SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  65
การอบรมการตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วย ซอฟต์แวร์ Open SoftwareGimp & Inkscape สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ(องค์การมหาชน) สาขาเชียงใหม่ Software Industry Promotion Agency (Public Organization) Chiang Mai
การออกแบบกราฟิก Graphic Design “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
ความหมาย กราฟิก (Graphic) มาจากคำในภาษากรีกว่า Graphikoหมายถึง การเขียนภาพด้านสี และลักษณะขาวดำ เมื่อนำมารวมกับคำว่า Grapheinที่แปลว่า การเขียนตัวหนังสือ และการสื่อความหมายโดยใช้เส้น คำว่ากราฟิกจึงหมายถึง งานที่มุ่งแสดงความจริงหรือความคิดผ่านทางการวาดรูปและเขียนตัวอักษร (อัศวิน ศิลปเมธากุล, 2543) การออกแบบกราฟิก เป็นการผสมผสานระหว่างศาสตร์และศิลป์สามารถสานประโยชน์เพื่อตอบสนองต่อความต้องการ การสื่อความหมาย ถ่ายทอดความคิดออกมาเป็นโครงสร้างระเบียบแบบแผนต่างๆทางทัศนสัญลักษณ์ เพื่อตอบสนองความงาม และประโยชน์ใช้สอยที่จะนำมาใช้ในชีวิตประจำวันของมนุษย์  “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
ความสำคัญ ผลกระทบโดยตรงของงานกราฟิกทำให้เกิดบทบาทและอิทธิพลต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ระบบสื่อสาร การสร้างสรรค์ และการจรรโลงสภาพสังคมให้เล็งเห็นถึงคุณค่าทางสุนทรียศาสตร์ (Aesthetic Values)งานกราฟิกชิ้นเยี่ยมที่แสดงให้เห็นถึงความคิดในการออกแบบเป็นเลิศ จะมีอิทธิพลโดยตรงที่จะโน้มน้าวผู้ที่รับข้อมูลให้เกิดความสนใจและยอมรับ ในขณะเดียวกันก็ยังแสดงคุณค่าอื่นพร้อมกันไปด้วย  “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
บทบาทของงานกราฟิก งานกราฟิกเป็นส่วนสำคัญที่มีบทบาทอย่างยิ่งต่อการออกแบบและกระบวนการผลิตสื่อ โดยเฉพาะสื่อที่ต้องการการสัมผัสรับรู้ด้วยตา (Visual Communication Design)อันได้แก่ หนังสื่อนิตยสาร วารสาร แผ่นป้ายโฆษณา บรรจุภัณฑ์ แผ่นพับ โทรทัศน์ ภาพยนตร์  นักออกแบบจะใช้วิธีการทางศิลปะและหลักการทางการออกแบบ ร่วมสร้างสรรค์รูปแบบสื่อเพื่อให้เกิดศักยภาพสูงสุดในการเป็นตัวกลางสำหรับสื่อความหมายระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสาร “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
โปสเตอร์หนัง “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
โปสเตอร์สิ่งพิมพ์ “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
บรรจุภัณฑ์ “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
โบรชัวร์  โลโก้ นามบัตร  หนังสือ “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
รูปภาพ รูปภ่าย
วิธีออกแบบ วิธีการออกแบบ และวิธีแก้ปัญหาการออกแบบ โดยการนำรูปภาพประกอบ ภาพถ่าย สัญลักษณ์ รูปแบบ และขนาดตัวอักษร มาจัดวางนั้น จะช่วยให้เกิดการนำเสนอข้อมูลอย่างชัดเจน ซึ่งจะเกิดผลดีต่อกระบวนการสื่อความหมายและแสดงคุณค่าทางการออกแบบเพื่อสร้างสรรค์ผลงานให้สามารถสื่อไปยังกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดการกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสร้างจิตสำนึกที่ดีต่อสิ่งนั้นๆ “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
ส่วนประกอบของการออกแบบ(Elements of Design) 1. เส้น (Line) เป็นส่วนประกอบของจุดหลายๆจุดต่อเนื่องกัน จึงกลายเป็นเส้น ซึ่งอาจเป็นเส้นตรง หรือเส้นโค้งก็ได้ รวมถึงสิ่งอื่นๆที่มีลักษณะเป็นแนวเส้น  เส้นเป็นพื้นฐานที่สำคัญของงานศิลปะทุกชนิด สามารถให้ความหมายแสดงอารมณ์และความรู้สึกได้ เส้นมี 2 ลักษณะ คือ 	เส้นตรง (Straight Line) และเส้นโค้ง (Curve Line) เส้นทั้งสองชนิดนี้ เมื่อนำมาจัดวางในลักษณะต่างๆกัน จะมีชื่อเรียกและให้ความหมายความรู้สึก ที่แตกต่างกันด้วย “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
ลักษณะของเส้น 1. เส้นตั้ง ให้ความรู้สึก สง่า มั่นคง แข็งแรง หนักแน่น เป็นสัญลักษณ์ของความซื่อตรง 2. เส้นนอน ให้ความรู้สึก สงบ ราบเรียบ นิ่ง ผ่อนคลาย 3. เส้นเฉียง ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว รวดเร็ว ไม่มั่นคง 4. เส้นหยัก หรือ เส้นซิกแซก ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว อย่างเป็นจังหวะ มีระเบียบ ไม่ราบเรียบ น่ากลัว อันตราย ขัดแย้ง ความรุนแรง 5. เส้นโค้ง แบบคลื่น ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวอย่างช้าๆ ลื่นไหล ต่อเนื่อง สุภาพ อ่อนโยน นุ่มนวล “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
ลักษณะลายเส้น “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
ส่วนประกอบของการออกแบบ(Elements of Design) 2. รูปร่างและรูปทรง 2.1 รูปร่าง (Shape) คือรูปแบนๆ มี 2 มิติ มีความกว้างกับความยาว ไม่มีความหนา เกิดจากเส้นรอบนอกที่แสดงพื้นที่ขอบเขตของรูปต่างๆ เช่น รูปวงกลม รูปสามเหลี่ยม หรือรูปอิสระ ที่แสดงเนื้อที่ของผิวที่เป็นระนาบมากกว่าแสดงปริมาตรหรือมวล “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
ส่วนประกอบของการออกแบบ(Elements of Design) 2.2 รูปทรง (Form) คือ รูปที่มีลักษณะเป็น 3 มิติ โดยนอกจากจะแสดงความกว้าง ความยาวแล้ว ยังมีความลึก หรือความหนาด้วย เช่น รูปทรงกลม ทรงสามเหลี่ยม ทรงกระบอก เป็นต้น ให้ความรู้สึกมีปริมาตร ความหนาแน่น มีมวลสาร ที่เกิดจากการใช้ค่าน้ำหนัก หรือการจัดองค์ประกอบของรูปทรงหลายรูปรวมกัน “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
ส่วนประกอบของการออกแบบ(Elements of Design) รูปทรงธรรมชาติ รูปทรงอิสระ “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
