SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  20
1 
Service Profile 
งานบริการวิสัญญี โรงพยาบาลศรีนครินทร์ 
(1 มกราคม พ.ศ. 2553 – 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555) 
(ชุด update 16 มิถุนายน 2556) 
จัดทาโดย 
คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ งานบริการวิสัญญี
2 
ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ 
มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
(มิถุนายน, 2556) 
Service Profile งานบริการวิสัญญี โรงพยาบาลศรีนครินทร์ 
ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสต ร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
(1 มกราคม พ.ศ. 2553 – 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555) 
1. บริบท 
ก. หน้าทแี่ละเปา้หมาย 
งานบริการวิสัญญีเป็นงานที่ให้บริการระงับความรู้สึกแก่ผู้ป่วยในโรงพยาบ 
า ล ศ รี น ค ริ น ท ร์ ซึ่ ง เ ป็ น ส ถ า น พ ย า บ า ล โ ร ง เ รี ย น แ พ ท ย์ 
ที่ มี ศั ก ย ภ า พ ใ น ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ร ะ ดั บ ต ติ ย ภู มิ 
มีเป้าห ม า ย ใ ห้ผู้ป่ว ย ไ ด้รับ บ ริก าร ที่ ได้คุณ ภ าพ ต า ม ม า ต ร ฐ าน วิช าชีพ 
เพื่อความปลอดภัยและพึงพอใจของผู้ป่วยและผู้รับบริการ โดย 
1. ให้บริการระงับความรู้สึกตามมาตรฐานวิชาชีพที่ครอบคลุมทุกขั้นตอนโ 
ดยเน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง 
2. วางแผนและประสานงานในทีมบริการที่เกี่ยวข้อง 
3. ลดอุบัติการณ์/ความเสี่ยงทางวิสัญญีโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ 
4. วิเคราะห์ความต้องการกลมุ่ผู้รับบริการทั้งภายในและภายนอกเพื่อเพิ่มค 
วามพึงพอใจ 
5. พัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มศักยภาพในการให้บริการแก่ผู้ป่วย 
6. ป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วย เจ้าหน้าที่และสิ่งแวดล้อม 
7. สนับสนุนเทคนิคบริการที่เอื้อต่อการเรียนการสอนและการวิจัย 
ข. ขอบเขต บริการ 
ง าน บ ริก า ร วิสัญ ญี ภ า ค วิช า วิสัญ ญี วิท ย า ค ณ ะ แ พ ท ย ศ า ส ต ร์ 
มห าวิท ยา ลัย ขอ นแ ก่น ให้การ บริกา รระ งับค วา มรู้สึกผู้ป่วย ใน ห้อ งผ่าตัด 
และห้องผ่าตัดคลอดของโรงพยาบาลศรีนครินทร์ ทั้งในเวลาและนอกเวลาราชการ 
มีการเปิดให้บริการเพิ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2555 จานวน 3 ห้องผ่าตัด ได้แก่ ห้องผ่าตัด 
13 (ในเดือนกรกฎาคม) ห้องผ่าตัดส่องกล้อง (ในเดือนตุลาคม) และห้องผ่าตัด 12
(ในเดือนพฤศจิกายน) รวมทั้งหมด 24 ห้อง ปริมาณผู้ป่วยที่เข้ารับบริการวิสัญญีปี 
พ .ศ . 2553-2555 มีจ า น ว น 14645, 16425 แ ล ะ 18082 ร า ย ต า ม ล า ดับ 
(รายงานสถิติงาน บริการ ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณ ะแพท ยศาสต ร์, 2555) 
เ พิ่ ม ม า ก ขึ้ น เ ฉ ลี่ ย ร้ อ ย ล ะ 11 ต่ อ ปี 
ปริมาณผู้ป่วยที่ได้รับการประเมินความเสี่ยงทางวิสัญญีต าม The American 
Society of Anesthesiologists (ASA) Physical Status (PS) ระดับ 3 ขึ้นไ ป 
เ ฉ ลี่ ย 2500 ร า ย ต่ อ ปี แ ล ะ มี แ น ว โ น้ ม สู ง ขึ้ น ซึ่ ง ใ น ปี พ . ศ . 2555 
พบกลุ่มผู้ป่วยที่มีโรค ที่มีผลในการระงับความรู้สึก เช่น โรคเกี่ยวกับไต ตับ 
แ ล ะ หั ว ใ จ ม า ก ถึ ง ร้ อ ย ล ะ 56.6 ข อ ง ผู้ป่ ว ย ที่ เ ข้ า รั บ ก า ร ผ่า ตั ด 
(ร า ย ง าน ส ถิติง าน บ ริก า ร ภ า ค วิช า วิสัญ ญี วิท ย า ค ณ ะ แ พ ท ย ศ า ส ต ร์ 
ม ห า วิ ท ย า ลั ย ข อ น แ ก่ น , 2555) 
จานวนบุคลากร ที่ให้บ ริการประก อบด้วย วิสัญญีแ พทย์จ านวน 23 ค น ค น 
วิ สั ญ ญี พ ย า บ า ล 58 ค น แ ล ะ เ จ้ า ห น้ า ที่ อื่ น จ า น ว น 1 5 ค น 
มีพ ย า บ า ล อ ยู่ ร ะ ห ว่า ง ฝึก อ บ ร ม วิสัญ ญี พ ย า บ า ล อีก จ า น ว น 1 1 ค น 
มีเครื่องมือตามเกณฑ์มาตรฐานที่ราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทยกาห 
นด มีศักยภาพในการให้บริการหัต ถการผ่าตัดที่ยุ่งยากซับซ้อนและเฉพาะทาง 
ที่ โ ร ง พ ย า บ า ล ทั่ ว ไ ป ไ ม่ส า ม า ร ถ ท า ไ ด้ ไ ด้ แ ก่ ศัล ย ก ร ร ม ท ร ว ง อ ก 
หัวใจและหลอดเลือด เช่น Open Heart Surgery CABG การผ่าตัดปอด เป็นต้น 
รวมถึงการ ผ่าตัดป ลูกถ่าย อวัยวะ เช่น Kidney Transplantation และ Liver 
Transplantation เป็นต้น 
ภาระงานดูแลผู้ป่วยครอบคลุมตั้งแต่ระยะก่อนผ่าตัด โดย สาหรับ elective 
case จัดให้มีการตรวจเยี่ยมประเมินผู้ป่วยล่วงหน้าก่อนผ่าตัด 1 วัน ส่วนในกรณี 
emergency case มี ก า ร ป ร ะ เ มิ น ทั น ที เ มื่ อ มี ก า ร เ ซ็ ท ผ่ า ตั ด 
เ พื่ อ ค้ น ห า แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม เ สี่ ย ง 
ประกอบการวางแผนในการดูแลผู้ป่วยแต่ละรายก่อนเริ่มให้บริการระงับความรู้สึก 
ใ ห้ ข้ อ มู ล ที่ จ า เ ป็ น ที่ เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ร ะ งับ ค ว า ม รู้ สึ ก แ ก่ ผู้ป่ ว ย 
ให้ผู้ป่วย/ญาติมีส่วนร่วมในการเลือกเทคนิคและรับทราบความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น 
ใ ห้ ก า ร ดูแ ล ช่ ว ย เ ห ลือ แ ล ะ บัน ทึก ข้ อ มูล ร ะ ห ว่า ง ผ่า ตัด ข ณ ะ ผ่า ตั ด 
ห ลั ง ผ่ า ตั ด ร ะ ย ะ แ ร ก ที่ ห้ อ ง พั ก ฟื้ น 
แ ล ะ ส่ ง ก ลั บ ห อ ผู้ ป่ ว ย ห รื อ ห อ ผู้ ป่ ว ย วิ ก ฤ ติ ก ร ณี จ า เ ป็ น 
โ ด ย มี ก า ร ส่ ง ต่ อ ข้ อ มูล ที่ ส า คัญ ใ น ก า ร ดู แ ล ผู้ป่ ว ย อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง 
3
แ ล ะติด ต าม เยี่ย ม ป ร ะ เมิน ภ า ว ะแ ท ร ก ซ้อ น ท า ง วิสัญ ญีวิท ย า ภ าย ใ น 24 
ชั่วโมงหลังผ่าตัด ตลอดจนติดต ามดูแลแก้ไขภาวะแทรกซ้อนที่พบภายใน 48 
ชั่ ว โ ม ง ห ลั ง ผ่า ตั ด (Safe Anesthesia Care in Srinagarind Hospital. 
ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2553) 
4 
ภาพกรอบแนวคิดการควบคุมคุณภาพบริการวิสัญญี 
Safe Anesthesia Care in Srinagarind Hosp. 
Daily Work & Quality Activities) 
4. Post-0p visit & APS 
3. PACU 
1. Pre-op visit 
(Initial Assessment) 
Preanesthesia 
Quality Improvement 
OFI 
Identification 
Anes.complication, 
Outcome indicator 
2. Intra-operative Care 
Perioperative 
• Monitoring& Evaluation 
• CPG 
• Quality manual 
• Consultation 
• Innovation 
Post anesthesia 
• Qualified personel 
• Qualified equipment 
• Quality manual 
• Consultation 
• Investigation & 
• Planning Team) 
CQI 
• KM, R2R, EBM 
• Conclusion, 
• Communication 
• Share & Learn 
M&M 
• CPG 
• Quality manual 
• Consultation 
Daily quality review 
(repeat) 
(งานบริการวิสัญญี โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ 
มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2553) 
ค. ผรูั้บผลงานและความตอ้งการทสี่า คัญ (จาแนกตามกลุ่มผู้รับผลงาน) 
ความต้องการของผรู้บับรกิาร (External customer) 
ผู้ป่วยและญาติ 
1. ได้รับบริการระงับความรสูึ้กที่ปลอดภัยได้มาตรฐาน 
ซึ่งรองรับการผ่าตัดที่ยากและซับซ้อน 
2. 
ได้รับคาแนะนาเกี่ยวกับขั้นตอนการระงบัความรสูึ้กและการปฏิบัติตัวทั้ง
ก่อนและหลังรับบริการและมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเลือกเทคนิคการระงับความรู้ 
สึก 
5 
3. พบปะพูดคุยกับเจ้าหน้าที่เพื่อรับทราบข้อมูลและซักถามข้อข้องใจ 
