SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  27
Télécharger pour lire hors ligne
การจัดการความเสี่ยงอาชีวอนามัยด้านสารเคมี
และ
การดูแลบุคลากรที่สัมผัสสารเคมีอันตราย
กฤษณา นาสูงชน
พยาบาลวิชาชีพชานาญการ
กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม
สารเคมี“มหันตภัยใกล้ตัว”
ตัวอย่าง Case report
กรณีที่1ภาวะภูมิแพ้ที่อาจเกิดจากการสัมผัสยาเคมีบาบัดระหว่าง
ปฏิบัติงาน
„ พยาบาลอายุ 41ปี ปฏิบัติงานที่หอผู้ป่ วยมะเร็งมา 13 ปีมีอาการทรมานจาก
ภูมิแพ้ ได้แก่ น้ามูกไหล หายใจเหนื่อยทุกครั้งหลังจากเริ่มปฏิบัติงาน 1-2 ชม.
หลังจากปีที่3 ของการปฏิบัติงานในหน่วยดังกล่าวเธอเริ่มปรากฏอาการหอบ
เหนื่อยหลังจากเลิกงาน
„ ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการไม่พบความผิดปกติ แพทย์ผู้ให้การรักษาสงสัยว่า
ปัญหาของผู้ป่ วยอาจเกิดจากการสัมผัสยาเคมีบาบัดจากการปฏิบัติงานจึงให้
ติดตามอาการโดยการทดสอบการหายใจด้วยSpirometry and peak expiratory
flow measurements และผลจากการตรวจอาการทางคลินิกของผู้ป่ วยรายนี้
สรุปว่ามีหลักฐานที่เชื่อได้ว่า Mitroxantrone induced allergic asthma
กรณีที่2 การสัมผัสยาเคมีบาบัดของพยาบาลระหว่างการบริหารยา
„ พยาบาลอายุ 30ปี เปลี่ยน Infusion set ที่กาลังให้ยา Carmustineที่
แขวนอยู่ ขณะนั้นมีอุบัติเหตุทาให้ยาดังกล่าวไหลออกเปื้อนแขนข้าง
ขวาและขาของพยาบาลก่อนขวดจะตกลงที่พื้น ขณะให้ยาพยาบาลมี
การสวมถุงมือ และหลังการสัมผัส ได้ล้างแขนและขาออกด้วยน้า
ทันที แต่ไม่ได้เปลี่ยนเสื้อผ้า
„ 2-3 ชม. ต่อมา ขณะปฏิบัติงานเธอเริ่มปวดเกร็งท้อง ตามด้วย
ท้องเสีย และอาเจียน หัวหน้าตึกส่งตัวเธอไปที่ห้องER ทันที แพทย์
ให้Observe อาการจนกว่าจะปกติ
ความหมายของสารเคมี
„ หมายถึงสารอนินทรีย์ หรือสารอินทรีย์ที่สามารถระบุโมเลกุลของ
สารได้ อาจปรากฏอยู่ในธรรมชาติ หรือถูกสังเคราะห์ขึ้นจาก
ปฏิกิริยาต่างๆ สารเคมีมีสถานะอยู่ 3 สถานะ ได้แก่ ของแข็ง
ของเหลว และก๊าซ หรือ พลาสมา สามารถเปลี่ยนสถานะได้เมื่อ
สภาวะเปลี่ยนไป เช่น เปลี่ยนอุณหภูมิความดัน โดยใช้ปฏิกิริยาทาง
เคมี
ความหมายของสารเคมีอันตราย
สารเคมีอันตราย คือ สารที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อ
ชีวิต และทรัพย์สินได้ ซึ่งอาจก่อให้เกิดการกัดกร่อน เกิดการ
เผาไหม้ หรือลุกติดไฟ การระเบิด การออกซิไดซ์ หรือทา
ปฏิกิริยากับน้า
ความหมายของสิ่งคุกคามทางเคมี
(Chemical Health Hazards)
หมายถึง สิ่งแวดล้อมการทางานที่มีการใช้สารเคมีในขั้นตอน
ใดขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการทางาน และมีโอกาสเกิดผล
กระทบต่อสุขภาพผู้ปฏิบัติงาน
สารเคมีจาแนกได้ 9 ประเภท(ตามหลักสากล)
ประเภทที่ 1 วัตถุระเบิด
ประเภทที่ 2 ก๊าซ
ประเภทที่ 3 ของเหลวไวไฟ
ประเภทที่ 4 ของแข็งไวไฟ
ประเภทที่ 5 วัตถุออกซิไดส์และออร์แกนิกเปอร์ออกไซด์
ประเภทที่ 6 วัตถุมีพิษและวัตถุติดเชื้อ
ประเภทที่ 7 วัตถุกัมมันตรังสี
ประเภทที่ 8 วัตถุกัดกร่อน
ประเภทที่ 9 วัตถุอื่น ๆ ที่เป็นอันตราย