TEXTURE (ลักษณะพื้นผิว) ลักษณะพื้นผิว คือ ลักษณะเฉพาะที่เกิดจากโครงสร้างของวัสดุอาจนำวัตถุดิบหลาย ๆ อย่างมาสร้างให้เกิดพื้นผิวใหม่ หรือความรู้สึกในการแยก จำแนกความเรียบความขรุขระ ความแตกต่างของพื้นผิวในทางกราฟิกสามารถแยกออกได้ด้วยประสาทสัมผัสทางตาเป็นส่วนใหญ่ พื้นผิวที่แตกต่างกันจะให้ความรู้สึกแตกต่างกัน  “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
เช่น  ผิว ขรุขระ ให้ความรู้สึกปลอดภัย มั่นคง แข็งแรง สาก สะดุด หยาบ ระคายเคือง ในบางสถานะทำให้ดูเล็กกว่า ความจริงผิว เรียบมัน ให้ความรู้สึกไม่มั่นคง ลื่น หรูหรา วาบหวาม สดใส แสงสะท้อน ในบางสถานะทำให้ดูใหญ่กว่าปกติ  “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
color “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
แม่สี แม่สีแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ,[object Object],     สีแดงสีเขียวสีน้ำเงิน ,[object Object],“การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
โหมดสี โหมดสีในการทำงาน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท RGBใช้สำหรับงานออกแบบที่แสดงเฉพาะในจอคอมพิวเตอร์หรือโทรทัศน์ CMYK ใช้สำหรับงานสิ่งพิมพ์ cmyk rgb “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
วรรณของสี(Tones) วรรณะของสี (Tones) แบ่งเป็นสีเป็น 2 วรรณะ  คือ ร้อนและเย็น  “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
การวางโครงสี(color schematic) การวางโครงสี  (color schematic) วิธีการเลือกสี ดูวงจรสีประกอบด้วย สีเอกณรงค์ สีตัดกันหรือสีตรงข้าม สีที่มีความคล้ายกัน สามสีมีระยะห่างเท่ากัน สีตรงข้าม 2 คู่ สีตรงข้ามข้างเคียง “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
การวางโครงสี(color schematic)       Complementary color scheme            Analogous color scheme                 Triadic color scheme      Split-Complementary color scheme         Square color scheme             Rectangle (tetradic) color scheme “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
การใช้สีคู่ตรงข้าม การใช้สีคู่ตรงข้าม คือ สีที่อยู่ตรงข้ามกันในวงจรสี “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
การใช้สีคู่ตรงข้าม ข้อดี ของการใช้สีคู่ตรงข้าม คือ ทำให้ภาพมีความน่าสนใจมากขึ้น แต่ต้องใช้ในสัดส่วนที่เหมาะสม ประมาณ20/80,50/50 20:80 50:50 “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
จิตวิทยาของสี(color psychology) สีแดง = สีแห่งการโฆษณาชวนเชื่อ ตื่นเต้น เร้าใจ สีแดงอ่อน = ความประณีต ความเยือกเย็น ความหวาน ความสุข สีแดงเข้ม = มีอุดมคติสูง ยิ่งใหญ่ สมบูรณ์ สีชมพู = สีแห่งความเป็นหนุ่มสาว สีแห่งความรัก ความมั่นใจ สีน้ำเงิน = สีแห่งความเชื่อมั่น หนักแน่น สุภาพ ถ่อมตน สีฟ้าอ่อน = สีที่ราบรื่น ร่มเย็น สีเหลือง = สว่างสดใส ร่าเริง รู้สึกมีรสเปรี้ยว สีแสด = ตื่นตัวเร้าใจ สนุกสนาน สีม่วง = สีแห่งความผิดหวัง ไม่เชื่อมั่น ไม่แน่นอน เศร้า  สีเขียวอ่อน = สดชื่น ร่าเริง เบิกบาน สีเขียวแก่ = เศร้า ชรา เบื่อหน่าย สีดำ = ทุกข์ เสียใจ สีน้ำตาล = อับทึบ สีเทา = เงียบสงัด สุภาพ สีทอง = ให้ความรู้สึก ความหรูหรา  โอ่อ่า  มีราคา  สูงค่า  สิ่งสำคัญ  ความเจริญรุ่งเรือง ความสุข  ความมั่งคั่ง  ความร่ำรวย  การแผ่กระจาย 
Typographic FONTฟอนต์ “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
รูปแบบตัวอักษร (Font) ตัวอักษรมีบทบาทสำคัญอย่างมากต่อการผลิตงานออกแบบกราฟิก รูปแบบและลักษณะเฉพาะของตัวอักษรที่มีความหลากหลายมากมาย การจะเลือกใช้แบบใดต้องขึ้นอยู่กับความเหมาะสมและเงื่อนไขต่าง ๆ ของงานนั้น ตัวอักษรลักษณะหนึ่งอาจเหมาะกับงานอย่างหนึ่ง และตัวอักษรอีกลักษณะหนึ่งอาจจะเหมาะสมกับงานอีกอย่างหนึ่ง การเลือกตัวอักษรที่เหมาะสมจะช่วยให้การออกแบบสามารถสื่อความหมายได้อย่าง เต็มที่ ซึ่งปัจจุบันก็มีตัวอักษรให้เราได้เลือกใช้อย่างมากมาย ดังจะยกตัวอย่างตัวอักษรมาเพื่อการพิจารณา ดังนี้ “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
ชนิดตัวอักษร (Type Style) English letter Serifตัวอักษรแบบโรมันหรือแบบโบราณ ลักษณะเด่นคือมีส่วนประกอบที่เรียกว่าหัวและเท้าให้ความรู้สึกเป็นทางการ ในสิ่งพิมพ์มักใช้เป็นตัวพาดหัวมากกว่าตัวอ่าน San serif หรือตัวอักษรแบบGothic มีพื้นฐานจาก serif แต่ไม่มีหัวและเท้า ดูเรียบง่ายและทันสมัย อ่านง่าย Scriptลักษณะคล้ายลายมือ ตัวเขียน ให้ความรู้สึกไม่เป็นทางการ อิสระ ไร้กฎเกณฑ์ตายตัว นิยมใช้เป็นหัวเรื่องมากกว่าตัวอ่านเพราะอ่านยาก Display typeตัวอักษรประดิษฐ์ บางตัวก็เป็นภาพ สัญลักษณ์ มีหลากหลายรูปแบบแล้วแต่การใช้งาน เพราะแต่ละแบบก็ให้ความรู้สึกที่แตกต่างกัน “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
[object Object]
San serifarial / helvetica/ browallia new
Scriptds freehand / loki cola
Display typebm cube/ avp /metal gear“การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
ชนิดตัวอักษร (Type Style) Thai letter แบบดั้งเดิม หรือแบบมีหัว เป็นแบบที่เราคุ้นเคยกันดี ซึ่งหัวถือเป็นเอกลักษณ์ของตัวอักษรไทย อ่านง่ายและมีเป็นทางการ แบบหัวตัด แบบไม่มีหัว ดัดแปลงจากแบบมีหัว ให้ความรู้สึกทันสมัยกว่า แบบลายมือ ให้ความรู้สึกเป็นอิสระและเป็นธรรมชาติ  แบบคัดลายมือ หรือแบบอาลักษณ์ มีความเป็นทางการ พิธีรีตองแบบไทยๆ สื่อถึงความเคารพและให้เกียรติ แบบประดิษฐ์ เป็นตัวอักษรที่ดัดแปลงให้เข้ากับงานต่างๆ “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
[object Object]
แบบหัวตัด psl display / pslirene
แบบลายมือ dsfreehands / pslisara
แบบคัดลายมือ pslprajuk / jswansika