ความต้องการของผรู้ว่มงานในโรงพยาบาล (Internal customer) 
แพทย์ผ่าตดั 
1. มีการประเมินผู้ป่วยบนพื้นฐานของหลักวิชาอย่างละเอียดรอบคอบ 
2. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีการประสานงานในทีมที่มีประสิทธิภาพ 
3. มีความรู้และทักษะในการให้บริการที่ดี 
มีการพัฒนาความรู้อยู่อย่างสม่าเสมอ 
4. 
มีความเข้าใจในหัตถการของแพทย์ผ่าตัดและสามารถให้บริการที่สอดค 
ล้องทาให้การผ่าตัดดาเนินไปด้วยความราบรนื่ 
5. มีการตัดสินใจที่รวดเร็ว แม่นยา 
และรอบคอบเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย 
6. 
มีการวิเคราะห์ความต้องการของแพทย์ผ่าตัดเพื่อนามาปรับปรุงและพัฒ 
นางานบริการ 
7. มีอุปกรณ์, เครื่องมือต่าง ๆ 
ที่มีประสิทธิภาพเชื่อถือได้และพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา 
หอผปู้่วยและหน่วยงานทเี่กยี่วข้อง 
1. มีการติดต่อประสานงานอย่างมีประสิทธิภาพ 
มีการบันทึกและส่งต่อข้อมูลที่เชื่อถือได้ 
2. นาผู้ป่วยส่งกลับหอผู้ป่วยอย่างปลอดภัย 
พยาบาลห้องผ่าตดั 
1. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีน้าใจช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการปฏิบัติงาน 
2. วางแผนร่วมกันก่อนเริ่มการผ่าตัดเพื่อความราบรนื่ในการปฏิบัติงาน 
เช่น ให้ความร่วมมือในการทา surgical safety checklist 
3. ให้ความร่วมมือรักษาเครื่องมือเครื่องใช้ให้สะอาดปราศจากเชอื้โรค 
4. ช่วยรับผิดชอบในอุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกัน เช่น suction ไม้รองแขน เป็นต้น 
ง. ประเด็นคุณภาพทสี่า คัญ
6 
1. 
ให้บริการวิสัญญีที่มีการควบคุมมาตรฐานด้วยระบบประกันคุณภาพที่ครอบคลุมทุก 
ขั้นตอน มีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง 
2. ให้บริการโดยเน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง 
ผู้ป่วยทุกรายมีสิทธิเท่าเทียมกันในการได้รับบริการวิสัญญีที่ได้มาตรฐานแห่งวิชา 
ชีพ 
3. 
ผู้ป่วย/ญาติมีการรับทราบข้อมูลและมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเลือกเทคนิคการระงั 
บความรู้สึกบนพื้นฐานความปลอดภัย 
4. 
บุคลากรผู้ปฏิบัติงานพัฒนาตนเองให้มีความรคู้วามสามารถที่ทันสมัยอยู่เสมอ 
5. ค้นหาความเสี่ยงและลดอุบัติการณ์ที่เกิดจากบริการวิสัญญี 
จ. ความท้าทาย ความเสยี่งทสี่า คญั จุดเน้นในการพัฒนา 
ความท้าทาย ความเสี่ยงที่ 
สาคัญ 
จุดเน้นในการพัฒนา 
1. 
เป็นโรงพยาบาลโรงเรีย 
นแพทย์ที่มีศักยภาพบริ 
การแบบตติยภูมิ 
ประเภทของผู้ป่วยมีควา 
มซับซ้อนของโรคและมี 
ความยากในการดูแลรัก 
ษาจึงต้องมีการ 
- พัฒนาคน 
- พัฒนาระบบ 
- พัฒนากระบวนการ 
- 
ความผิดพลา 
ดในการประเ 
มินความเสี่ยง 
และการดูแล 
- 
การส่งต่อข้อมู 
ลไม่สมบูรณ์ 
- 
การประสานง 
านบกพร่อง 
- การฟ้องร้อง 
- 
พัฒนาบุคลากรเฉพาะทางเพื่อรองรับคว 
ามยากของงานและลดความเสี่ยง 
ข้อขัดแย้งในการประสานในทีม เช่น 
ทีม kidney transplantation และ liver 
transplantation เป็นต้น 
- 
เน้นด้านความปลอดภัยของผู้ป่วยโดยมี 
ระบบบริหารความเสี่ยงและการประกันคุ 
ณภาพบริการ 
- 
มีการประเมินผู้ป่วยร่วมกันในทีมสหสา 
ขา และมีระบบการปรึกษาเฉพาะทาง 
เช่น การขอคาปรึกษาทีม cardio-med 
หรือทีมดูแลความปวดเมื่อพบปัญหาใน 
การดูแล, พัฒนาร่วมกับ CLT 
ต่างๆผ่านผู้ประสานเพื่อลดความเสยี่งตา
7 
ความท้าทาย ความเสี่ยงที่ 
สาคัญ 
จุดเน้นในการพัฒนา 
มแนวคิด Thai Patient Safety Goals : 
SIMPLE 
- 
พัฒนาระบบการติดต่อสื่อสารภายในทีม 
ผู้ให้บริการ ผ่านทีมบริหารความเสี่ยง, 
กลุ่มงานประกันคุณภาพ 
และสร้างทีมประสานแต่ละ PCT/CLT 
เพิ่มเติมขึ้น 
เพื่อแก้ปัญหาได้ตรงประเด็นมากขึ้น 
- 
ติดตามภาวะแทรกซ้อนที่สาคัญโดยกรร 
มการบริหารความเสี่ยง 
และร่วมอบรมหลักสูตรการเจรจาไกล่เก 
ลี่ยกับทีมบริหารความเสี่ยงของโรงพยา 
บาลเพื่อดูแลบริหารจัดการความเสี่ยงเบื้ 
องต้นที่เกิดภายในองค์กร 
2. Excellent Center 
ด้าน 
การปลูกถ่ายอวัยวะ 
ได้แก่ Renal 
Transplantation และ 
Liver Transplantation 
เป็นต้น 
- ขาดความรู้ 
ความชานาญ 
ของทีมงานเฉ 
พาะทาง 
- 
พัฒนาบุคลากรกลุ่มงานที่มีความเฉพา 
ะ 
ได้แก่ทีมระงับความรสูึ้กการผา่ตัดเปลยี่ 
นไตและเปลยี่นตับ เช่น 
การเข้าร่วมอบรม 
ทบทวนความรู้การผ่าตัดไต 
- อบรม 
ดูงานเพื่อเพิ่มศักยภาพเช่นการส่งบุคล 
ากรร่วมดูงาน liver transplantation 
ณ ประเทศญี่ปุ่นและออสเตรเลีย 
- 
ทบทวนแนวทางการระงับความรสูึ้กผู้ป่ 
วยผ่าตัดปลูกถ่ายไตที่จัดทาและปรับปรุ 
ง 
- 
จัดทีมผู้ชานาญเฉพาะทางกากับการดู
8 
ความท้าทาย ความเสี่ยงที่ 
สาคัญ 
จุดเน้นในการพัฒนา 
แลผู้ป่วย 
3.ให้บริการนอกสถานที่ 
เช่น 
การทาการวินิจฉัยด้วย 
Angiogram และ MRI 
เป็นต้น 
- 
ความไม่พร้อม 
ไม่ชานาญขอ 
งทีมผู้ช่วยเหลื 
อหากมีกรณีฉุ 
กเฉิน 
- 
วางระบบการบริหารจัดการงานบริการ 
นอกสถานที่ 
โดยให้มีผู้รับผิดชอบประจา 
- 
ดูแลจัดอุปกรณ์ที่สาคัญสมบูรณ์พร้อมใ 
ช้ตลอดเวลา 
- 
จัดให้มีทีมชานาญเฉพาะเพื่อลดความเ 
สี่ยง 
- 
มีระบบขอความช่วยเหลือด่วนผ่านวิทยุ 
ติดตามตัว 
ฉ. ปริมาณงานและทรัพยากร(คน เทคโนโลยี เครอื่งมือ) 
ปริมาณงาน 
จานวนผู้ป่วย พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 
จานวนผู้ป่วยทั้งหมด (รวม) 14,645 16,425 18,082 
- ผู้ป่วยใน :ราย (ร้อยละ) 14,147 
(96.6) 
15,751 
(95.9) 
17,200 
(95.2%) 
- ผู้ป่วยนอก :ราย (ร้อยละ) 268 (1.8) 452 (2.8) 678 (3.7) 
- ไม่ระบุ :ราย (ร้อยละ) 230 (1.6) 222 (1.3) 204 (1.1%) 
ประเภทผู้ป่วย 
- Elective :ราย (ร้อยละ) 11,270 
(77.0) 
12,957 
(78.9) 
14,231(78.7) 
- Emergency :ราย (ร้อยละ) 3,307 
(22.6) 
3,417 
(20.8) 
3,791 (21.0) 
- ไม่ระบุ :ราย (ร้อยละ) 68 (0.4) 51 (0.3) 60 (0.3) 
- มี Underlying disease 55.2 56.6 56.6
9 
(ร้อยละ) 
-ไม่มี Underlying disease 
(ร้อยละ) 44.8 
43.4 43.4 
ประเภทการระงับความรสูึ้ก 
- Regional Anesthesia (RA) 2,661 
(18.2) 
2,770 
(16.9) 
2,968 (16.4) 
- General Anesthesia (GA) 10,710 
(73.1) 
12,290 
(74.8) 
13,480 
(74.5) 
- Combined GA& RA 952 (6.5) 1,011 (6.2) 1,224 (6.8) 
- MAC 312 (2.1) 338 (2.1) 400 (2.2) 
-ไม่ระบุ 10 (0.1) 16 (0.1) 10 (0.1) 
ทรัพยากรบุคคล 
จานวนบุคลากรกลุ่มต่าง ๆ พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 
วิสัญญีแพทย์ 15 21 23 
วิสัญญีพยาบาล 50 51 58 
อยู่ระหว่างอบรมวิสัญญีพยาบาล 1 7 11 
เจ้าหน้าที่สายสนับสนุนงานบริการ 13 14 15 
เครอื่งมือ อุปกรณท์ใี่ช้ให้บรกิารทางวิสัญญี 
การจัดเครื่องมือและอุปกรณ์ 
(ตามเกณฑ์มาตรฐานของราชวทิยาลัยวิสัญญีแพทย์) 
พ.ศ. 
2553 
พ.ศ. 
2554 
พ.ศ. 
2555 
- เครื่องให้ยาสลบ 1 เครื่อง/ห้องผ่าตัด 
(มีเครื่องสารองใช้) 
มี มี มี 
- เครื่องช่วยหายใจ 1 เครื่อง/ห้องผ่าตัด 
(มีเครื่องสารองใช้) 
มี มี มี 
- 
อุปกรณ์เพื่อจัดการเปิดทางเดินหายใจตามมาตรฐาน 
(มีอุปกรณ์สารองใช้ มีรถเตรียมอุปกรณ์สาหรับ 
มี มี มี
10 
การจัดเครื่องมือและอุปกรณ์ 
(ตามเกณฑ์มาตรฐานของราชวทิยาลัยวิสัญญีแพทย์) 
พ.ศ. 
2553 
พ.ศ. 
2554 
พ.ศ. 
2555 
difficult intubation) มีทุกห้องผ่าตัด 
- มี Fiberoptic bronchoscope สารองใช้ส่วนกลาง มี มี มี 
- มีอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพพร้อมใช้ 
มี มี มี 
(มีชุดยาสาหรับ CPR สารองใช้ 3 ตาแหน่งได้แก่ 
PACU1, PACU2 และ Supply) 
- มีเครื่อง suction ทุกห้องผ่าตัด มี มี มี 
