+(1 กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี พฤศจิกายน 52
  • 19. 19 แพทย์ 3.1*2) =13.1+26.2 =39.3 WP ตรวจรักษาโรคโดย ราย b 5 7.15 WP 1.5 GN=7.15+ พยาบาล (7.15*1.5) =7.15 +10.72 =17.88 WP การช่วยฟื้น ราย b 30 GN=42. GN= 2 GN=42.9+(42 คืนชีพ CPR (ทีมละ 4 9 EMT= .9*2) คน) EMT=34. 1.5 =42.9+85 -พยาบาล 2 คน 2 Aid ไม่ .8 -EMT 1 คน Aid=21. เพิ่ม =128.7 -Aide 1 คน 3 WP EMT=34.2+(3 4.2*1.5) =34.2+5 1.3 =85.5 WP Aid = 21.3 WP เตรียมเครื่องมือเพื่อ ชิ้น a 5 3.55 0 3.55 ส่งทำาให้ปราศจาก เชื้อ ทำาถุงมือ คู่ b 1.5 1.07 0 1.07 การคิด แต้ม ประกัน รายวัน การกำาหนดแต้มประกันประจำาวันของบุคลากรแต่ละตำาแหน่ง เพื่อเป็นค่าคะแนนที่ประกันว่าจะมีคนทำางานในหน่วยงาน งานพื้น กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี พฤศจิกายน 52
  • 20. 20 ฐาน ทีอยู่ในบทบาทหน้าที่ ที่ทุกคนได้รับการปฏิบัติ และเพื่อเป็น ่ เกณฑ์ขั้นพื้นฐานในการคิดค่าตอบแทนในส่วนที่เป็นภาระงานสูง กว่าปกติ โดยทุกคนต้องมีแต้มประกันขั้นตำ่าในแต่ละเดือน โรง พยาบาลที่จ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน ควรจ่ายค่าตอบแทนตาม ผลงาน ( WORK POINT ) ให้เฉพาะเจ้าหน้าที่ ที่มีผลงานเกิน เกณฑ์ประกันขั้นตำ่าเท่านั้น วิธีคิดแต้มประกันขั้นตำ่า นิยมใช้วิธี เทียบเคียงจากค่าตอบแทนล่วงเวลาของทุกวิชาชีพ ซึ่งจะคำานวณ จาก ค่าตอบแทนของวิชาชีพนั้นๆ คูณด้วย 20 วันทำาการ(ซึ่ง เป็นการประมาณค่าของเวลาทำางาน) แต่หากผู้ที่ปฏิบัติงานมีวัน ทำาการมากกว่าให้คิดตามวันที่ขึ้นปฏิบัติงานจริง ผลลัพธ์ที่ได้ เท่ากับ แต้มประกันต่อเดือน โดยต้องมีการกำาหนดค่าของแต้มก่อน การจัดสรรจริง ว่าค่าของแต้มเริ่มต้นที่ใช้ในการคำานวณแต้มประกัน ว่ามีค่าเท่าใด ส่วนใหญ่จะกำาหนดไว้ที่ 10 บาทต่อแต้ม ดังนั้น ใน หนึ่งวันทำาการ พยาบาลวิชาชีพมีค่าตอบแทนล่วงเวลา 600 บาท ต้องปฏิบัติงานให้ได้ไม่น้อยกว่า 60 แต้มต่อวัน วิธีการคิดแต้ม ประกันเป็นเพียงการกำาหนดให้ มีหลักเกณฑ์ในการเทียบค่าของทุก วิชาชีพเท่านั้น ตัว อย่า งการคำา นวณแต้ม ประกัน วิชาชีพ OT/วัน แต้ม แต้มประกัน/ แต้ม แต้ม / ประกัน/ เดือน (วัน ประกัน/ นาที วัน ทำาการ 20 ชม.(OT) วัน) คิด 7 ชม. แพทย์/ 1,100 110 2,200 15.71 0.26 ทันตแพทย์ เภสัชกร 720 72 1,440 10.28 0.17 พยาบาล 600 60 1,200 8.57 0.14 วิชาชีพ จพง. / 480 48 960 6.85 0.11 พยาบาล เทคนิค ลูกจ้างประจำา/ 300 30 600 4.28 0.07 ลูกจ้าง ชัวคราว ่ กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี พฤศจิกายน 52