แบบประดิษฐ์ js samurai / pslsamsonstar“การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
ลักษณะของตัวอักษร Type character ประเภทตัวเอน (Italic) ประเภทตัวธรรมดา (Normal) ประเภทตัวบางพิเศษ (Extra Light) ประเภทตัวแคบ (Condensed) ประเภทตัวบาง (Light) ประเภทตัวหนา (Bold) ประเภทตัวเส้นขอบ (Outline) ประเภทตัวหนาพิเศษ (Extra Bold) ประเภทตัวดำ (Black) “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
Typographic “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
“การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
Optional Links www.dafont.com www.f0nt.com www.font.com www.welovetypography.com www.font.shop.com Type motion / kinetic typography http://www.youtube.com/watch?v=zVPfTlpCKaw http://www.youtube.com/watch?v=6mnvvVi4HaI http://www.youtube.com/watch?v=_NeD3mN5eOc http://www.youtube.com/watch?v=iVEgK3nCkao http://www.youtube.com/watch?v=rvZCsjtPrWo http://www.youtube.com/watch?v=uuiKJ0rRTAo “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
Compositionการจัดองค์ประกอบ “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
การจัดองค์ประกอบ การจัดองค์ประกอบ คือ การจัดภาพรวมขององค์ประกอบต่างๆในภาพให้มีความสวยงาม เหมาะสม และสื่อความหมาย ซึ่งเป็นหัวใจของงานออกแบบ 	มีหลักการจัด คือ 		1.จัดให้เป็นเอกภาพ (Unity) 		2.ความสมดุล (Balance) 		3.การจัดให้มีจุดสนใจ (point of interest) “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
Unity(เอกภาพ) 	เอกภาพ  หมายถึง  ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันขององค์ประกอบศิลป์ ทั้งด้านรูป  ลักษณะ  และด้านเนื้อหาเรื่องราว   เป็นการประสานหรือจัดระเบียบ ของส่วนต่างๆให้เกิดเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของภาพรวม การสร้างความเป็นเอกภาพ มีหลัก 3 ข้อ คือ ,[object Object],ยิ่งองค์ประกอบรวมกันเป็นกลุ่มเป็นก้อน ภาพรวมก็จะยิ่งมีความเป็นเอกภาพมากขึ้น ,[object Object],การซ้ำกันของเส้น สี จุด ทำให้งานเกิดเอกภาพมากขึ้น ,[object Object],ทิศทางขององค์ประกอบ ที่มีการไหลต่อเนื่องกัน ทำให้เกิดเรื่องราวอย่างเป็นลำดับ “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
“การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
Balance(ความสมดุล) ความสมดุลในงานทำให้งานแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ ความสมดุลในรูปทรง หรือความเหมือนกันทั้งสองข้างเป็นความเหมือนที่สองข้างมีความเท่ากัน มีความนิ่ง เป็นทางการ แต่อาจทำให้งานขาดความน่าสนใจ ความสมดุลในความรู้สึก หรือความสมดุลที่สองข้างไม่เหมือนกัน  มีความแตกต่างกันในด้านของสี รูปแบบ หรือพื้นผิว แต่เมื่อมองโดยรวมแล้วมีความเท่ากันไม่เอนเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง ทำให้เกิดความเคลื่อนไหว ไม่เป็นทางการ ดูมีความน่าสนใจ “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
Point of Interest(จุดสนใจ) Point of Interest เนื้อหาและพื้นที่งาน จำเป็นต้องมีการเน้น ซึ่งการเน้น ณ จุดใดจุดหนึ่งที่เห็นว่ามีความสำคัญ อาจทำได้ด้วยภาพ หรือข้อความ โดยมีหลักว่า  ความคิดเดียวและจุดสนใจเดียวการมีหลายความคิด หรือการมีจุดสนใจหลายจุด จะทำให้หาจุดเด่นชัดเจนไม่ได้ ขาดความเป็นเอกลักษณ์ในตัวชิ้นงาน 	วิธีการทำให้มีจุดสนใจ อาจเน้นด้วย สี ขนาด สัดส่วน และรูปร่างที่แปลกกว่าส่วนอื่นๆในภาพ “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
Compositionการจัดองค์ประกอบ การวางจุดสนใจในงาน ,[object Object]
สร้างความแตกต่างในงาน (contrast)		สร้างขนาดที่แตกต่าง/รูปร่างที่แตกต่าง/สีสันที่แตกต่าง ,[object Object],		โดยใช้ที่ว่าง/จังหวะ/สัดส่วน
Compositionการจัดองค์ประกอบ ปัจจัยสำคัญในการวิเคราะห์งานออกแบบ คือ  ประโยชน์ใช้สอย (function) ความสวยงาม (aesthetic) การสื่อความหมาย (meaning) ซึ่งขึ้นอยู่กับว่าจะสามารถสร้างแนวคิดหลักได้อย่างไร เพื่อให้เหมาะสมกับการออกแบบในงานนั้นๆ รวมไปถึงการทำงานเพื่อให้สิ่งที่คิดออกมาเป็นรูปธรรม ไม่เป็นเพียงจินตนาการที่กำหนดขอบเขตไม่ได้
Design Techniques “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
Activeness & Stasis เคลื่อนไหว กับ หยุดนิ่ง Simplicity & Complexity เรียบง่าย กับ ยุ่งเหยิง
Flatness & Depth เรียบแบน กับ ลึกมีมิติ Neutrality & Accent ความเป็นกลาง กับ การเน้นจุดสำคัญ
Transparency & Opacity โปร่งใส กับ ทึบตัน Sharpness & Diffusion คมชัด กับ พร่ามัว
Singularity & Juxtaposition อยู่โดดเดี่ยว กับ เทียบเคียง
เรียบง่าย กับ ยุ่งเหยิง เคลื่อนไหว กับ หยุดนิ่ง เรียบแบน กับ ลึกมีมิติ ความเป็นกลาง กับ การเน้นจุดสำคัญ โปร่งใส กับ ทึบตัน คมชัด กับ พร่ามัว อยู่โดดเดี่ยว กับ เทียบเคียง
ชนิดของภาพกับคอมพิวเตอร์ Bitmap และ Vector กราฟิกที่ใช้ในงานคอมพิวเตอร์ มี 2 ชนิด คือ Bitmapและ Vector กราฟิกแบบ Bitmap Bitmap เป็นภาพแบบ Resolution Dependent ประกอบขึ้นด้วยจุดสีต่างๆ ที่มีจำนวนคงที่ตายตัวตามการสร้างภาพที่มี Resolution หรือความละเอียดของภาพต่างกันไป หากขยายภาพ Bitmap จะเห็นว่ามีลักษณะเป็นตารางเล็กๆ ซึ่งแต่ละบิตคือ ส่วนหนึ่งของข้อมูลคอมพิวเตอร์ “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
BITMAP ไฟล์ภาพแบบ Bitmapในระบบวินโดวส์คือ ไฟล์ที่มีนามสกุล .BMP, .PCX. , .TIF, .GIF, .JPG, .MSP, .PCD เป็นต้น สำหรับโปรแกรมที่ใช้สร้างกราฟิกแบบนี้คือ โปรแกรม Paint ต่างๆ เช่น Paintbrush, PhotoShop, Photostyler, Gimp เป็นต้น

