SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  33
รายวิชา ง40206 โครงสร้าง
ข้อมูลและขั้นตอนวิธี
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ความรู้เบื้องต้นของโครงสร้างข้อมูล
และขั้นตอนวิธี
“ความหมาย โครงสร้าง
”ข้อมูล
•การรวมประเภทข้อมูล (Data
Type) เข้าไว้ด้วยกัน จนกลาย
เป็นกลุ่มประเภทข้อมูล และมีนิยาม
ความสัมพันธ์ภายในกลุ่มข้อมูล
อย่างชัดเจน
•การรวมกลุ่มนี้อาจเป็นการรวมกลุ่ม
กันระหว่างข้อมูลประเภทเดียวกัน
“ ”ความหมาย อัลกอริธึม
• ลำาดับขั้นตอนวิธีในการทำางานของ
โปรแกรมเพื่อแก้ปัญหาใดปัญหา
หนึ่ง ซึ่งถ้าปฏิบัติตามขั้นตอนอย่าง
ถูกต้องแล้ว จะต้องสามารถช่วยแก้
ปัญหาหรือประมวลผลตามต้องการ
ได้สำาเร็จ
ประเภทของโครงสร้างข้อมูล
• ด้านกายภาพ
– Primitive Data Type เช่น char, int, float
– Structure Data Type เช่น array, struct
• ด้านตรรกกะ
- Linear Data Structure - Non-linear Data Structure
A C K S
5
3 8
-1 4 12
-1 3 4 5 8 12
วัตถุประสงค์ของการศึกษาโครงสร้าง
ข้อมูลและขั้นตอนวิธี
โปรแกรมทำางานได้อย่างรวดเร็ว
ใช้เนื้อที่หน่วยความจำาน้อยที่สุด
เทคนิคที่ช่วยในการออกแบบ
• ผังงาน (Flowchart)
– ผังงานระบบ (System Flowchart)
– ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
• รหัสเทียม (Pseudocode)
– ใช้อธิบายการทำางานของอัลกอริธึม ทำาให้ไม่ต้องเขียน
อธิบายด้วย code
– ไม่ขึ้นกับภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง
– อาจเป็นภาษาไทยหรือภาษาอื่นก็ได้ แต่การใช้ภาษา
Pseudocode
• เป็นคำาสั่งที่มีลักษณะการเขียนใกล้เคียงกับภาษา
อังกฤษ แต่มีโครงสร้างเกือบจะเป็นภาษาโปรแกรม
เช่น
– เริ่มต้นอาจให้มีคำาว่า BEGIN จบลงให้ใช้ END
– อ่าน เขียนข้อมูลอาจใช้ READ และ PRINT
– การทดสอบเงื่อนไขอาจใช้ IF , ELSE , ELSEIF
– การทำาซำ้าอาจใช้ WHILE , DO ENDWHILE เป็นต้น
ตัวอย่าง Pseudocode
BEGIN
READ A, B
SUM = A+B
IF SUM > 10 THEN
PRINT SUM
ELSE
PRINT A-B
END
ตัวอย่าง Pseudocode
Algorithm arrayMax(A,n)
Input: An array A storing n
integers.
Output: The maximum element in
A.
currentMax < A[0]
for I <- 1 to n-1 do
if currentMax < A[i] then
currentMax <- A[i]
ตัวอย่าง Pseudocode
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของอัลกอริธึม
• Space/Memory :
ใช้เนื้อที่ความจำามากน้อยแค่ไหน
• Time
เวลาที่ใช้ในการประมวลผล
การวิเคราะห์ Space Complexity
การวิเคราะห์ว่าจะต้องใช้หน่วยความจำา
ทั้งหมดเท่าไรในการประมวลผลอัลกอริธึมนั้น
•รองรับจำานวนข้อมูลที่ส่งเข้ามาประมวลผล (Input
Data)ได้มากที่สุดเท่าใด เพื่อให้อัลกอริธึมนั้น
สามารถประมวลผลได้อยู่
•ทราบขนาดของหน่วยความจำาที่จะต้องใช้ในการ
ประมวลผลอัลกอริธึม เพื่อไม่ให้กระทบกับการ
ทำางานของคนอื่น
•เพื่อเลือกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ที่จะใช้ติด
องค์ประกอบของ Space
Complexity• Instruction Space
– จำานวนของหน่วยความจำาที่คอมไพเลอร์
จำาเป็นต้องใช้ขณะทำาการคอมไพล์โปรแกรม
• Data Space
– จำานวนหน่วยความจำาที่ต้องใช้สำาหรับเก็บค่า
คงที่ และตัวแปรทั้งหมดที่ต้องใช้ในการประมวล
ผลโปรแกรม
• Environment Stack Space
– จำานวนหน่วยความจำาที่ต้องใช้ในการเก็บ
ผลลัพธ์ของข้อมูลเอาไว้ เพื่อรอเวลาที่จะนำา
ผลลัพธ์นั้นกลับไปประมวลผลอีกครั้ง (พบใน
Data Space
• Static memory allocationStatic memory allocation
จำานวนของหน่วยความจำาที่ต้องใช้อย่างแน่นอน ไม่มี
การเปลี่ยนแปลง ประกอบด้วยหน่วยความจำาที่ใช้เก็บค่า
คงที่และตัวแปรประเภท array
– เช่น การประกาศตัวแปร int a, b; char s[10], c;
• Dynamic memory allocationDynamic memory allocation
จำานวนของหน่วยความจำาที่ใช้ในการประมวลผล
สามารถเปลี่ยนแปลงได้ และจะทราบจำานวนหน่วยความ
จำาที่จะใช้ก็ต่อเมื่อโปรแกรมกำาลังทำางานอยู่
– เช่น การใช้ pointer และมีการจองเนื้อที่ในหน่วยความจำาด้วยคำา
สั่ง malloc();
ตัวอย่างการวิเคราะห์ Space
Complexity
{
int num1, num2, temp;
temp = num1;
num1 = num2;
num2 = temp;
}
ใช้หน่วยความจำา 6 byte
ตัวอย่างการวิเคราะห์ Space
Complexityint factorial(int n)