- มีอุปกรณ์ในการติดตามอาการผู้ป่วย มี มีมี 
- มีเครื่องเป่าลมร้อนอย่างน้อย 1 เครื่องต่อ 
มี มี มี 
1ห้องผ่าตัด 
2. กระบวนการสา คัญ (Key Process) 
กระบวนก 
สิ่งที่คาดหวัง 
ารสาคัญ 
ความเสยี่งทสี่า คั 
ญ 
ตัวชี้วัดที่สาคัญ 
1. 
การเตรีย 
มความพร้ 
อมของผู้ 
ป่วยและก 
ารวางแผ 
น 
- 
มีการประเมินก่อนเรมิ่ต้น 
ให้การระงับความรสูึ้กสา 
หรับผู้ป่วยแต่ละรายเพื่อ 
การค้นหาและป้องกันคว 
ามเสี่ยงโดยผู้มีคุณวุฒิ 
และวางแผนการระงับคว 
ามรู้สึกสาหรับผู้ป่วยแต่ล 
ะราย 
- 
ผู้ป่วยได้รับการ 
ประเมินไม่ครอบ 
คลุมประเด็นที่สา 
คัญ 
- 
กรณีรายที่วินิจฉั 
ยมีโรคซับซ้อนไ 
ม่ได้รับการปรึก 
ษาผู้ที่ชานาญก 
ว่าก่อนการผ่าตั 
ด 
- 
ขาดพยานบุคคล 
- 
เครื่องมือหรืออุป 
กรณ์มีปัญหาข 
ณะให้บริการ 
- 
อัตราผู้ป่วยได้รับการต 
รวจเยี่ยมและประเมินเพื่ 
อจัดแบ่งลาดับความสา 
คัญตามความเสี่ยง 
ASA 
ก่อนให้ยาระงับความรู้ 
สึก 
- 
อัตราผู้ป่วยหรือญาติผู้ 
ป่วยได้รับการให้ข้อมูล 
ก่อนให้ยาระงับความรู้ 
สึกและลงชื่อยินยอมใน 
ใบ informed consent 
- 
อัตราการตรวจสอบเครื่ 
องดมยาสลบและ 
monitor ก่อนให้บริการ
11 
กระบวนก 
ารสาคัญ 
สิ่งที่คาดหวัง 
ความเสยี่งทสี่า คั 
ญ 
ตัวชี้วัดที่สาคัญ 
- 
เกิดสถานการณ์ 
ไม่เป็นตามแผน 
การดูแลที่วางไว้ 
- 
มีการอธิบายประเด็นเรอื่ 
งความเสี่ยงภาวะแทรกซ้ 
อนที่อาจเกิดขึ้นและทางเ 
ลือกในการระงับความรสูึ้ 
กให้แก่ผู้ป่วย ครอบครัว 
หรือผู้ที่ตัดสินใจแทนผู้ป่ 
วย 
- 
การเตรียมความพร้อมข 
องเครื่องมือ อุปกรณ์ 
และยาโดยวางแผนปรึก 
ษาภายในทีมและผู้ชานา 
ญกว่า 
2. 
ให้การระ 
งับความรู้ 
สึก 
- 
ผู้ป่วยทุกรายได้รับการเ 
ฝ้าระวังระหว่างให้ยาระงั 
บความรู้สึกตามมาตรฐา 
น ASA 
- 
บุคลากรไม่ปฏิบั 
ติตามแนวทางที่ 
กาหนด 
- 
ร้อยละบุคลากรผู้ให้บริ 
การผ่านการอบรมและ 
มีคุณสมบัติตามมาตรฐ 
านราชวิทยาลัยวิสัญญี 
แพทย์แห่งประเทศไทย 
- 
มีการปฏิบัติตามแนวทาง 
การให้บริการวิสัญญีที่ 
สาคัญ 
- 
จานวนแนวทางปฏิบัติที่ 
สาคัญ 
- 
กระบวนการระงับความรู้ 
สึกเป็นไปอย่างราบรนื่แ 
ละปลอดภัยตามมาตรฐา 
- 
อัตราการเกิดอุบัติการ 
ณ์ขณะระงับความรสูึ้ก
12 
กระบวนก 
ารสาคัญ 
สิ่งที่คาดหวัง 
ความเสยี่งทสี่า คั 
ญ 
ตัวชี้วัดที่สาคัญ 
นวิชาชีพ 
- 
วางแผนการให้ยาหรือเท 
คนิคระงับปวด 
- 
อัตราการติดตามและบั 
นทึกข้อมูลผู้ป่วยระหว่า 
งระงับความรสูึ้ก 
- 
อัตราการเกิดอุบัติการ 
ณ์ต่างๆ 
- 
ความสมบูรณ์ของการบั 
นทึก 
- ร้อยละความสมบูรณ์ 
ถูกต้องและครบถ้วนขอ 
งแบบบันทึก 
anesthetic record 
3. 
การดูแลผู้ 
ป่วยในห้ 
องพักฟื้น( 
PACU) 
ดูแลความ 
ปวด 
และนาส่ง 
ผู้ป่วยไป 
ที่หอผู้ป่ว 
ย/กลับบ้า 
น 
- 
ผู้ป่วยได้รับการดูแลตาม 
มาตรฐาน 
และได้รับการดูแลความ 
ปวดที่เหมาะสม 
- 
ไม่ได้รับการประ 
เมินและให้การดู 
แลที่เหมาะสม 
- 
ภาวะแทรกซ้อน 
ในห้อง พักฟื้น 
เช่น 
desaturation, 
ความปลอดภัยข 
องผู้ป่วย 
ตกเตียง/ล้ม, 
accidental 
extubation, 
drug Error 
เป็นต้น 
- 
- 
ร้อยละของผู้ป่วยหลังผ่ 
าตัดที่ได้รับการดูแลตา 
มมาตรฐาน PACU 
- 
ร้อยละผู้ป่วยนอกได้รับ 
การประเมินก่อนจาหน่ 
ายโดย PADS>9 
- 
ร้อยละการรายงานแพ 
ทย์ก่อนจาหน่ายผู้ป่วย 
นอก
13 
กระบวนก 
ารสาคัญ 
สิ่งที่คาดหวัง 
ความเสยี่งทสี่า คั 
ญ 
ตัวชี้วัดที่สาคัญ 
การส่งต่อข้อมูล 
ผิดพลาด 
และไม่ครบถ้วน 
4. 
ตรวจเยี่ย 
มผู้ป่วยห 
ลังผ่าตัด 
24 ชม. 
เพื่อติดตา 
มการเกิด 
ภาวะแทร 
กซ้อนที่ 
สาคัญ 
(incident 
related 
to 
anesthe 
sia) 
- 
มีการติดตามภาวะแทรก 
ซ้อนที่เกิดจากบริการทา 
งวิสัญญี 
- 
ประเมินและบันทึ 
กภาวะแทรกซ้อ 
นได้ไม่ครบถ้วน 
ทุกราย 
- 
อัตราการได้รับการเยี่ย 
มหลังได้รับการระงับคว 
ามรู้สึก 
- 
บันทึกข้อมูลการให้บริกา 
รวิสัญญีอย่างครบถ้วน 
- 
บันทึกไม่ครบถ้ว 
นคลาดเคลื่อน 
ทาให้การนาข้อ 
มูลไปวิเคราะห์ผิ 
ดพลาด 
- 
ความสมบูรณ์ของการบั 
นทึกข้อมูลการเยี่ยม 
- 
ผู้ป่วยรับทราบข้อมูลการ 
ปฏิบัติตัวก่อนกลับบ้าน 
- 
ผู้ป่วยได้รับการดูแลต่อเ 
นื่องและพึงพอใจ 
- 
ความไม่พึงพอใ 
จการบริการ 
- 
เสี่ยงต่อการถูกฟ้ 
- 
อัตราความพึงพอใจขอ 
งผู้ป่วย 
ในบริการวิสัญญี 
- ข้อร้องเรียน
14 
กระบวนก 
ารสาคัญ 
สิ่งที่คาดหวัง 
ความเสยี่งทสี่า คั 
ญ 
ตัวชี้วัดที่สาคัญ 
องร้อง 
5. 
ให้บริการ 
ระงับปวด 
โดยหน่ว 
ยระงับปว 
ด 
- 
ผู้ป่วยได้รับทราบและมีส่ 
วนร่วมในการเลือกเทคนิ 
คการระงับปวดก่อนผ่าตั 
ด 
- 
ผู้ป่วยได้รับเทคนิคการร 
ะงับปวดอย่างเหมาะสม 
มีคุณภาพชีวิตที่ดีหลังผ่า 
ตัด 
- 
ผู้ป่วยได้รับบริก 
ารไม่ทั่วถึง 
- 
อัตราความพึงพอใจขอ 
งผู้ป่วยที่ได้รับบริการ 
APS > 85% 
- 
ผู้ป่วยได้รับการประเมินอ 
าการปวด (ตาม pain 
score) 
เกี่ยวกับระดับความรุนแร 
งและลักษณะความปวดอ 
ย่างต่อเนื่อง 
- 
ผู้ป่วยไม่ได้รับก 
ารดูแลระงับปวด 
ตามเกณฑ์ที่กาห 
นด 
- 
อัตราผู้ป่วยที่มีระดับคว 
ามปวดมาก (NRS>7) 
ก่อนส่งกลับหอผู้ป่วย 
< 5% 
- 
มีทีมระงับปวดเป็นผู้ให้บ 
ริการ 
สร้างความมั่นใจในการ 
ดูแล 
- 
มีภาวะแทรกซ้อ 
นรุนแรงจากเทค 
นิคการระงับปวด 
- 
จานวนผู้ป่วยที่เกิดภาว 
ะแทรกซ้อนที่รุนแรง 
3. ตัวชวีั้ดผลการดาเนินงาน (Performance Indicator) 
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน/การดาเนินงาน มี 3 ประเภท ได้แก่ 
1) Process Indicator หมายถึง 
ตัวชี้วัดกระบวนการดูแลผู้ป่วยทางวิสัญญี 
กระบวนการที่สาคัญ 
(ตัวชี้วัดผลการดาเนินงาน) 
ผลการดาเนินการ (ร้อยละ) 
เป้าหมา 
ย 
พ.ศ.2 
553 
พ.ศ. 
2554 
พ.ศ.2 
555
15 
กระบวนการที่สาคัญ 
(ตัวชี้วัดผลการดาเนินงาน) 
ผลการดาเนินการ (ร้อยละ) 
เป้าหมา 
ย 
พ.ศ.2 
553 
พ.ศ. 
2554 
พ.ศ.2 
555 
1. การดูแลและประเมนิก่อนระงับความรสูึ้ก 
- 
ร้อยละผู้ป่วยได้รับการตรวจเยี่ยมและประเมินก่อ 
นให้ยาระงับความรู้สึก* 
100 100 100 100 
- 
ร้อยละผู้ป่วยได้รับการให้ข้อมูลก่อนให้ยาระงับค 
วามรู้สึกและลงชื่อรับทราบในใบ informed 
consent 
100 100 100 100 
- อัตราการตอบรับ consult จากวิสัญญีแพทย์ > 95 81 100 100 
2. การดูแลขณะระงับความรสู้กึ 
- 
100 100 100 100 
ร้อยละบุคลากรผู้ให้บริการผ่านการอบรมและมีคุ 
ณสมบัติตามมาตรฐานราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์ 
แห่งประเทศไทย 
- ร้อยละความสมบูรณ์ 
ถูกต้องและครบถ้วนของแบบบันทึก anesthetic 
record 
> 80 86.8 96.1 97.2 
3. การดูแลระยะพักฟนื้ 
- 
ร้อยละของผู้ป่วยหลังผ่าตัดที่ได้รับการดูแลตามม 
าตรฐาน PACU 
> 85 100 100 100 
- 
ร้อยละผู้ป่วยนอกได้รับการประเมินก่อนจาหน่าย 
โดย PADS>9 
> 85 100 99.2 99.5 
- 
ร้อยละการรายงานแพทย์ก่อนจาหน่ายผู้ป่วยนอก 
> 85 100 89.4 89.4 
- ร้อยละผู้ป่วยที่มีระดับความปวดมากมี NRS > 7 < 5 4.5 4.8 3.6
16 
กระบวนการที่สาคัญ 
(ตัวชี้วัดผลการดาเนินงาน) 
ผลการดาเนินการ (ร้อยละ) 
เป้าหมา 
ย 
พ.ศ.2 
553 
พ.ศ. 
2554 
พ.ศ.2 
555 
(หลังผ่าตัดที่ห้องพักฟื้น) 
4. 
การดูแลระยะหลงัผ่าตัดเพอื่ตดิตามภาวะแทรกซ้ 
อนและดูแลความปวดที่หอผปู้่วย 
- 
อัตราการได้รับการเยี่ยมหลังได้รับการระงับความ 
รู้สึก 
> 90 95 95 95.7 
- ความสมบูรณ์ของการบันทึกข้อมูลการเยี่ยม > 95 NR 94.7 96.2 
หมายเหตุ : * หมายถึง ผู้ป่วยที่มีรายชื่อในตารางผ่าตัด ก่อนเวลา 19.00 น. 
จะได้รับการเยี่ยมประเมินก่อนผ่าตัดที่หอผู้ป่วยล่วงหน้า 1 วัน และ ผู้ป่วยที่ set 
ผ่าตัด elective หลังเวลา 19.00 น. 