Contenu connexe

Similaire à Graphic design by gimp&inkscape

ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกjumjim2012
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิกainam29
 
คอมพิวเตอร์กราฟิก2
คอมพิวเตอร์กราฟิก2คอมพิวเตอร์กราฟิก2
คอมพิวเตอร์กราฟิก2kroopoom ponritti
 
การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)
การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)
การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)Pitchayanida Khumwichai
 
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์พัน พัน
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphicใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphicjumjim2012
 
Desing
DesingDesing
Desinghalato
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกบทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกKruOrraphan Kongmun
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกBee Saruta
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3arachaporn
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csไกรลาศ จิบจันทร์
 
คอมพิวเตอร์กราฟิก
คอมพิวเตอร์กราฟิกคอมพิวเตอร์กราฟิก
คอมพิวเตอร์กราฟิกอ้าย ปุ้ย
 
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5Rattapadol Gunhakoon
 

Similaire à Graphic design by gimp&inkscape (20)

Graphic
GraphicGraphic
Graphic
 
1.1
1.11.1
1.1
 
Inkscape
InkscapeInkscape
Inkscape
 
การออกแบบทำไวนิล
การออกแบบทำไวนิลการออกแบบทำไวนิล
การออกแบบทำไวนิล
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก
 
คอมพิวเตอร์กราฟิก2
คอมพิวเตอร์กราฟิก2คอมพิวเตอร์กราฟิก2
คอมพิวเตอร์กราฟิก2
 
การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)
การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)
การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)
 
Graphic
GraphicGraphic
Graphic
 
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphicใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
 
Desing
DesingDesing
Desing
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกบทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
Photoshop cs2
Photoshop cs2Photoshop cs2
Photoshop cs2
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
 
Photoshop lab1
Photoshop lab1Photoshop lab1
Photoshop lab1
 
คอมพิวเตอร์กราฟิก
คอมพิวเตอร์กราฟิกคอมพิวเตอร์กราฟิก
คอมพิวเตอร์กราฟิก
 
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
 

Plus de korakate

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางkorakate
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมkorakate
 
P72808851751
P72808851751P72808851751
P72808851751korakate
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArtหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArtkorakate
 
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญานิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญาkorakate
 
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกลแจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกลkorakate
 
Social Media Data
Social Media DataSocial Media Data
Social Media Datakorakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์korakate
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02korakate
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01korakate
 
Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01korakate
 
จำนวนครู
จำนวนครูจำนวนครู
จำนวนครูkorakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1korakate
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีkorakate
 

Plus de korakate (20)

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
 
P72808851751
P72808851751P72808851751
P72808851751
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArtหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
 
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญานิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
 
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกลแจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
 
Social Media Data
Social Media DataSocial Media Data
Social Media Data
 
Buriram1
Buriram1Buriram1
Buriram1
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 
Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01
 
จำนวนครู
จำนวนครูจำนวนครู
จำนวนครู
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดี
 