{
if (n==0)
return 1;
else
return (n * factorial(n-1));
}
ใช้หน่วยความจำา 4 × Max{1,
ค่า 4 คำานวณมาจาก หน่วยความจำาสำาหรับเก็บ address 2 bytes และตัวแปร
ชนิด integer อีก 2 bytes
factorial(4)
4 x factorial(3)
factorial(0) = 1
1
1x1=1
2x1=2
3x2=6
4x6=24
หาค่า 4! โดยใช้
recursive
3 x factorial(2)factorial(3)
2 x factorial(1)factorial(2)
1 x factorial(0)factorial(1)
การวิเคราะห์ Time Complexity
คือ เวลาที่เครื่องคอมพิวเตอร์ต้องใช้
ในการประมวลผลอัลกอริธึม
วิเคราะห์เพื่อ...
 ประมาณเวลาทั้งหมดที่ต้องใช้ในโปรแกรมได้
 มุ่งประเด็นการแก้ไขไปที่อัลกอริธึมที่ใช้เวลาใน
การประมวลผลนานๆ ทำาให้ไม่ต้องแก้ไขทั้ง
โปรแกรม
 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ทำางานแบบ Interactive
??
เวลาในการประมวลผลของ
โปรแกรม
Compile TimeCompile Time คือ เวลาที่ใช้ในการตรวจ
สอบไวยากรณ์ (syntax) ของ code ว่าเขียนได้
ถูกต้องหรือไม่
Run TimeRun Time หรือหรือ Execution TimeExecution Time คือ
เวลาที่เครื่องคอมพิวเตอร์ใช้ในการประมวลผล
การวิเคราะห์ Time Complexity
ด้วยวิธีการนับตัวดำาเนินการ
 แบบ Linear Loops
 แบบ Logarithmic Loops
 แบบ Nested Loops
แบบ Linear Loops
อัลกอริธึมมีการทำางานแบบวนรอบ (Loop) โดย
แต่ละ loop จะมีการเพิ่มหรือลดค่าในปริมาณที่คงที่
เช่น x = 1
Loop (x <=
2000)
x = x
+5
x = 1
Loop (x <=
2000)
x = x
+1
ถ้าให้ f(n) แทนประสิทธิภาพ และ n แทนจำานวนรอบ
การทำางาน สามารถเขียนเป็นสมการวัดประสิทธิภาพขอ
งอัลกอริธึมแบบ Linear loop ได้ดังนี้
f(n) = n
แบบ Logarithmic Loops
อัลกอริธึมจะทำางานแบบ Loop โดยการทำางาน
ภายในแต่ละ loop จะเพิ่มหรือลดค่าเป็นเท่าตัว
x = 1
Loop (x < 1000)
x = x*2
x = 1000
Loop (x >= 1)
x = x/2
ถ้าให้ f(n) แทนประสิทธิภาพ และ n แทนจำานวนรอบ
การทำางาน สามารถเขียนเป็นสมการวัดประสิทธิภาพได้
ดังนี้ f(n) = [logn]
แบบ Nested Loops
คือ อัลกอริธึมที่มี loop ซ้อนอยู่ภายใน
loop โดยประสิทธิภาพของอัลกอริธึมก็จะมีค่า
เท่ากับจำานวน loop ทั้งหมดที่จะต้องประมวลผล
ซึ่งหาได้จากการเอาจำานวน loop ที่ซ้อนกันมา
คูณกัน
f(n) = n2
f(n) = n3
Big-O Notation
• การวิเคราะห์อัลกอริธึม จะใช้วิธีหาจำานวนครั้งของ
การทำางานของโปรแกรม โดยมักจะสนใจค่าโดย
ประมาณเท่านั้น ซึ่งจะใช้สัญลักษณ์ว่า O เรียกว่า
บิ๊กโอ (big O) ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
ที่มาจากคำาว่า Order of Magnitude
•O(N), O(logN), O(N2
), O(1)
Big-O Notation
• แนวความคิดของบิ๊กโอ จะดูจากค่าที่มีผลกระทบ
มากที่สุดเพียงค่าเดียว
• ค่าอื่นๆที่เกี่ยวข้องจะมีผลต่อฟังก์ชันน้อยกว่า จึง
ไม่สนใจ และไม่สนใจค่าคงที่ด้วย
ตัวอย่าง หาค่าบิ๊กโอของ N4
+ 10N – 5
ถ้า f(N) = N4
+ 10N – 5
O(f(N)) = O(N4
)
ตัวอย่าง หาค่าบิ๊กโอของ 100N +1
ถ้า f(N) = 100N +1
O(f(N)) = O(N)
ตัวอย่าง หาค่าบิ๊กโอของ N/5 +100
ถ้า f(N) = N/5 +100
O(f(N)) = O(N)
ตัวอย่าง หาค่าบิ๊กโอของ N3
+ 2N3
+ 10
ถ้า f(N) = N3
+ 2N3
+ 10
O(f(N)) = O(N3
)
ตัวอย่าง หาค่าบิ๊กโอของ 100
ถ้า f(N) = 100
O(f(N)) = O(1)
การวิเคราะห์ความเร็วของ Algorithm
log n n n log n n2
n3
2n
0 1 0 1 1 2
1 2 2 4 8 4
2 4 8 16 64 16
3 8 24 64 512 256
4 16 64 256 4096 65,536
5 32 160 1,024 32,768 4,294,967,296
เร็ว ช้า
log n n n log n n2
n3
2n
0 1 0 1 1 2
1 2 2 4 8 4
2 4 8 16 64 16
3 8 24 64 512 256
4 16 64 256 4096 65,536
5 32 160 1,024 32,768 4,294,967,296
1
10
100
1000
10000
100000
n
n2
n log n
n
log n
n3
2n
Running time calculations
A simple Example
int sum(int n)
{ int i, partialSum;
partialSum = 0; //1
for(i=1;i<N;i++) //2
partialSum += i*i*i; //3
return partialSum;
}
-> Count for 1 unit per time executed
-> Count for 2N+1 units
-> 4N units
The total is 6N+2
This function is O(N)
Running time calculations
A simple Example
int factorial(int n)
{ int fac
if((n==0)||(n=1))
fac = 1;
else
fac = n*factorial(n-1);
}
-> Running time = 1
-> เรียกตัวเอง N ครั้ง
This function is O(N)