  • 21. 21 การบริห ารงบประมาณ แนวคิดการจ่ายค่าตอบแทนตามภาระงานเป็นการจ่ายค่า ตอบแทนที่สะท้อนการทำางานงานที่เรียกว่า Performances base แต่การจ่ายค่าตอบแทนดังกล่าวต้องไม่ส่งผลกระทบต่อการบริหารงบ ประมาณของหน่วยงาน การบริหารการจ่ายค่าตอบแทนตามภาระ งานจึงมีแนวคิดการจ่ายออกเป็น 2 แบบคือ 1. การจ่ายค่าตอบแทนตามระเบียบค่าตอบแทนกระทรวง สาธารณสุข ตามภาระงาน ของบางสายงานต่อจากค่า ตอบแทนที่ได้รับตามระเบียบราชการ และได้รับค่าตอบแทน ตามภาระงานในอัตราตามประกาศกำาหนด เช่น กรณีที่ ปฏิบัติงานต่างหน่วยงาน และ เบิกจ่ายตามปริมาณงานที่ ปฏิบัติ ของ แพทย์ ทันตแพทย์ 2. การเบิกจ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน ตามศักยภาพของ หน่วยงานประกาศกำาหนด ซึ่งเป็นรูปแบบการจ่ายค่า ตอบแทนให้กับทุกคนในหน่วยงานโดยการกันเงินค่า ตอบแทนออกจากงบประมาณที่มี และจ่ายตามปริมาณงาน ที่ทำาการตกลง ซึ่งเรียกว่า Work point โดยมีการคิดค่า ตอบแทนต่อกิจกรรมในการทำางาน ส่วนใหญ่มีการกันงบ ประมาณค่าใช้จ่ายรวมของโรงพยาบาลออก ส่วนที่เหลือกัน ออกเป็นค่าตอบแทนและงบลงทุน ในการบริหารค่า ตอบแทนต่อหน่วยขึ้นกับการทำาความตกลงของผู้บริหารใน หน่วยงาน ปัจจุบันมี 2 แบบ คือ a. บริหารงบรวม โดยตั้งงบประมาณไว้ต่อเดือน แล้วนำา จำานวนแต้มภาระงานที่ได้มาหารยอดเงินคิดเป็นค่า ตอบแทนต่อแต้ม ทำาให้การจ่ายค่าตอบแทนต่อหน่วย เท่ากันทุกสายงาน ค่าตอบแทนต่อหน่วยจะผันแปร ตามจำานวนแต้มที่เก็บในแต่ละเดือน ตัวอย่างเช่น งบ ประมาณ ที่ใช้ต่อเดือน 150,000 บาท จำานวนแต้ม เดือน กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี พฤศจิกายน 52
  • 22. 22 เดือน มกราคม แต้มรวมทั้งโรงพยาบาล 15,000 แต้ม ค่าตอบแทนต่อหน่วย คือ 10 บาท แพทย์เก็บแต้มได้ 2,000 แต้ม ได้รับจัดสรร 20,000 บาท พยาบาลเก็บได้ 300 แต้ม ได้รับจัดสรรเงิน 3,000 บาท เดือน กุมภาพันธ์ แต้มรวมทั้งโรงพยาบาล 10,000 แต้ม ค่าตอบแทนต่อแต้มเป็น 15 บาท แพทย์เก็บแต้มได้ 2,000 แต้ม ได้รับจัดสรร 30,000 บาท พยาบาลเก็บได้ 300 แต้ม ได้รับจัดสรรเงิน 4,500 