จะได้รับการประเมินก่อนให้ยาระงบัความรสูึ้กที่ห้องผ่าตัด และลงบันทึกในใบ 
Preanesthesia evaluation & preparation 
2) Outcome Indicator ห ม า ย ถึ ง 
ตัวชี้วัดผลลัพธ์และภาวะแทรกซ้อนทางวิสัญญี (Complication of Anesthesia) 
ที่เกิดจากการให้บริการระงบัความรสูึ้กตามกระบวนการจนเสร็จสิ้นภายหลังการรับ 
บ ริก า ร 24 ชั่ ว โ ม ง ( ที่ ม า ข อ ง ข้ อ มูล ไ ด้จ า ก ก ลุ่ ม บ ริห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง , 
กลุ่มสารสนเทศและกลุ่มประกันคุณภาพบริการ) 
ผลลัพธ์การดูแลผปู้่วยทางคลนิิก (อัตราต่อหมนื่) 
รายการอุบัติการณ์ 
ราชวิทยา 
ลัยฯ 
(THAI 
Study) 
(2548) 
ผลการดา เนินงาน(อัตราต่อหมื่น) 
เป้าหม 
าย 
พ.ศ.2 
553 
พ.ศ.2 
554 
พ.ศ.2 
555 
1. Cardiac arrest 
30.8 < 
30.8 
36.2 31.7 22.7 
2. Death 28.3 < 23.9 22.5 15.5
17 
รายการอุบัติการณ์ 
ราชวิทยา 
ลัยฯ 
(THAI 
Study) 
(2548) 
ผลการดา เนินงาน(อัตราต่อหมื่น) 
เป้าหม 
าย 
พ.ศ.2 
553 
พ.ศ.2 
554 
พ.ศ.2 
555 
28.2 
3. Aspiration 2.7 < 2.7 7.5 4.4 7.3 
4. Drug error 
1.3 < 
10.0 
12.3 8.5 5.0 
5. Hypothermia(severe) 
Non 
reported 
0 0.7 0 0.6 
6. Equipment malfunction/ 
failure 
3.4 < 3.4 6.8 4.9 2.8 
7. Nerve injury 2.0 < 2.0 1.4 1.8 2.2 
8. Esophageal intubation 4.1 < 4.1 1.1 1.0 0 
9. ความปลอดภัยของผู้ป่วย/ ตก/ 
ล้ม 
Non 
reported 
0 0 0.6 0.6 
10. Mismatch transfusion 0.2 0 1.4 0.6 0 
11. Reintubation 
19.4 < 
19.4 
16.9 12.6 18.3 
12. Nausea/Vomiting (severe) 
Non 
reported 
35 38.2 34.7 32.6 
13. Accidental extubation 
Non 
reported 
ยังไม่ไ 
ด้กาห 
นด 
7.0 3.6 5.0 
14. Dental injuries 
Non 
reported 
12 17.1 15.0 17.0 
15. Awareness 3.8 < 3.8 1.7 2.3 1.4
18 
3) Patient Perception Indicator หมายถึง 
ตัวชี้วัดความเข้าใจในการให้บริการ 
การมีส่วนร่วมในการเลือกทางเลือกทางวิสัญญีและความพึงพอใจของผปู้่วย 
กระบวนการที่สาคัญ 
(ตัวชี้วัดผลการดาเนินงาน) 
ร้อยละผลการดาเนินการ (พ.ศ.) 
เป้าหม 
าย 
พ.ศ.2 
553 
พ.ศ.2 
554 
พ.ศ.25 
55 
- 
อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยที่ได้รับบริการ 
วิสัญญี 
> 85 98 99.2 99.7 
- 
ร้อยละความพึงพอใจของผู้ป่วยที่ได้รับบริกา 
ร APS 
> 85 99.5 98.8 99.4 
- 
ร้อยละของความพึงพอใจของบุคลากรที่มารั 
บบริการวิสัญญี 
> 75 Non 
report 
ed 
Non 
report 
ed 
79.9 
4. กระบวนการหรอืระบบงานเพอื่บรรลุเป้าหมายและมีคณุภาพ 
4.1 
ระบบงานทใี่ชอ้ยปู่จัจุบนัเพอื่ให้เปน็ไปตามสงิ่ทคี่าดหวังและปอ้งกันความเสยี่งสา คั 
ญในแต่ละกระบวนการ 
(รวมทงั้งานพัฒนาคุณภาพทเี่สรจ็สนิ้แล้ว) ใช้แนวคิดของมาตรฐาน HA 
เป็นกรอบในการวางระบบประกันคุณภาพบริการ 
โดยมิติของกระบวนการพัฒนาใช้หลักแนวคิด 3Cได้แก่ บริบทของวิสัญญี 
(context), มาตรฐานของวิชาชีพวิสัญญี (criteria/ standard) และ หลักคิดสาคัญ 
(core value & concepts) 
มาเป็นกรอบในการพัฒนากระบวนการ/กิจกรรมคุณภาพ 
และควบคุมคุณภาพโดยใช้วงจร PDSA (Deming Cycle) 
เกิดกระบวนการเรียนรภู้ายในกลุ่มงาน 
ใช้วิธีแลกเปลี่ยนเรียนรซูึ้่งจัดอย่างสม่าเสมอเดือนละ1 ครั้ง/กลุ่ม
19 
และนามาเรียนรู้ร่วมกันทั้งหน่วยงาน ปีละ3 ครั้ง/กลุ่ม มีการสื่อสารโดย website 
ของภาควิชาฯ, E-mail และบอร์ดประชาสัมพันธ์ เป็นต้น 
ติดตามผลลัพธ์ทางคลินิกเพื่อค้นหาภาวะแทรกซ้อนที่วิสัญญีมีส่วนเกี่ยวข้อง 
(incidence related to anesthesia) โด ยก าร ติด ต ามเยี่ยม ห ลังผ่าตัด ใน 24 
ชั่วโมง และปฏิบัติตามแนวทางการรายงานอุบัติการณ์ที่กาหนด นามาทบทวนทุก 
สัป ด าห์ใ น กิจ กร ร ม M&M Conferences เพื่อ ร่ว ม กัน ป รับ ป รุง ก าร บ ริก า ร 
ตัวอย่างอุบัติการณ์ที่เกิดขึ้นและมีการพัฒนาแนวทางปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยจ 
นสามารถลดอุบัติการณ์ลงได้มาก เช่น Nausea/Vomiting (severe) และ drug 
error เป็นต้น 
ผลการดา เนินกิจกรรมคณุภาพ ได้แก่ 
1) มีการกาหนดตัวชี้วัดผลลัพธ์ (key performance indicators: KPI) 
ในแต่ละกลุ่มงานที่ชัดเจน 
โดยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการวิสัญญีดูแลรับผิดชอบ 
มีเป้าหมายของการทางาน และสามารถทางานได้ตรงตามเป้าหมาย 
2) มีการจัดทา MM conference นาเสนอกรณีศึกษาใหม่ 
องค์ความรู้ใหม่อย่างสม่าเสมอจนเป็นวัฒนธรรมการเรียนรรู้่วมกันในทุกระ 
ดับที่เกี่ยวข้อง 
3) มีระบบการบริหารความเสี่ยงที่ดี มีการจัดทา clinical practice guideline 
ใหม่ ตามภาวะไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นเป็นปัญหาเรียงตามความสาคัญ 
โดยผ่านที่ประชุมภาควิชา เช่น 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับเลือดปริมาณมาก แนวทางการให้ยา เป็นต้น 
เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย และทบทวนที่มีอยู่แล้วอย่างสม่าเสมอ 
4) มีการจัดทีมเฉพาะทางวิสัญญีเพื่อรับผิดชอบผู้ป่วยเฉพาะทางมากขึ้น เช่น 
ทีมระงับความรสูึ้กผู้ป่วยปลูกถ่ายอวัยวะ ทีมระงับความรู้สึกผู้ป่วยโรคหัวใจ 
เป็นต้น มีการจัดทาแนวปฏิบัติที่เหมาะสมและทันสมัย 
5) มี ก า ร น า เ ค รื่ อ ง มื อ Lean ม า ใ ช้ ใ น ก า ร พั ฒ น า ง า น 
โดยร่วมมือกับฝ่ายพัฒนาคุณภาพจัดอบรม วันอาทิตย์ที่ 27 มีนาคม 2554 
แ ล ะ ว า ง แ ผ น ใ ห้ มีกิ จ ก ร ร ม / โ ค ร ง ก า ร ที่ ใ ช้ เค รื่ อ ง มือ Lean 4 
โครงการซึ่งอยู่ระหว่างดาเนินการ 
4.2 การพัฒนาคณุภาพทอี่ยรู่ะหว่างดา เนินการ 
- จั ด ตั้ ง PCT เ พื่ อ ป ร ะ ส า น กั บ CLTต่ า ง ๆ
ในการจัดการความเสี่ยงที่สาคัญด้านคลินิก เช่น PCT ศัลยกรรม, สูติ-นรีเวช, 
อ อ ร์ โ ธ ปิ ดิ ก ส์ ห รื อ ศั ล ย ก ร ร ม เ ด็ ก เ ป็ น ต้ น 
โดยเน้นการดูแลผู้ป่วยภายใต้กรอบแนวคิด Patient Safety: SIMPLE (Safe 
Surgery) ให้เกิดผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมมากขึ้น 
20 
- 
ติดตามการควบคุมการประกันกระบวนการดูแลทางคลินิกโดยกรรมการพัฒนาคุณ 
ภาพบริการ ที่มีหัวหน้ากลุ่มต่างๆเป็นสมาชิก ร่วมหารือทุกเดือน 
- วางแผนพัฒนาระบบยา 
- นาเครื่องมือ Lean มาใช้พัฒนางานตามนโยบายของโรงพยาบาล 
- 
พัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพสูงขึ้นเพื่อตอบสนองพันธกิจและยุทธศาสตร์ของคณะ 
ฯ 
5. แผนพัฒนาต่อเนอื่ง 
- เ พิ่ ม จ า น ว น กิจ ก ร ร ม /โ ค ร ง ก า ร ที่ มี ก า ร ใ ช้ R2R แ ล ะ Lean 
เป็นเครื่องมือช่วยในการพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับการแก้ปัญหางานประจา 
- 
พัฒนาบุคลากรให้สามารถใช้ระบบสารสนเทศเป็นเครอื่งมือเรียนรู้มากขึ้นในทุกระ 
ดับ 
- พัฒ น า รูป แ บ บ ก า ร จัด ก า ร ค ว า ม รู้ใ ห้มีค ว า ม ชัด เ จ น ม า ก ขึ้ น 
โดยบูรณาการเข้ากับอุบัติการณ์ทางคลินิกที่ยังมีแนวโน้มสูง เช่น Aspiration, 
Drug Error เป็นต้น 
- 
พัฒนาทรัพยากรบุคคลเพื่อรองรับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีต่างๆในผ่าตัด 
เ ช่ น ที ม ร ะ งับ ค ว า ม รู้ สึ ก ผู้ ป่ ว ย ท า ผ่า ตั ด Liver Transplantation 
โดยถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ พร้อมทั้งเป็นพี่เลี้ยงให้บุคลากรอื่นในทีม 
และจัดทาแนวทางการผ่าตัดการระงับความรู้สึกผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนตับ 
- พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้ก้าวหน้าทางวิชาชีพ