Contenu connexe

Tendances

ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1Inmylove Nupad
 
ฟังก์ชันประกอบ
ฟังก์ชันประกอบฟังก์ชันประกอบ
ฟังก์ชันประกอบY'Yuyee Raksaya
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นY'Yuyee Raksaya
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบprapasun
 
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลbenjalakpitayaschool
 
จี๊ดดดดด1
จี๊ดดดดด1จี๊ดดดดด1
จี๊ดดดดด1Chay Nyx
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4KruGift Girlz
 
การคูณและการหารเลขยกกำลัง
การคูณและการหารเลขยกกำลังการคูณและการหารเลขยกกำลัง
การคูณและการหารเลขยกกำลังทับทิม เจริญตา
 
นาย วสันต์-ล่าเริง-58170125 01
นาย วสันต์-ล่าเริง-58170125 01นาย วสันต์-ล่าเริง-58170125 01
นาย วสันต์-ล่าเริง-58170125 01Wasan Larreng
 
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 

Tendances (20)

ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1
 
ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5
 
ฟังก์ชันประกอบ
ฟังก์ชันประกอบฟังก์ชันประกอบ
ฟังก์ชันประกอบ
 
เมทริกซ์...
เมทริกซ์...เมทริกซ์...
เมทริกซ์...
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
 