บาท เดือนมีนาคม แต้มรวมทั้งโรงพยาบาล 30,000 แต้ม ค่าตอบแทนต่อแต้มเป็น 5 บาท แพทย์เก็บแต้ม ได้ 4,000 แต้ม ได้รับจัดสรร 20,000 บาท พยาบาล เก็บได้ 350 แต้ม ได้รับจัดสรรเงิน 1,750 บาท b. บริหารงบแยกรายหน่วยงานหรือรายวิชาชีพ มีการกำาหนด วงเงินที่จะนำามาคำานวณค่าตอบแทนต่อเดือนแต่จัดสรร วงเงินไปตามแต้มของแต่ละวิชาชีพหรือหน่วยงาน ซึ่งแต่ละ วิชาชีพหรือหน่วยงานจะได้รับวงเงินคงที่ทุกเดือน ค่า ตอบแทนต่อแต้มของแต่ละสายงานมีค่าไม่เท่ากัน เช่น แบ่งกลุ่ม สัดส่วน รวม คิดเป็นงบ ประมาณ 0.7 0.4 1.1 2 0.6 4 0.3 แพทย์ 5 5.5 23,914 6.0 ฝ่าย เภสัช 6 4 8 26,435 งาน OPD 3 10 4.8 20,870 9.1 งาน ER 7 3 4 2 39,652 งาน Ward 1 12 6 9 39,130 รวมสัด ส่ว น 34.5 กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี พฤศจิกายน 52
  • 23. 23 รวมเงิน 150,000 เดือน มกราคม แพทย์ รับไป 23,914 บาท จำานวนแต้มที่เก็บได้ 2,300 แต้ม ได้ แต้มละ 10.39 บาท เภสัชกร รับไป 26,435 บาท จำานวนแต้มทุกคนรวม 3,000 แต้ม ได้แต้มละ 8.81 บาท งาน OPD รับไป 20,870 บาท แต้มทุกคนรวม 1,500 แต้ม ได้ แต้มละ 13.91 บาท เดือน กุมภาพันธ์ แพทย์ รับไป 23,914 บาท จำานวนแต้มที่เก็บได้ 5,000 แต้ม ได้ แต้มละ 4.78 บาท เภสัชกร รับไป 26,435 บาท จำานวนแต้มทุกคนรวม 2,000 แต้ม ได้แต้มละ 13.21 บาท งาน OPD รับไป 20,870 บาท แต้มทุกคนรวม 3,500 แต้ม ได้ แต้มละ 5.96 บาท การใช้ป ระโยชน์จ ากการคิด ค่า ภาระงาน การคิดค่าของภาระงานเป็นแนวทางในการกำาหนดค่าของ กิจกรรมแต่ละกิจกรรม เพื่อนำามาเทียบเคียงการทำางานของบุคคลา กร ทั้งในสายงานเดียวกันในการทำางานแต่ละช่วงเวลา บุคลากร กลุ่มเดียวกันแต่ทำางานต่างหน่วยงานกัน หรือบุคลากรต่างสายงาน โดยมุ่งเน้นที่การนำาค่าของภาระงานมาใช้ในการจ่ายค่าตอบแทน เป็นหลัก ด้วยจุดเริ่มต้นของการคิดค่าภาระงานของโรงพยาบาลพาน ซึ่งเป็นหน่วยงานแห่งแรกที่ดำาเนินการอย่างเป็นระบบนำาไปใช้ใน การจ่ายค่าตอบแทนให้กับบุคลากรทุกระดับ และเมื่อหน่วยงานอื่นๆที่ ได้ศึกษาจากโรงพยาบาลและนำาไปใช้ก้อยังเน้นที่การนำาไปเพื่อใช้ จ่ายค่าตอบแทนเช่นกัน แต่การคิดค่าภาระงานที่จัดเก็บนั้นหาก ศึกษาให้ดีจะพบว่าสามารถนำามาใช้ประโยชน์นอกเหนือจากการจ่าย ค่าตอบแทนได้อย่างมาก กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี พฤศจิกายน 52