Graphic design by gimp&inkscape

  • 1. การอบรมการตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วย ซอฟต์แวร์ Open SoftwareGimp & Inkscape สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ(องค์การมหาชน) สาขาเชียงใหม่ Software Industry Promotion Agency (Public Organization) Chiang Mai
  • 2. การออกแบบกราฟิก Graphic Design “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 3. ความหมาย กราฟิก (Graphic) มาจากคำในภาษากรีกว่า Graphikoหมายถึง การเขียนภาพด้านสี และลักษณะขาวดำ เมื่อนำมารวมกับคำว่า Grapheinที่แปลว่า การเขียนตัวหนังสือ และการสื่อความหมายโดยใช้เส้น คำว่ากราฟิกจึงหมายถึง งานที่มุ่งแสดงความจริงหรือความคิดผ่านทางการวาดรูปและเขียนตัวอักษร (อัศวิน ศิลปเมธากุล, 2543) การออกแบบกราฟิก เป็นการผสมผสานระหว่างศาสตร์และศิลป์สามารถสานประโยชน์เพื่อตอบสนองต่อความต้องการ การสื่อความหมาย ถ่ายทอดความคิดออกมาเป็นโครงสร้างระเบียบแบบแผนต่างๆทางทัศนสัญลักษณ์ เพื่อตอบสนองความงาม และประโยชน์ใช้สอยที่จะนำมาใช้ในชีวิตประจำวันของมนุษย์ “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 4. ความสำคัญ ผลกระทบโดยตรงของงานกราฟิกทำให้เกิดบทบาทและอิทธิพลต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ระบบสื่อสาร การสร้างสรรค์ และการจรรโลงสภาพสังคมให้เล็งเห็นถึงคุณค่าทางสุนทรียศาสตร์ (Aesthetic Values)งานกราฟิกชิ้นเยี่ยมที่แสดงให้เห็นถึงความคิดในการออกแบบเป็นเลิศ จะมีอิทธิพลโดยตรงที่จะโน้มน้าวผู้ที่รับข้อมูลให้เกิดความสนใจและยอมรับ ในขณะเดียวกันก็ยังแสดงคุณค่าอื่นพร้อมกันไปด้วย “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 5. บทบาทของงานกราฟิก งานกราฟิกเป็นส่วนสำคัญที่มีบทบาทอย่างยิ่งต่อการออกแบบและกระบวนการผลิตสื่อ โดยเฉพาะสื่อที่ต้องการการสัมผัสรับรู้ด้วยตา (Visual Communication Design)อันได้แก่ หนังสื่อนิตยสาร วารสาร แผ่นป้ายโฆษณา บรรจุภัณฑ์ แผ่นพับ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ นักออกแบบจะใช้วิธีการทางศิลปะและหลักการทางการออกแบบ ร่วมสร้างสรรค์รูปแบบสื่อเพื่อให้เกิดศักยภาพสูงสุดในการเป็นตัวกลางสำหรับสื่อความหมายระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสาร “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 9. โบรชัวร์ โลโก้ นามบัตร หนังสือ “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 11. วิธีออกแบบ วิธีการออกแบบ และวิธีแก้ปัญหาการออกแบบ โดยการนำรูปภาพประกอบ ภาพถ่าย สัญลักษณ์ รูปแบบ และขนาดตัวอักษร มาจัดวางนั้น จะช่วยให้เกิดการนำเสนอข้อมูลอย่างชัดเจน ซึ่งจะเกิดผลดีต่อกระบวนการสื่อความหมายและแสดงคุณค่าทางการออกแบบเพื่อสร้างสรรค์ผลงานให้สามารถสื่อไปยังกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดการกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสร้างจิตสำนึกที่ดีต่อสิ่งนั้นๆ “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 12. ส่วนประกอบของการออกแบบ(Elements of Design) 1. เส้น (Line) เป็นส่วนประกอบของจุดหลายๆจุดต่อเนื่องกัน จึงกลายเป็นเส้น ซึ่งอาจเป็นเส้นตรง หรือเส้นโค้งก็ได้ รวมถึงสิ่งอื่นๆที่มีลักษณะเป็นแนวเส้น เส้นเป็นพื้นฐานที่สำคัญของงานศิลปะทุกชนิด สามารถให้ความหมายแสดงอารมณ์และความรู้สึกได้ เส้นมี 2 ลักษณะ คือ เส้นตรง (Straight Line) และเส้นโค้ง (Curve Line) เส้นทั้งสองชนิดนี้ เมื่อนำมาจัดวางในลักษณะต่างๆกัน จะมีชื่อเรียกและให้ความหมายความรู้สึก ที่แตกต่างกันด้วย “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 13. ลักษณะของเส้น 1. เส้นตั้ง ให้ความรู้สึก สง่า มั่นคง แข็งแรง หนักแน่น เป็นสัญลักษณ์ของความซื่อตรง 2. เส้นนอน ให้ความรู้สึก สงบ ราบเรียบ นิ่ง ผ่อนคลาย 3. เส้นเฉียง ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว รวดเร็ว ไม่มั่นคง 4. เส้นหยัก หรือ เส้นซิกแซก ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว อย่างเป็นจังหวะ มีระเบียบ ไม่ราบเรียบ น่ากลัว อันตราย ขัดแย้ง ความรุนแรง 5. เส้นโค้ง แบบคลื่น ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวอย่างช้าๆ ลื่นไหล ต่อเนื่อง สุภาพ อ่อนโยน นุ่มนวล “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 15. ส่วนประกอบของการออกแบบ(Elements of Design) 2. รูปร่างและรูปทรง 2.1 รูปร่าง (Shape) คือรูปแบนๆ มี 2 มิติ มีความกว้างกับความยาว ไม่มีความหนา เกิดจากเส้นรอบนอกที่แสดงพื้นที่ขอบเขตของรูปต่างๆ เช่น รูปวงกลม รูปสามเหลี่ยม หรือรูปอิสระ ที่แสดงเนื้อที่ของผิวที่เป็นระนาบมากกว่าแสดงปริมาตรหรือมวล “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 