Routes of Exposure
„ Inhalation
„ Skin contact
„ Eye contact
ผลกระทบต่อสุขภาพ
„ เกิดการขาดอากาศหายใจ
„ เกิดการระคายเคือง
„ เกิดอันตรายต่อระบบการสร้างโลหิต
„ เกิดอันตรายต่อระบบประสาท
„ เกิดอันตรายต่อระบบหายใจ
„ เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
„ เกิดมะเร็ง
สิ่งที่ควรทาเมื่อสัมผัสสารเคมี
„ ควรปฏิบัติให้เป็นนิสัยในการล้างหน้า มือ และแขนทุกครั้งเมื่อ
มีการสัมผัสสารเคมี
„ ควรผสมสารเคมีในที่ที่มีระบบระบายอากาศที่ดี หรือในตู้ดูด
ควัน
„ ควรปิดฉลากภาชนะใส่สารเคมีให้ชัดเจน
„ ควรอ่านฉลากก่อนและหลังใช้สารเคมี
สิ่งที่ควรทาเมื่อสัมผัสสารเคมี(ต่อ)
„ ควรจับภาชนะให้ฉลากอยู่ระหว่างอุ้งมือเมื่อเวลาถ่ายเท เพื่อ
ป้ องกันมิให้ฉลากป้ ายชื่อหลุดหายหรือถูกทาลาย เนื่องจาก
สารเคมีหกเลอะหรือไหลมาตามข้างขวดภาชนะที่บรรจุ
„ ควรสวมใส่ผ้ากันเปื้อนและถุงมือ เพื่อป้ องกันอันตรายที่อาจจะ
เกิดขึ้น
„ ควรเทหรือรินสารอย่างช้า ๆ เสมอ เมื่อต้องการถ่ายเทสารชนิด
หนึ่งผสมลงในสารอีกชนิดหนึ่ง
สิ่งที่ควรทาเมื่อสัมผัสสารเคมี (ต่อ)
„ ควรตรวจภาชนะก่อนที่จะถ่ายเทสารลงไป
„ ควรเทสารละลายที่เข้มข้นลงในสารละลายที่เจือจางกว่า เพื่อเป็น
การหลีกเลี่ยงปฏิกิริยารุนแรงหรือการกระเด็นของสารละลาย และ
ควรจะทาในตู้ดูดควันพร้อมทั้งสวมแว่นตานิรภัย
„ ควรถือบีกเกอร์โดยใช้มือโอบรอบบีกเกอร์ ในกรณีที่บีกเกอร์มี
ขนาดใหญ่มาก ควรใช้มืออีกข้างหนึ่งประคองที่ก้นบีกเกอร์ด้วย
„ ควรเก็บสารที่อยู่ในภาชนะใหญ่มาก ๆ ไว้ที่ชั้นต่าที่สุด เพื่อสะดวก
และปลอดภัยเวลานามาใช้
สิ่งที่ไม่ควรทาเมื่อสัมผัสสารเคมี
„ อย่าแตะต้องสารเคมีโดยไม่จาเป็น สารบางตัวที่คิดว่า “ปลอดภัย” ใน
ปัจจุบันนี้อาจจะพบว่าเป็นอันตรายในวันข้างหน้าก็ได้
„ อย่าสูบบุหรี่หรือกินอาหารในบริเวณที่มีสารเคมี
„ อย่าชิมหรือดมสารเคมี นอกจากได้รับคาแนะนาจากนักเคมีเท่านั้น
„ อย่าใช้สารเคมีที่บรรจุในภาชนะที่มีฉลากป้ ายชื่อไม่ชัดเจน
„ อย่าใช้สารเคมีมากกว่าที่กาหนดไว้
„ อย่ามองลงไปในภาชนะที่มีสารเคมีอยู่ ทั้งนี้เพราะสารเคมีอาจพุ่งขึ้นมา
ถูกใบหน้าหรือตาเป็นอันตรายได้
„ อย่าใช้ปากดูดสารเคมี ควรใช้ลูกยางหรือใช้สายยางต่อกับท่อน้า
(water aspirator)
แนวทางและมาตรการในการจัดการความเสี่ยง
„ การใช้มาตรการในการควบคุมและป้ องกัน
„ การเฝ้ าระวังทางสุขภาพ
„ การสื่อสารความเสี่ยง
การใช้มาตรการในการควบคุมและป้ องกัน(1)
„ การดาเนินการที่แหล่งกาเนิด
„ การดาเนินการในเส้นทางระหว่างแหล่งกาเนิดถึงตัว
คนทางาน(ทางผ่าน)
„ การดาเนินการที่ตัวคนทางาน(ตัวบุคคล)
การดาเนินการที่แหล่งกาเนิด(1)
„ กาหนดวิธีปฏิบัติด้านความปลอดภัยให้ชัดเจน
- มีการจัดเก็บข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมีที่ใช้ที่เรียกว่า Material
Safety Data Sheet (MSDS) ไว้ในแผนก/หน่วยที่มีการใช้สารเคมี และมีอยู่ที่
ศูนย์รวมข้อมูลเคมีภัณฑ์ที่ใช้ทั้งหมดในรพ.
‟ มีมาตรการป้ องกันตนเองตามระดับปริมาณสารเคมีที่ต้องสัมผัส
‟ มีวิธีปฏิบัติในการกาจัดขยะสารเคมี