Contenu connexe

Tendances

Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Chutchavarn Wongsaree
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ pueniiz
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวนSuradet Sriangkoon
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนLesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนAphisit Aunbusdumberdor
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009taem
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationNarenthorn EMS Center
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPrachaya Sriswang
 
NQA application report writing
NQA application report  writingNQA application report  writing
NQA application report writingChutikarn Haruthai
 

Tendances (20)

Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)
Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53) Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)
Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)
 
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
4.6 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสุตร
4.6 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสุตร4.6 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสุตร
4.6 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสุตร
 
ppt 2-8
ppt 2-8ppt 2-8
ppt 2-8
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหารเกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
Warning sign iicp
Warning sign iicpWarning sign iicp
Warning sign iicp
 
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนLesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
Septic Shock
Septic ShockSeptic Shock
Septic Shock
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
Kanniga 31 jan
Kanniga 31 janKanniga 31 jan
Kanniga 31 jan
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
Laboratory Testing
Laboratory TestingLaboratory Testing
Laboratory Testing
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 
NQA application report writing
NQA application report  writingNQA application report  writing
NQA application report writing
 
5.การประเมินบุคคล
5.การประเมินบุคคล5.การประเมินบุคคล
5.การประเมินบุคคล
 

En vedette

ผลงาน Cqi ประกัน
ผลงาน Cqi ประกันผลงาน Cqi ประกัน
ผลงาน Cqi ประกันAiman Sadeeyamu
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อระงับความรู้สึก
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อระงับความรู้สึกการเตรียมผู้ป่วยเพื่อระงับความรู้สึก
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อระงับความรู้สึกtechno UCH
 
04.การกระจายเชื้อเพลิงในต่างประเทศ
04.การกระจายเชื้อเพลิงในต่างประเทศ04.การกระจายเชื้อเพลิงในต่างประเทศ
04.การกระจายเชื้อเพลิงในต่างประเทศKobwit Piriyawat
 
Why should healthcare professionals care about social media?
Why should healthcare professionals care about social media?Why should healthcare professionals care about social media?
Why should healthcare professionals care about social media?Innovation Agency
 
Non-Specialized File Format Extension
Non-Specialized File Format ExtensionNon-Specialized File Format Extension
Non-Specialized File Format ExtensionCSCJournals
 
คู่มือการนิเทศ
คู่มือการนิเทศคู่มือการนิเทศ
คู่มือการนิเทศKrueed Huaybong
 
Wellness at Dartmouth_asessment and recommendations
Wellness at Dartmouth_asessment and recommendationsWellness at Dartmouth_asessment and recommendations
Wellness at Dartmouth_asessment and recommendationsBoyd Lever
 
2б космос
2б космос2б космос
2б космосZoyaSGT
 
Evaluation
EvaluationEvaluation
EvaluationHuntwah
 

En vedette (19)

ผลงาน Cqi ประกัน
ผลงาน Cqi ประกันผลงาน Cqi ประกัน
ผลงาน Cqi ประกัน
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator
 
The Incidence of Critical Risks of Anesthesia Related Complication in Srinaga...
The Incidence of Critical Risks of Anesthesia Related Complication in Srinaga...The Incidence of Critical Risks of Anesthesia Related Complication in Srinaga...
The Incidence of Critical Risks of Anesthesia Related Complication in Srinaga...
 