การประมาณค่าพาย
การประมาณค่าพายการประมาณค่าพาย
การประมาณค่าพาย
 
Pre 7-วิชา 3
Pre  7-วิชา 3Pre  7-วิชา 3
Pre 7-วิชา 3
 
Function1
Function1Function1
Function1
 
linear function
linear functionlinear function
linear function
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
 
Calculus www.clipvidva.com
Calculus www.clipvidva.com Calculus www.clipvidva.com
Calculus www.clipvidva.com
 
จี๊ดดดดด1
จี๊ดดดดด1จี๊ดดดดด1
จี๊ดดดดด1
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
 
การคูณและการหารเลขยกกำลัง
การคูณและการหารเลขยกกำลังการคูณและการหารเลขยกกำลัง
การคูณและการหารเลขยกกำลัง
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
นาย วสันต์-ล่าเริง-58170125 01
นาย วสันต์-ล่าเริง-58170125 01นาย วสันต์-ล่าเริง-58170125 01
นาย วสันต์-ล่าเริง-58170125 01
 
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
 
Trees
TreesTrees
Trees
 

En vedette

การจัดบริการทันตกรรมแก่ผู้บกพร่องด้านพัฒนาการและสติปัญญา ร่วมกับสหวิชาชีพ
การจัดบริการทันตกรรมแก่ผู้บกพร่องด้านพัฒนาการและสติปัญญา ร่วมกับสหวิชาชีพการจัดบริการทันตกรรมแก่ผู้บกพร่องด้านพัฒนาการและสติปัญญา ร่วมกับสหวิชาชีพ
การจัดบริการทันตกรรมแก่ผู้บกพร่องด้านพัฒนาการและสติปัญญา ร่วมกับสหวิชาชีพNithimar Or
 
ความรู้พื้นฐานงานทันตสุขภาพคนพิการ
ความรู้พื้นฐานงานทันตสุขภาพคนพิการความรู้พื้นฐานงานทันตสุขภาพคนพิการ
ความรู้พื้นฐานงานทันตสุขภาพคนพิการNithimar Or
 
กลุ่มงานทันตกรรม สถาบันราชานุกูล
กลุ่มงานทันตกรรม  สถาบันราชานุกูลกลุ่มงานทันตกรรม  สถาบันราชานุกูล
กลุ่มงานทันตกรรม สถาบันราชานุกูลPattima Burapholkul
 
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการการส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการPattima Burapholkul
 
Special dentistry
Special dentistrySpecial dentistry
Special dentistryNithimar Or
 

En vedette (6)

การจัดบริการทันตกรรมแก่ผู้บกพร่องด้านพัฒนาการและสติปัญญา ร่วมกับสหวิชาชีพ
การจัดบริการทันตกรรมแก่ผู้บกพร่องด้านพัฒนาการและสติปัญญา ร่วมกับสหวิชาชีพการจัดบริการทันตกรรมแก่ผู้บกพร่องด้านพัฒนาการและสติปัญญา ร่วมกับสหวิชาชีพ
การจัดบริการทันตกรรมแก่ผู้บกพร่องด้านพัฒนาการและสติปัญญา ร่วมกับสหวิชาชีพ
 
Dental assistant course2
Dental assistant course2Dental assistant course2
Dental assistant course2
 
ความรู้พื้นฐานงานทันตสุขภาพคนพิการ
ความรู้พื้นฐานงานทันตสุขภาพคนพิการความรู้พื้นฐานงานทันตสุขภาพคนพิการ
ความรู้พื้นฐานงานทันตสุขภาพคนพิการ
 
กลุ่มงานทันตกรรม สถาบันราชานุกูล
กลุ่มงานทันตกรรม  สถาบันราชานุกูลกลุ่มงานทันตกรรม  สถาบันราชานุกูล
กลุ่มงานทันตกรรม สถาบันราชานุกูล
 
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการการส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
 
Special dentistry
Special dentistrySpecial dentistry
Special dentistry
 

Similaire à Data structure intro

บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหาบทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหาjack4212
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1Orapan Chamnan
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1Orapan Chamnan
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2Orapan Chamnan
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57krurutsamee
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมguestc3a629f6
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมguestc3a629f6
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลังkrookay2012
 
ใบความรู้ที่1.1
ใบความรู้ที่1.1ใบความรู้ที่1.1
ใบความรู้ที่1.1Orapan Chamnan
 
Chapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับChapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับPumPui Oranuch
 

Similaire à Data structure intro (20)

บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหาบทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
Sequence1
Sequence1Sequence1
Sequence1
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
7
77
7
 
ใบความรู้ที่1.1
ใบความรู้ที่1.1ใบความรู้ที่1.1
ใบความรู้ที่1.1
 
Chapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับChapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับ
 

Data structure intro