‟ มีวิธีปฏิบัติกรณีเกิดอุบัติเหตุสารเคมีหกหรือตกแตก
„ การใช้ระบบปิดกับแหล่งกาเนิด เพื่อป้ องกันสารเคมีรั่วไหล
„ การปฏิบัติตามนโยบาย/คู่มือ/มาตรฐานอย่างเคร่งครัด
การดาเนินการในเส้นทางระหว่างแหล่งกาเนิดถึงตัว
คนทางาน (2)
„ การระบายอากาศ
‟ เป็นห้องแยกที่มีระบบอากาศปกติ หรือเป็นห้องสะอาด (Cleanroom)
‟ ใช้เฉพาะเก็บสารเคมีหรือผสมยาเคมีบาบัดเท่านั้น
‟ มีป้ ายบอกชัดเจน ว่าเป็นสถานที่เก็บสารเคมีหรือผสมยาเคมีบาบัด เพื่อ
การจากัดการเข้าออก
‟ อากาศในห้องเป็นระบบควบคุมความเย็นและถ่ายเทออกสู่ภายนอก
‟ แสงสว่างเพียงพอ แต่แสงแดดส่องไม่ถึง
„ การรักษาความสะอาดและระเบียบในสถานที่ทางาน
การดาเนินการที่ตัวคนทางาน(3)
„ ผ่านการอบรมให้เข้าใจถึงอันตรายของสารเคมี
„ เฝ้ าระวังสุขภาพ ตรวจสุขภาพเป็นระยะอย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี
„ หมุนเวียนการทางานให้มีระยะพักการสัมผัสยา
„ การใช้ระบบปิดสาหรับบุคคล มีการล้างมือ ฟอกสบู่ทุกครั้งหลัง
ผสมยา และเก็บผ้าปิดปาก-จมูกทันที ไม่ปล่อยไว้ที่คอ
„ ผ่านการอบรมความเสี่ยงด้านอาชีวอนามัยและอาชีวสุขศึกษา
„ การใช้อุปกรณ์ป้ องกันอันตรายส่วนบุคคล
การเฝ้ าระวังทางสุขภาพ
„ การประเมินก่อนการทางาน
„ การประเมินขณะทางานเป็นระยะ
„ การประเมินหลังการเจ็บป่วย
„ การประเมินก่อนเปลี่ยนงาน
„ สิ่งสาคัญที่ต้องระวังคือการป้ องกันการกลับเป็นซ้าของโรค
และการประเมินความสมบูรณ์พร้อมในการกลับเข้าทางาน
(Return to work)
การติดตามความปลอดภัยของบุคลากรที่สัมผัสสารเคมี
อันตรายและยาเคมีบาบัด
„ Baseline examination
‟ CBC , ESR
‟ Biochemistry เช่น LFT , Urea, Creatinine , Electrolyte , UA
„ Routine examination เป็นการตรวจทางห้องปฏิบัติการซ้า ใช้ในการแยก
บุคลากรที่มีผลผิดปกติเมื่อเทียบกับ Baseline โดยบุคลากรที่ผิดปกติจะต้อง
หลีกเลี่ยงการทางานที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีหรือยาเคมีบาบัดจนกว่าจะ
ตรวจสอบซ้าและผลตรวจปกติ ควรตรวจทุก 6 เดือน
„ บันทึกเกี่ยวกับการสัมผัสสารเคมีหรือยาเคมีบาบัด เช่นระยะเวลาที่สัมผัส
ต่อวัน และการเกิดอุบัติเหตุในระหว่างการทางาน
23
ตัวอย่างการจัดการความเสี่ยงด้านสารเคมีของงานโภชนาการ
มีการสัมผัสน้ายาล้างภาชนะ
ที่มีส่วนผสมของโซเดียม
ไฮเปอร์คลอไรด์ เนื่องจาก
เครื่องล้างภาชนะเสีย -แจ้งบริษัทให้แก้ไขเครื่องล้างภาชนะ
-จัดอบรมเรื่องการใช้สารเคมี และ
สุขาภิบาลสวล.
- จัดทาคู่มือการใช้สารเคมี
แก้ไข
ระยะที่ 1
แจ้งหน่วยงาน
เพื่อนา
บุคลากรไป
ตรวจรักษา
และทบทวน
การใช้ยาน้ายา
ล้างภาชนะ
หลักในการสื่อสารความเสี่ยง
„ Share ข้อมูล
„ Share ปัญหา
„ Share ทางออก
„ Share ความรู้สึก
สรุปแนวทางและมาตรการในการจัดการความเสี่ยง
„ Identify ต้องทราบPolicy Safety ของสถานที่ทางาน
„ Analyze วิเคราะห์หาสาเหตุที่เกิด
„ Gather evidence รวบรวมข้อมูล
„ Refine policy ปรับปรุง policy
(อาจจะดีอยู่แล้วแต่ไม่ปฏิบัติตาม)
„ Control ให้ปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด
“เรายินดีที่จะดูแลคนทางานทุกคน”