16. ส่วนประกอบของการออกแบบ(Elements of Design) 2.2 รูปทรง (Form) คือ รูปที่มีลักษณะเป็น 3 มิติ โดยนอกจากจะแสดงความกว้าง ความยาวแล้ว ยังมีความลึก หรือความหนาด้วย เช่น รูปทรงกลม ทรงสามเหลี่ยม ทรงกระบอก เป็นต้น ให้ความรู้สึกมีปริมาตร ความหนาแน่น มีมวลสาร ที่เกิดจากการใช้ค่าน้ำหนัก หรือการจัดองค์ประกอบของรูปทรงหลายรูปรวมกัน “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 17. ส่วนประกอบของการออกแบบ(Elements of Design) รูปทรงธรรมชาติ รูปทรงอิสระ “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 18. TEXTURE (ลักษณะพื้นผิว) ลักษณะพื้นผิว คือ ลักษณะเฉพาะที่เกิดจากโครงสร้างของวัสดุอาจนำวัตถุดิบหลาย ๆ อย่างมาสร้างให้เกิดพื้นผิวใหม่ หรือความรู้สึกในการแยก จำแนกความเรียบความขรุขระ ความแตกต่างของพื้นผิวในทางกราฟิกสามารถแยกออกได้ด้วยประสาทสัมผัสทางตาเป็นส่วนใหญ่ พื้นผิวที่แตกต่างกันจะให้ความรู้สึกแตกต่างกัน “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 19. เช่น ผิว ขรุขระ ให้ความรู้สึกปลอดภัย มั่นคง แข็งแรง สาก สะดุด หยาบ ระคายเคือง ในบางสถานะทำให้ดูเล็กกว่า ความจริงผิว เรียบมัน ให้ความรู้สึกไม่มั่นคง ลื่น หรูหรา วาบหวาม สดใส แสงสะท้อน ในบางสถานะทำให้ดูใหญ่กว่าปกติ “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 21.
  • 22. โหมดสี โหมดสีในการทำงาน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท RGBใช้สำหรับงานออกแบบที่แสดงเฉพาะในจอคอมพิวเตอร์หรือโทรทัศน์ CMYK ใช้สำหรับงานสิ่งพิมพ์ cmyk rgb “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 23. วรรณของสี(Tones) วรรณะของสี (Tones) แบ่งเป็นสีเป็น 2 วรรณะ คือ ร้อนและเย็น “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 24. การวางโครงสี(color schematic) การวางโครงสี (color schematic) วิธีการเลือกสี ดูวงจรสีประกอบด้วย สีเอกณรงค์ สีตัดกันหรือสีตรงข้าม สีที่มีความคล้ายกัน สามสีมีระยะห่างเท่ากัน สีตรงข้าม 2 คู่ สีตรงข้ามข้างเคียง “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 25. การวางโครงสี(color schematic) Complementary color scheme Analogous color scheme Triadic color scheme Split-Complementary color scheme Square color scheme Rectangle (tetradic) color scheme “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 26. การใช้สีคู่ตรงข้าม การใช้สีคู่ตรงข้าม คือ สีที่อยู่ตรงข้ามกันในวงจรสี “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 27. การใช้สีคู่ตรงข้าม ข้อดี ของการใช้สีคู่ตรงข้าม คือ ทำให้ภาพมีความน่าสนใจมากขึ้น แต่ต้องใช้ในสัดส่วนที่เหมาะสม ประมาณ20/80,50/50 20:80 50:50 “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 28. จิตวิทยาของสี(color psychology) สีแดง = สีแห่งการโฆษณาชวนเชื่อ ตื่นเต้น เร้าใจ สีแดงอ่อน = ความประณีต ความเยือกเย็น ความหวาน ความสุข สีแดงเข้ม = มีอุดมคติสูง ยิ่งใหญ่ สมบูรณ์ สีชมพู = สีแห่งความเป็นหนุ่มสาว สีแห่งความรัก ความมั่นใจ สีน้ำเงิน = สีแห่งความเชื่อมั่น หนักแน่น สุภาพ ถ่อมตน สีฟ้าอ่อน = สีที่ราบรื่น ร่มเย็น สีเหลือง = สว่างสดใส ร่าเริง รู้สึกมีรสเปรี้ยว สีแสด = ตื่นตัวเร้าใจ สนุกสนาน สีม่วง = สีแห่งความผิดหวัง ไม่เชื่อมั่น ไม่แน่นอน เศร้า สีเขียวอ่อน = สดชื่น ร่าเริง เบิกบาน สีเขียวแก่ = เศร้า ชรา เบื่อหน่าย สีดำ = ทุกข์ เสียใจ สีน้ำตาล = อับทึบ สีเทา = เงียบสงัด สุภาพ สีทอง = ให้ความรู้สึก ความหรูหรา  โอ่อ่า  มีราคา  สูงค่า  สิ่งสำคัญ  ความเจริญรุ่งเรือง ความสุข  ความมั่งคั่ง  ความร่ำรวย  การแผ่กระจาย 
  • 30. รูปแบบตัวอักษร (Font) ตัวอักษรมีบทบาทสำคัญอย่างมากต่อการผลิตงานออกแบบกราฟิก รูปแบบและลักษณะเฉพาะของตัวอักษรที่มีความหลากหลายมากมาย การจะเลือกใช้แบบใดต้องขึ้นอยู่กับความเหมาะสมและเงื่อนไขต่าง ๆ ของงานนั้น ตัวอักษรลักษณะหนึ่งอาจเหมาะกับงานอย่างหนึ่ง และตัวอักษรอีกลักษณะหนึ่งอาจจะเหมาะสมกับงานอีกอย่างหนึ่ง การเลือกตัวอักษรที่เหมาะสมจะช่วยให้การออกแบบสามารถสื่อความหมายได้อย่าง เต็มที่ ซึ่งปัจจุบันก็มีตัวอักษรให้เราได้เลือกใช้อย่างมากมาย ดังจะยกตัวอย่างตัวอักษรมาเพื่อการพิจารณา ดังนี้ “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 31. ชนิดตัวอักษร (Type Style) English letter Serifตัวอักษรแบบโรมันหรือแบบโบราณ ลักษณะเด่นคือมีส่วนประกอบที่เรียกว่าหัวและเท้าให้ความรู้สึกเป็นทางการ ในสิ่งพิมพ์มักใช้เป็นตัวพาดหัวมากกว่าตัวอ่าน San serif หรือตัวอักษรแบบGothic มีพื้นฐานจาก serif แต่ไม่มีหัวและเท้า ดูเรียบง่ายและทันสมัย อ่านง่าย Scriptลักษณะคล้ายลายมือ ตัวเขียน ให้ความรู้สึกไม่เป็นทางการ อิสระ ไร้กฎเกณฑ์ตายตัว นิยมใช้เป็นหัวเรื่องมากกว่าตัวอ่านเพราะอ่านยาก Display typeตัวอักษรประดิษฐ์ บางตัวก็เป็นภาพ สัญลักษณ์ มีหลากหลายรูปแบบแล้วแต่การใช้งาน เพราะแต่ละแบบก็ให้ความรู้สึกที่แตกต่างกัน “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 32.