Safe Anesthesia Care in Anesth.KKU, Khon Kaen, Thailand.
Safe Anesthesia Care in Anesth.KKU, Khon Kaen, Thailand. Safe Anesthesia Care in Anesth.KKU, Khon Kaen, Thailand.
Safe Anesthesia Care in Anesth.KKU, Khon Kaen, Thailand.
 
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อระงับความรู้สึก
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อระงับความรู้สึกการเตรียมผู้ป่วยเพื่อระงับความรู้สึก
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อระงับความรู้สึก
 
PACU
PACUPACU
PACU
 
06 regression
06 regression06 regression
06 regression
 
Oncology harris
Oncology harrisOncology harris
Oncology harris
 
04.การกระจายเชื้อเพลิงในต่างประเทศ
04.การกระจายเชื้อเพลิงในต่างประเทศ04.การกระจายเชื้อเพลิงในต่างประเทศ
04.การกระจายเชื้อเพลิงในต่างประเทศ
 
HWU certificate
HWU certificateHWU certificate
HWU certificate
 
Why should healthcare professionals care about social media?
Why should healthcare professionals care about social media?Why should healthcare professionals care about social media?
Why should healthcare professionals care about social media?
 
Non-Specialized File Format Extension
Non-Specialized File Format ExtensionNon-Specialized File Format Extension
Non-Specialized File Format Extension
 
คู่มือการนิเทศ
คู่มือการนิเทศคู่มือการนิเทศ
คู่มือการนิเทศ
 
Wellness at Dartmouth_asessment and recommendations
Wellness at Dartmouth_asessment and recommendationsWellness at Dartmouth_asessment and recommendations
Wellness at Dartmouth_asessment and recommendations
 
Cine
CineCine
Cine
 
2б космос
2б космос2б космос
2б космос
 
Evaluation
EvaluationEvaluation
Evaluation
 

Similaire à (16 มิ.ย. 56) service profile update

Ambulatory care sensitive conditions
Ambulatory care sensitive conditionsAmbulatory care sensitive conditions
Ambulatory care sensitive conditionsNeung Arnat
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1taem
 
Clinical tracer highlight 2013
Clinical tracer highlight 2013Clinical tracer highlight 2013
Clinical tracer highlight 2013Warunee Eauchai
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินtaem
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานVorawut Wongumpornpinit
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3taem
 
โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56Met Namchu
 
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryClinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryClinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryUtai Sukviwatsirikul
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf60941
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfKrongdai Unhasuta
 

Similaire à (16 มิ.ย. 56) service profile update (20)

(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
 
TRAUMA SYSTEM.pdf
TRAUMA SYSTEM.pdfTRAUMA SYSTEM.pdf
TRAUMA SYSTEM.pdf
 
TRAUMA SYSTEM.pdf
TRAUMA SYSTEM.pdfTRAUMA SYSTEM.pdf
TRAUMA SYSTEM.pdf
 
Ambulatory care sensitive conditions
Ambulatory care sensitive conditionsAmbulatory care sensitive conditions
Ambulatory care sensitive conditions
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
 
Clinical tracer highlight 2013
Clinical tracer highlight 2013Clinical tracer highlight 2013
Clinical tracer highlight 2013
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
 
K kn การประชุมmt_nhso
K kn การประชุมmt_nhsoK kn การประชุมmt_nhso
K kn การประชุมmt_nhso
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 
โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56
 
IT and Data Management in ER
IT and Data Management in ERIT and Data Management in ER
IT and Data Management in ER
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
 
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryClinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
 
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryClinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
 