Contenu connexe

Tendances

ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
Fon Edu Com-sci
 
คุณสมบัติเบื้องต้นการบริหารจัดการชั้นเรียนคณิตศาสตร์ ครูกฤติมา
คุณสมบัติเบื้องต้นการบริหารจัดการชั้นเรียนคณิตศาสตร์ ครูกฤติมาคุณสมบัติเบื้องต้นการบริหารจัดการชั้นเรียนคณิตศาสตร์ ครูกฤติมา
คุณสมบัติเบื้องต้นการบริหารจัดการชั้นเรียนคณิตศาสตร์ ครูกฤติมา
กฤติมา วงษ์อนันท์
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
suchinmam
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
dnavaroj
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
Chantana Papattha
 
โรคตาฟาง
โรคตาฟางโรคตาฟาง
โรคตาฟาง
speedpen111
 
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
Kruthai Kidsdee
 
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
Sitipun
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
krupornpana55
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
netzad
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
Kruthai Kidsdee
 

Tendances (20)

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้  ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการชุดกิจกรรมการเรียนรู้  ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยในห้องปฏิบัติการ
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยในห้องปฏิบัติการการประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยในห้องปฏิบัติการ
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยในห้องปฏิบัติการ
 
คุณสมบัติเบื้องต้นการบริหารจัดการชั้นเรียนคณิตศาสตร์ ครูกฤติมา
คุณสมบัติเบื้องต้นการบริหารจัดการชั้นเรียนคณิตศาสตร์ ครูกฤติมาคุณสมบัติเบื้องต้นการบริหารจัดการชั้นเรียนคณิตศาสตร์ ครูกฤติมา
คุณสมบัติเบื้องต้นการบริหารจัดการชั้นเรียนคณิตศาสตร์ ครูกฤติมา
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
โรคตาฟาง
โรคตาฟางโรคตาฟาง
โรคตาฟาง
 
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
 
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เปรียบเทียบประสิทธิภาพแอลกอฮอล์แข็งจากสบู่
เปรียบเทียบประสิทธิภาพแอลกอฮอล์แข็งจากสบู่เปรียบเทียบประสิทธิภาพแอลกอฮอล์แข็งจากสบู่
เปรียบเทียบประสิทธิภาพแอลกอฮอล์แข็งจากสบู่
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
ความเหนียว
ความเหนียวความเหนียว
ความเหนียว
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย 2554
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย 2554แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย 2554
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย 2554
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 

ความเสี่ยงด้านสารเคมี