  • 33. San serifarial / helvetica/ browallia new
  • 35. Display typebm cube/ avp /metal gear“การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 36. ชนิดตัวอักษร (Type Style) Thai letter แบบดั้งเดิม หรือแบบมีหัว เป็นแบบที่เราคุ้นเคยกันดี ซึ่งหัวถือเป็นเอกลักษณ์ของตัวอักษรไทย อ่านง่ายและมีเป็นทางการ แบบหัวตัด แบบไม่มีหัว ดัดแปลงจากแบบมีหัว ให้ความรู้สึกทันสมัยกว่า แบบลายมือ ให้ความรู้สึกเป็นอิสระและเป็นธรรมชาติ แบบคัดลายมือ หรือแบบอาลักษณ์ มีความเป็นทางการ พิธีรีตองแบบไทยๆ สื่อถึงความเคารพและให้เกียรติ แบบประดิษฐ์ เป็นตัวอักษรที่ดัดแปลงให้เข้ากับงานต่างๆ “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 37.
  • 41. แบบประดิษฐ์ js samurai / pslsamsonstar“การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 42. ลักษณะของตัวอักษร Type character ประเภทตัวเอน (Italic) ประเภทตัวธรรมดา (Normal) ประเภทตัวบางพิเศษ (Extra Light) ประเภทตัวแคบ (Condensed) ประเภทตัวบาง (Light) ประเภทตัวหนา (Bold) ประเภทตัวเส้นขอบ (Outline) ประเภทตัวหนาพิเศษ (Extra Bold) ประเภทตัวดำ (Black) “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 45.
  • 46. Optional Links www.dafont.com www.f0nt.com www.font.com www.welovetypography.com www.font.shop.com Type motion / kinetic typography http://www.youtube.com/watch?v=zVPfTlpCKaw http://www.youtube.com/watch?v=6mnvvVi4HaI http://www.youtube.com/watch?v=_NeD3mN5eOc http://www.youtube.com/watch?v=iVEgK3nCkao http://www.youtube.com/watch?v=rvZCsjtPrWo http://www.youtube.com/watch?v=uuiKJ0rRTAo “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 48. การจัดองค์ประกอบ การจัดองค์ประกอบ คือ การจัดภาพรวมขององค์ประกอบต่างๆในภาพให้มีความสวยงาม เหมาะสม และสื่อความหมาย ซึ่งเป็นหัวใจของงานออกแบบ มีหลักการจัด คือ 1.จัดให้เป็นเอกภาพ (Unity) 2.ความสมดุล (Balance) 3.การจัดให้มีจุดสนใจ (point of interest) “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 49.
  • 51. Balance(ความสมดุล) ความสมดุลในงานทำให้งานแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ ความสมดุลในรูปทรง หรือความเหมือนกันทั้งสองข้างเป็นความเหมือนที่สองข้างมีความเท่ากัน มีความนิ่ง เป็นทางการ แต่อาจทำให้งานขาดความน่าสนใจ ความสมดุลในความรู้สึก หรือความสมดุลที่สองข้างไม่เหมือนกัน มีความแตกต่างกันในด้านของสี รูปแบบ หรือพื้นผิว แต่เมื่อมองโดยรวมแล้วมีความเท่ากันไม่เอนเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง ทำให้เกิดความเคลื่อนไหว ไม่เป็นทางการ ดูมีความน่าสนใจ “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 52.
  • 53. Point of Interest(จุดสนใจ) Point of Interest เนื้อหาและพื้นที่งาน จำเป็นต้องมีการเน้น ซึ่งการเน้น ณ จุดใดจุดหนึ่งที่เห็นว่ามีความสำคัญ อาจทำได้ด้วยภาพ หรือข้อความ โดยมีหลักว่า ความคิดเดียวและจุดสนใจเดียวการมีหลายความคิด หรือการมีจุดสนใจหลายจุด จะทำให้หาจุดเด่นชัดเจนไม่ได้ ขาดความเป็นเอกลักษณ์ในตัวชิ้นงาน วิธีการทำให้มีจุดสนใจ อาจเน้นด้วย สี ขนาด สัดส่วน และรูปร่างที่แปลกกว่าส่วนอื่นๆในภาพ “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 54.
  • 55.
  • 56.
  • 57. Compositionการจัดองค์ประกอบ ปัจจัยสำคัญในการวิเคราะห์งานออกแบบ คือ ประโยชน์ใช้สอย (function) ความสวยงาม (aesthetic) การสื่อความหมาย (meaning) ซึ่งขึ้นอยู่กับว่าจะสามารถสร้างแนวคิดหลักได้อย่างไร เพื่อให้เหมาะสมกับการออกแบบในงานนั้นๆ รวมไปถึงการทำงานเพื่อให้สิ่งที่คิดออกมาเป็นรูปธรรม ไม่เป็นเพียงจินตนาการที่กำหนดขอบเขตไม่ได้
  • 59. Activeness & Stasis เคลื่อนไหว กับ หยุดนิ่ง Simplicity & Complexity เรียบง่าย กับ ยุ่งเหยิง
  • 60. Flatness & Depth เรียบแบน กับ ลึกมีมิติ Neutrality & Accent ความเป็นกลาง กับ การเน้นจุดสำคัญ
  • 61. Transparency & Opacity โปร่งใส กับ ทึบตัน Sharpness & Diffusion คมชัด กับ พร่ามัว
  • 62. Singularity & Juxtaposition อยู่โดดเดี่ยว กับ เทียบเคียง
  • 63. เรียบง่าย กับ ยุ่งเหยิง เคลื่อนไหว กับ หยุดนิ่ง เรียบแบน กับ ลึกมีมิติ ความเป็นกลาง กับ การเน้นจุดสำคัญ โปร่งใส กับ ทึบตัน คมชัด กับ พร่ามัว อยู่โดดเดี่ยว กับ เทียบเคียง