(16 มิ.ย. 56) service profile update

  • 1. 1 Service Profile งานบริการวิสัญญี โรงพยาบาลศรีนครินทร์ (1 มกราคม พ.ศ. 2553 – 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555) (ชุด update 16 มิถุนายน 2556) จัดทาโดย คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ งานบริการวิสัญญี
  • 2. 2 ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (มิถุนายน, 2556) Service Profile งานบริการวิสัญญี โรงพยาบาลศรีนครินทร์ ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสต ร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (1 มกราคม พ.ศ. 2553 – 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555) 1. บริบท ก. หน้าทแี่ละเปา้หมาย งานบริการวิสัญญีเป็นงานที่ให้บริการระงับความรู้สึกแก่ผู้ป่วยในโรงพยาบ า ล ศ รี น ค ริ น ท ร์ ซึ่ ง เ ป็ น ส ถ า น พ ย า บ า ล โ ร ง เ รี ย น แ พ ท ย์ ที่ มี ศั ก ย ภ า พ ใ น ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ร ะ ดั บ ต ติ ย ภู มิ มีเป้าห ม า ย ใ ห้ผู้ป่ว ย ไ ด้รับ บ ริก าร ที่ ได้คุณ ภ าพ ต า ม ม า ต ร ฐ าน วิช าชีพ เพื่อความปลอดภัยและพึงพอใจของผู้ป่วยและผู้รับบริการ โดย 1. ให้บริการระงับความรู้สึกตามมาตรฐานวิชาชีพที่ครอบคลุมทุกขั้นตอนโ ดยเน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง 2. วางแผนและประสานงานในทีมบริการที่เกี่ยวข้อง 3. ลดอุบัติการณ์/ความเสี่ยงทางวิสัญญีโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ 4. วิเคราะห์ความต้องการกลมุ่ผู้รับบริการทั้งภายในและภายนอกเพื่อเพิ่มค วามพึงพอใจ 5. พัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มศักยภาพในการให้บริการแก่ผู้ป่วย 6. ป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วย เจ้าหน้าที่และสิ่งแวดล้อม 7. สนับสนุนเทคนิคบริการที่เอื้อต่อการเรียนการสอนและการวิจัย ข. ขอบเขต บริการ ง าน บ ริก า ร วิสัญ ญี ภ า ค วิช า วิสัญ ญี วิท ย า ค ณ ะ แ พ ท ย ศ า ส ต ร์ มห าวิท ยา ลัย ขอ นแ ก่น ให้การ บริกา รระ งับค วา มรู้สึกผู้ป่วย ใน ห้อ งผ่าตัด และห้องผ่าตัดคลอดของโรงพยาบาลศรีนครินทร์ ทั้งในเวลาและนอกเวลาราชการ มีการเปิดให้บริการเพิ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2555 จานวน 3 ห้องผ่าตัด ได้แก่ ห้องผ่าตัด 13 (ในเดือนกรกฎาคม) ห้องผ่าตัดส่องกล้อง (ในเดือนตุลาคม) และห้องผ่าตัด 12
  • 3. (ในเดือนพฤศจิกายน) รวมทั้งหมด 24 ห้อง ปริมาณผู้ป่วยที่เข้ารับบริการวิสัญญีปี พ .ศ . 2553-2555 มีจ า น ว น 14645, 16425 แ ล ะ 18082 ร า ย ต า ม ล า ดับ (รายงานสถิติงาน บริการ ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณ ะแพท ยศาสต ร์, 2555) เ พิ่ ม ม า ก ขึ้ น เ ฉ ลี่ ย ร้ อ ย ล ะ 11 ต่ อ ปี ปริมาณผู้ป่วยที่ได้รับการประเมินความเสี่ยงทางวิสัญญีต าม The American Society of Anesthesiologists (ASA) Physical Status (PS) ระดับ 3 ขึ้นไ ป เ ฉ ลี่ ย 2500 ร า ย ต่ อ ปี แ ล ะ มี แ น ว โ น้ ม สู ง ขึ้ น ซึ่ ง ใ น ปี พ . ศ . 2555 พบกลุ่มผู้ป่วยที่มีโรค ที่มีผลในการระงับความรู้สึก เช่น โรคเกี่ยวกับไต ตับ แ ล ะ หั ว ใ จ ม า ก ถึ ง ร้ อ ย ล ะ 56.6 ข อ ง ผู้ป่ ว ย ที่ เ ข้ า รั บ ก า ร ผ่า ตั ด (ร า ย ง าน ส ถิติง าน บ ริก า ร ภ า ค วิช า วิสัญ ญี วิท ย า ค ณ ะ แ พ ท ย ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ข อ น แ ก่ น , 2555) จานวนบุคลากร ที่ให้บ ริการประก อบด้วย วิสัญญีแ พทย์จ านวน 23 ค น ค น วิ สั ญ ญี พ ย า บ า ล 58 ค น แ ล ะ เ จ้ า ห น้ า ที่ อื่ น จ า น ว น 1 5 ค น มีพ ย า บ า ล อ ยู่ ร ะ ห ว่า ง ฝึก อ บ ร ม วิสัญ ญี พ ย า บ า ล อีก จ า น ว น 1 1 ค น มีเครื่องมือตามเกณฑ์มาตรฐานที่ราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทยกาห นด มีศักยภาพในการให้บริการหัต ถการผ่าตัดที่ยุ่งยากซับซ้อนและเฉพาะทาง ที่ โ ร ง พ ย า บ า ล ทั่ ว ไ ป ไ ม่ส า ม า ร ถ ท า ไ ด้ ไ ด้ แ ก่ ศัล ย ก ร ร ม ท ร ว ง อ ก หัวใจและหลอดเลือด เช่น Open Heart Surgery CABG การผ่าตัดปอด เป็นต้น รวมถึงการ ผ่าตัดป ลูกถ่าย อวัยวะ เช่น Kidney Transplantation และ Liver Transplantation เป็นต้น ภาระงานดูแลผู้ป่วยครอบคลุมตั้งแต่ระยะก่อนผ่าตัด โดย สาหรับ elective case จัดให้มีการตรวจเยี่ยมประเมินผู้ป่วยล่วงหน้าก่อนผ่าตัด 1 วัน ส่วนในกรณี emergency case มี ก า ร ป ร ะ เ มิ น ทั น ที เ มื่ อ มี ก า ร เ ซ็ ท ผ่ า ตั ด เ พื่ อ ค้ น ห า แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม เ สี่ ย ง ประกอบการวางแผนในการดูแลผู้ป่วยแต่ละรายก่อนเริ่มให้บริการระงับความรู้สึก ใ ห้ ข้ อ มู ล ที่ จ า เ ป็ น ที่ เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ร ะ งับ ค ว า ม รู้ สึ ก แ ก่ ผู้ป่ ว ย ให้ผู้ป่วย/ญาติมีส่วนร่วมในการเลือกเทคนิคและรับทราบความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ใ ห้ ก า ร ดูแ ล ช่ ว ย เ ห ลือ แ ล ะ บัน ทึก ข้ อ มูล ร ะ ห ว่า ง ผ่า ตัด ข ณ ะ ผ่า ตั ด ห ลั ง ผ่ า ตั ด ร ะ ย ะ แ ร ก ที่ ห้ อ ง พั ก ฟื้ น แ ล ะ ส่ ง ก ลั บ ห อ ผู้ ป่ ว ย ห รื อ ห อ ผู้ ป่ ว ย วิ ก ฤ ติ ก ร ณี จ า เ ป็ น โ ด ย มี ก า ร ส่ ง ต่ อ ข้ อ มูล ที่ ส า คัญ ใ น ก า ร ดู แ ล ผู้ป่ ว ย อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง 3
  • 4. แ ล ะติด ต าม เยี่ย ม ป ร ะ เมิน ภ า ว ะแ ท ร ก ซ้อ น ท า ง วิสัญ ญีวิท ย า ภ าย ใ น 24 ชั่วโมงหลังผ่าตัด ตลอดจนติดต ามดูแลแก้ไขภาวะแทรกซ้อนที่พบภายใน 48 ชั่ ว โ ม ง ห ลั ง ผ่า ตั ด (Safe Anesthesia Care in Srinagarind Hospital. ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2553) 4 ภาพกรอบแนวคิดการควบคุมคุณภาพบริการวิสัญญี Safe Anesthesia Care in Srinagarind Hosp. Daily Work & Quality Activities) 4. Post-0p visit & APS 3. PACU 1. Pre-op visit (Initial Assessment) Preanesthesia Quality Improvement OFI Identification Anes.complication, Outcome indicator 2. Intra-operative Care Perioperative • Monitoring& Evaluation • CPG • Quality manual • Consultation • Innovation Post anesthesia • Qualified personel • Qualified equipment • Quality manual • Consultation • Investigation & • Planning Team) CQI • KM, R2R, EBM • Conclusion, • Communication • Share & Learn M&M • CPG • Quality manual • Consultation Daily quality review (repeat) (งานบริการวิสัญญี โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2553) ค. ผรูั้บผลงานและความตอ้งการทสี่า คัญ (จาแนกตามกลุ่มผู้รับผลงาน) ความต้องการของผรู้บับรกิาร (External customer) ผู้ป่วยและญาติ 1. ได้รับบริการระงับความรสูึ้กที่ปลอดภัยได้มาตรฐาน ซึ่งรองรับการผ่าตัดที่ยากและซับซ้อน 2. ได้รับคาแนะนาเกี่ยวกับขั้นตอนการระงบัความรสูึ้กและการปฏิบัติตัวทั้ง
  • 5. ก่อนและหลังรับบริการและมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเลือกเทคนิคการระงับความรู้ สึก 5 3. พบปะพูดคุยกับเจ้าหน้าที่เพื่อรับทราบข้อมูลและซักถามข้อข้องใจ ความต้องการของผรู้ว่มงานในโรงพยาบาล (Internal customer) แพทย์ผ่าตดั 1. มีการประเมินผู้ป่วยบนพื้นฐานของหลักวิชาอย่างละเอียดรอบคอบ 2. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีการประสานงานในทีมที่มีประสิทธิภาพ 3. มีความรู้และทักษะในการให้บริการที่ดี มีการพัฒนาความรู้อยู่อย่างสม่าเสมอ 4. มีความเข้าใจในหัตถการของแพทย์ผ่าตัดและสามารถให้บริการที่สอดค ล้องทาให้การผ่าตัดดาเนินไปด้วยความราบรนื่ 5. มีการตัดสินใจที่รวดเร็ว แม่นยา และรอบคอบเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย 6. มีการวิเคราะห์ความต้องการของแพทย์ผ่าตัดเพื่อนามาปรับปรุงและพัฒ นางานบริการ 7. มีอุปกรณ์, เครื่องมือต่าง ๆ ที่มีประสิทธิภาพเชื่อถือได้และพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา หอผปู้่วยและหน่วยงานทเี่กยี่วข้อง 1. มีการติดต่อประสานงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีการบันทึกและส่งต่อข้อมูลที่เชื่อถือได้ 2. นาผู้ป่วยส่งกลับหอผู้ป่วยอย่างปลอดภัย พยาบาลห้องผ่าตดั 1. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีน้าใจช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการปฏิบัติงาน 2. วางแผนร่วมกันก่อนเริ่มการผ่าตัดเพื่อความราบรนื่ในการปฏิบัติงาน เช่น ให้ความร่วมมือในการทา surgical safety checklist 3. ให้ความร่วมมือรักษาเครื่องมือเครื่องใช้ให้สะอาดปราศจากเชอื้โรค 4. ช่วยรับผิดชอบในอุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกัน เช่น suction ไม้รองแขน เป็นต้น ง. ประเด็นคุณภาพทสี่า คัญ