  • 64. ชนิดของภาพกับคอมพิวเตอร์ Bitmap และ Vector กราฟิกที่ใช้ในงานคอมพิวเตอร์ มี 2 ชนิด คือ Bitmapและ Vector กราฟิกแบบ Bitmap Bitmap เป็นภาพแบบ Resolution Dependent ประกอบขึ้นด้วยจุดสีต่างๆ ที่มีจำนวนคงที่ตายตัวตามการสร้างภาพที่มี Resolution หรือความละเอียดของภาพต่างกันไป หากขยายภาพ Bitmap จะเห็นว่ามีลักษณะเป็นตารางเล็กๆ ซึ่งแต่ละบิตคือ ส่วนหนึ่งของข้อมูลคอมพิวเตอร์ “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 65. BITMAP ไฟล์ภาพแบบ Bitmapในระบบวินโดวส์คือ ไฟล์ที่มีนามสกุล .BMP, .PCX. , .TIF, .GIF, .JPG, .MSP, .PCD เป็นต้น สำหรับโปรแกรมที่ใช้สร้างกราฟิกแบบนี้คือ โปรแกรม Paint ต่างๆ เช่น Paintbrush, PhotoShop, Photostyler, Gimp เป็นต้น
  • 66. Vector กราฟิกแบบ Vector เป็นภาพประเภท Resolution-Independent มีลักษณะของการสร้างให้แต่ละส่วนเป็นอิสระต่อกัน โดยแยกชิ้นส่วนของภาพทั้งหมดออกเป็นเส้นตรง รูปทรงหรือส่วนโค้ง โดยอ้างอิงตามความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์หรือการคำนวณเป็นตัวสร้างภาพ เป็นการรวมเอา Object (เช่น วงกลม เส้นตรง ทรงกลม ลูกบาศก์และอื่นๆ เรียกว่ารูปทรงพื้นฐาน) ต่างชนิดมาผสมกัน มีทิศทางการลากเส้นไปในแนวต่างๆ เพื่อสร้างภาพที่แตกต่างกันโดยใช้คำสั่งง่ายๆ จึงเรียกภาพประเภทนี้ว่า Vector Graphic หรือ Object Oriented “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 67. VECTOR ไฟล์รูปภาพแบบ Vectorในระบบวินโดวส์คือ ไฟล์ที่มีนามสกุล .EPD, .WMF, .CDR, .AI, .CGM, .DRW, .PLT เป็นต้น โดยมีโปรแกรมประเภทวาดรูป (Drawing Program) เช่น CorelDraw , Inkscapeหรือ AutoCAD เป็นโปรแกรมสร้าง ขณะที่บนแมคอินทอชใช้ Illustrator และ Freehand “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 68. ความแตกต่าง Vector ใช้สมการทางคณิตศาสตร์เป็นตัวสร้างภาพ โดยรวมเอา Object (เช่น วงกลม เส้นตรง) ต่างชนิดมาผสมกัน สามารถย่อและขยายขนาดได้มากกว่า โดยสัดส่วนและลักษณะของภาพยังเหมือนเดิม ความละเอียดของภาพไม่เปลี่ยนแปลง เหมาะสำหรับงานแบบวาง Layout งานพิมพ์ตัวอักษร Line Art หรือ Illustration คอมพิวเตอร์จะใช้เวลาในการแสดงภาพมากกว่า เนื่องจากต้องทำตามคำสั่งที่มีจำนวนมากกว่า Bitmap ลักษณะภาพประกอบขึ้นด้วยจุดต่างๆ มากมาย ภาพมีจำนวนพิกเซลคงที่จึงต้องการค่าความละเอียดมากขึ้นเมื่อขยายภาพ โดยจะคำนวณค่าสีทีละ pixels ทำให้ภาพแตกเมื่อขยายภาพให้ใหญ่ เหมาะสำหรับงานกราฟิก ในแบบต้องการให้แสงเงาในรายละเอียด แสดงภาพบนจอทันที เมื่อรับคำสั่งย้ายข้อมูลจากหน่วยความจำที่เก็บภาพไปยังหน่วยความจำของจอภาพ
  • 69. Resolution Resolutionคือ ค่าความละเอียดของภาพ ๆ หนึ่งซี่งกำหนดเป็นจำนวนเม็ดสี (pixels) ต่อหนึ่งหน่วยความยาวของภาพ เช่น หากภาพนั้นมีค่า Resolution = 150 pixels/inches แสดงว่าในพื้นที่ 1 ตารางนิ้วของภาพนั้นประกอบไปด้วยเม็ดสีจำนวน 150 สี (Pixels) เป็นต้น ภาพที่มีความละเอียด Resolution ต่ำ(มีจำนวนเม็ดสีน้อย) ภาพที่มีความละเอียด Resolution สูง(มีจำนวนเม็ดสีมากกว่าในขณะที่มีพื้นที่เท่ากัน)
  • 70. Resolution ทำไมเราต้องกำหนดค่า Resolution ใน การทำงานนั้นจะต้องอ้างอิงถึงค่าอยู่เสมอเพื่อให้เกิดความเหมาะสมกับการใช้งานประเภทต่าง ๆ นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับขนาดไฟล์งานอีกด้วย เพราะงานที่มีค่า Resolution สูงก็จะมีขนาดของไฟล์ใหญ่ขึ้นตามไปด้วย ซึ่งอาจทำให้เกิดปัญหาในการทำงาน เช่น ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณประมวณผลช้าลงในกรณีที่สเปคเครื่องไม่สูงนัก ซึ่งหน่วยของ Resolutionที่ใช้กันอยู่ 2 แบบคือ “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 71. ภาพบน ภาพขนาด 1024x768 Resolution = 300ppi ขนาดไฟล์ 2.87M เมื่อขยาย 200 เท่า ภาพล่าง ภาพขนาด 1024x768 Resolution = 72ppi ขนาดไฟล์ 169 k เมื่อขยาย 200 เท่า pixels/inch - จำนวนหรือปริมาณของเม็ดสี ในพื้นที่ 1 ตารางนิ้ว pixels/cm - จำนวนหรือปริมาณของเม็ดสี ในพื้นที่ 1 ตารางเซนติเมตร ค่า Resolution ที่เรานิยมใช้คือ จำนวนพิเซลต่อนิ้ว หรือ pixels/inch ( ppi ) นั่นเอง “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 72. ความเหมาะสม นอกจากภาพที่มีค่า Resolution สูงจะใช้คววามคมชัดกว่าแล้ว ขนาดไฟล์งานก็จะใหญ่กว่าด้วย จึงมีการกำหนดจำนวนพิกเซลที่เหมาะสมไว้ดังนี้ ภาพสำหรับใช้ในคอมพิวเตอร์ หรือเว็บไซด์72 พิกเซล/นิ้ว ภาพสำหรับสื่อสิ่งพิมพ์ขนาดเล็กถึงปานกลาง120-150 พิกเซล/นิ้ว สิ่งพิมพ์คุณภาพสูง เช่น ปกหนังสือ หรือโปสเตอร์ 300 พิกเซล/นิ้ว “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”
  • 73. จบ Graphic Design “การตกแต่งภาพและงานกราฟิกด้วยซอฟต์แวร์ Open Source (GIMP & Inkscape)”