  • 6. 6 1. ให้บริการวิสัญญีที่มีการควบคุมมาตรฐานด้วยระบบประกันคุณภาพที่ครอบคลุมทุก ขั้นตอน มีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง 2. ให้บริการโดยเน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ผู้ป่วยทุกรายมีสิทธิเท่าเทียมกันในการได้รับบริการวิสัญญีที่ได้มาตรฐานแห่งวิชา ชีพ 3. ผู้ป่วย/ญาติมีการรับทราบข้อมูลและมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเลือกเทคนิคการระงั บความรู้สึกบนพื้นฐานความปลอดภัย 4. บุคลากรผู้ปฏิบัติงานพัฒนาตนเองให้มีความรคู้วามสามารถที่ทันสมัยอยู่เสมอ 5. ค้นหาความเสี่ยงและลดอุบัติการณ์ที่เกิดจากบริการวิสัญญี จ. ความท้าทาย ความเสยี่งทสี่า คญั จุดเน้นในการพัฒนา ความท้าทาย ความเสี่ยงที่ สาคัญ จุดเน้นในการพัฒนา 1. เป็นโรงพยาบาลโรงเรีย นแพทย์ที่มีศักยภาพบริ การแบบตติยภูมิ ประเภทของผู้ป่วยมีควา มซับซ้อนของโรคและมี ความยากในการดูแลรัก ษาจึงต้องมีการ - พัฒนาคน - พัฒนาระบบ - พัฒนากระบวนการ - ความผิดพลา ดในการประเ มินความเสี่ยง และการดูแล - การส่งต่อข้อมู ลไม่สมบูรณ์ - การประสานง านบกพร่อง - การฟ้องร้อง - พัฒนาบุคลากรเฉพาะทางเพื่อรองรับคว ามยากของงานและลดความเสี่ยง ข้อขัดแย้งในการประสานในทีม เช่น ทีม kidney transplantation และ liver transplantation เป็นต้น - เน้นด้านความปลอดภัยของผู้ป่วยโดยมี ระบบบริหารความเสี่ยงและการประกันคุ ณภาพบริการ - มีการประเมินผู้ป่วยร่วมกันในทีมสหสา ขา และมีระบบการปรึกษาเฉพาะทาง เช่น การขอคาปรึกษาทีม cardio-med หรือทีมดูแลความปวดเมื่อพบปัญหาใน การดูแล, พัฒนาร่วมกับ CLT ต่างๆผ่านผู้ประสานเพื่อลดความเสยี่งตา
  • 7. 7 ความท้าทาย ความเสี่ยงที่ สาคัญ จุดเน้นในการพัฒนา มแนวคิด Thai Patient Safety Goals : SIMPLE - พัฒนาระบบการติดต่อสื่อสารภายในทีม ผู้ให้บริการ ผ่านทีมบริหารความเสี่ยง, กลุ่มงานประกันคุณภาพ และสร้างทีมประสานแต่ละ PCT/CLT เพิ่มเติมขึ้น เพื่อแก้ปัญหาได้ตรงประเด็นมากขึ้น - ติดตามภาวะแทรกซ้อนที่สาคัญโดยกรร มการบริหารความเสี่ยง และร่วมอบรมหลักสูตรการเจรจาไกล่เก ลี่ยกับทีมบริหารความเสี่ยงของโรงพยา บาลเพื่อดูแลบริหารจัดการความเสี่ยงเบื้ องต้นที่เกิดภายในองค์กร 2. Excellent Center ด้าน การปลูกถ่ายอวัยวะ ได้แก่ Renal Transplantation และ Liver Transplantation เป็นต้น - ขาดความรู้ ความชานาญ ของทีมงานเฉ พาะทาง - พัฒนาบุคลากรกลุ่มงานที่มีความเฉพา ะ ได้แก่ทีมระงับความรสูึ้กการผา่ตัดเปลยี่ นไตและเปลยี่นตับ เช่น การเข้าร่วมอบรม ทบทวนความรู้การผ่าตัดไต - อบรม ดูงานเพื่อเพิ่มศักยภาพเช่นการส่งบุคล ากรร่วมดูงาน liver transplantation ณ ประเทศญี่ปุ่นและออสเตรเลีย - ทบทวนแนวทางการระงับความรสูึ้กผู้ป่ วยผ่าตัดปลูกถ่ายไตที่จัดทาและปรับปรุ ง - จัดทีมผู้ชานาญเฉพาะทางกากับการดู
  • 8. 8 ความท้าทาย ความเสี่ยงที่ สาคัญ จุดเน้นในการพัฒนา แลผู้ป่วย 3.ให้บริการนอกสถานที่ เช่น การทาการวินิจฉัยด้วย Angiogram และ MRI เป็นต้น - ความไม่พร้อม ไม่ชานาญขอ งทีมผู้ช่วยเหลื อหากมีกรณีฉุ กเฉิน - วางระบบการบริหารจัดการงานบริการ นอกสถานที่ โดยให้มีผู้รับผิดชอบประจา - ดูแลจัดอุปกรณ์ที่สาคัญสมบูรณ์พร้อมใ ช้ตลอดเวลา - จัดให้มีทีมชานาญเฉพาะเพื่อลดความเ สี่ยง - มีระบบขอความช่วยเหลือด่วนผ่านวิทยุ ติดตามตัว ฉ. ปริมาณงานและทรัพยากร(คน เทคโนโลยี เครอื่งมือ) ปริมาณงาน จานวนผู้ป่วย พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 จานวนผู้ป่วยทั้งหมด (รวม) 14,645 16,425 18,082 - ผู้ป่วยใน :ราย (ร้อยละ) 14,147 (96.6) 15,751 (95.9) 17,200 (95.2%) - ผู้ป่วยนอก :ราย (ร้อยละ) 268 (1.8) 452 (2.8) 678 (3.7) - ไม่ระบุ :ราย (ร้อยละ) 230 (1.6) 222 (1.3) 204 (1.1%) ประเภทผู้ป่วย - Elective :ราย (ร้อยละ) 11,270 (77.0) 12,957 (78.9) 14,231(78.7) - Emergency :ราย (ร้อยละ) 3,307 (22.6) 3,417 (20.8) 3,791 (21.0) - ไม่ระบุ :ราย (ร้อยละ) 68 (0.4) 51 (0.3) 60 (0.3) - มี Underlying disease 55.2 56.6 56.6
  • 9. 9 (ร้อยละ) -ไม่มี Underlying disease (ร้อยละ) 44.8 43.4 43.4 ประเภทการระงับความรสูึ้ก - Regional Anesthesia (RA) 2,661 (18.2) 2,770 (16.9) 2,968 (16.4) - General Anesthesia (GA) 10,710 (73.1) 12,290 (74.8) 13,480 (74.5) - Combined GA& RA 952 (6.5) 1,011 (6.2) 1,224 (6.8) - MAC 312 (2.1) 338 (2.1) 400 (2.2) -ไม่ระบุ 10 (0.1) 16 (0.1) 10 (0.1) ทรัพยากรบุคคล จานวนบุคลากรกลุ่มต่าง ๆ พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 วิสัญญีแพทย์ 15 21 23 วิสัญญีพยาบาล 50 51 58 อยู่ระหว่างอบรมวิสัญญีพยาบาล 1 7 11 เจ้าหน้าที่สายสนับสนุนงานบริการ 13 14 15 เครอื่งมือ อุปกรณท์ใี่ช้ให้บรกิารทางวิสัญญี การจัดเครื่องมือและอุปกรณ์ (ตามเกณฑ์มาตรฐานของราชวทิยาลัยวิสัญญีแพทย์) พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 - เครื่องให้ยาสลบ 1 เครื่อง/ห้องผ่าตัด (มีเครื่องสารองใช้) มี มี มี - เครื่องช่วยหายใจ 1 เครื่อง/ห้องผ่าตัด (มีเครื่องสารองใช้) มี มี มี - อุปกรณ์เพื่อจัดการเปิดทางเดินหายใจตามมาตรฐาน (มีอุปกรณ์สารองใช้ มีรถเตรียมอุปกรณ์สาหรับ มี มี มี
  • 10. 10 การจัดเครื่องมือและอุปกรณ์ (ตามเกณฑ์มาตรฐานของราชวทิยาลัยวิสัญญีแพทย์) พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 difficult intubation) มีทุกห้องผ่าตัด - มี Fiberoptic bronchoscope สารองใช้ส่วนกลาง มี มี มี - มีอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพพร้อมใช้ มี มี มี (มีชุดยาสาหรับ CPR สารองใช้ 3 ตาแหน่งได้แก่ PACU1, PACU2 และ Supply) - มีเครื่อง suction ทุกห้องผ่าตัด มี มี มี - มีอุปกรณ์ในการติดตามอาการผู้ป่วย มี มีมี - มีเครื่องเป่าลมร้อนอย่างน้อย 1 เครื่องต่อ มี มี มี 1ห้องผ่าตัด 2. กระบวนการสา คัญ (Key Process) กระบวนก สิ่งที่คาดหวัง ารสาคัญ ความเสยี่งทสี่า คั ญ ตัวชี้วัดที่สาคัญ 1. การเตรีย มความพร้ อมของผู้ ป่วยและก ารวางแผ น - มีการประเมินก่อนเรมิ่ต้น ให้การระงับความรสูึ้กสา หรับผู้ป่วยแต่ละรายเพื่อ การค้นหาและป้องกันคว ามเสี่ยงโดยผู้มีคุณวุฒิ และวางแผนการระงับคว ามรู้สึกสาหรับผู้ป่วยแต่ล ะราย - ผู้ป่วยได้รับการ ประเมินไม่ครอบ คลุมประเด็นที่สา คัญ - กรณีรายที่วินิจฉั ยมีโรคซับซ้อนไ ม่ได้รับการปรึก ษาผู้ที่ชานาญก ว่าก่อนการผ่าตั ด - ขาดพยานบุคคล - เครื่องมือหรืออุป กรณ์มีปัญหาข ณะให้บริการ - อัตราผู้ป่วยได้รับการต รวจเยี่ยมและประเมินเพื่ อจัดแบ่งลาดับความสา คัญตามความเสี่ยง ASA ก่อนให้ยาระงับความรู้ สึก - อัตราผู้ป่วยหรือญาติผู้ ป่วยได้รับการให้ข้อมูล ก่อนให้ยาระงับความรู้ สึกและลงชื่อยินยอมใน ใบ informed consent - อัตราการตรวจสอบเครื่ องดมยาสลบและ monitor ก่อนให้บริการ
  • 11. 11 กระบวนก ารสาคัญ สิ่งที่คาดหวัง ความเสยี่งทสี่า คั ญ ตัวชี้วัดที่สาคัญ - เกิดสถานการณ์ ไม่เป็นตามแผน การดูแลที่วางไว้ - มีการอธิบายประเด็นเรอื่ งความเสี่ยงภาวะแทรกซ้ อนที่อาจเกิดขึ้นและทางเ ลือกในการระงับความรสูึ้ กให้แก่ผู้ป่วย ครอบครัว หรือผู้ที่ตัดสินใจแทนผู้ป่ วย - การเตรียมความพร้อมข องเครื่องมือ อุปกรณ์ และยาโดยวางแผนปรึก ษาภายในทีมและผู้ชานา ญกว่า 2. ให้การระ งับความรู้ สึก - ผู้ป่วยทุกรายได้รับการเ ฝ้าระวังระหว่างให้ยาระงั บความรู้สึกตามมาตรฐา น ASA - บุคลากรไม่ปฏิบั ติตามแนวทางที่ กาหนด - ร้อยละบุคลากรผู้ให้บริ การผ่านการอบรมและ มีคุณสมบัติตามมาตรฐ านราชวิทยาลัยวิสัญญี แพทย์แห่งประเทศไทย - มีการปฏิบัติตามแนวทาง การให้บริการวิสัญญีที่ สาคัญ - จานวนแนวทางปฏิบัติที่ สาคัญ - กระบวนการระงับความรู้ สึกเป็นไปอย่างราบรนื่แ ละปลอดภัยตามมาตรฐา - อัตราการเกิดอุบัติการ ณ์ขณะระงับความรสูึ้ก
  • 12. 12 กระบวนก ารสาคัญ สิ่งที่คาดหวัง ความเสยี่งทสี่า คั ญ ตัวชี้วัดที่สาคัญ นวิชาชีพ - วางแผนการให้ยาหรือเท คนิคระงับปวด - อัตราการติดตามและบั นทึกข้อมูลผู้ป่วยระหว่า งระงับความรสูึ้ก - อัตราการเกิดอุบัติการ ณ์ต่างๆ - ความสมบูรณ์ของการบั นทึก - ร้อยละความสมบูรณ์ ถูกต้องและครบถ้วนขอ งแบบบันทึก anesthetic record 3. การดูแลผู้ ป่วยในห้ องพักฟื้น( PACU) ดูแลความ ปวด และนาส่ง ผู้ป่วยไป ที่หอผู้ป่ว ย/กลับบ้า น - ผู้ป่วยได้รับการดูแลตาม มาตรฐาน และได้รับการดูแลความ ปวดที่เหมาะสม - ไม่ได้รับการประ เมินและให้การดู แลที่เหมาะสม - ภาวะแทรกซ้อน ในห้อง พักฟื้น เช่น desaturation, ความปลอดภัยข องผู้ป่วย ตกเตียง/ล้ม, accidental extubation, drug Error เป็นต้น - - ร้อยละของผู้ป่วยหลังผ่ าตัดที่ได้รับการดูแลตา มมาตรฐาน PACU - ร้อยละผู้ป่วยนอกได้รับ การประเมินก่อนจาหน่ ายโดย PADS>9 - ร้อยละการรายงานแพ ทย์ก่อนจาหน่ายผู้ป่วย นอก
  • 13. 13 กระบวนก ารสาคัญ สิ่งที่คาดหวัง ความเสยี่งทสี่า คั ญ ตัวชี้วัดที่สาคัญ การส่งต่อข้อมูล ผิดพลาด และไม่ครบถ้วน 4. ตรวจเยี่ย มผู้ป่วยห ลังผ่าตัด 24 ชม. เพื่อติดตา มการเกิด ภาวะแทร กซ้อนที่ สาคัญ (incident related to anesthe sia) - มีการติดตามภาวะแทรก ซ้อนที่เกิดจากบริการทา งวิสัญญี - ประเมินและบันทึ กภาวะแทรกซ้อ นได้ไม่ครบถ้วน ทุกราย - อัตราการได้รับการเยี่ย มหลังได้รับการระงับคว ามรู้สึก - บันทึกข้อมูลการให้บริกา รวิสัญญีอย่างครบถ้วน - บันทึกไม่ครบถ้ว นคลาดเคลื่อน ทาให้การนาข้อ มูลไปวิเคราะห์ผิ ดพลาด - ความสมบูรณ์ของการบั นทึกข้อมูลการเยี่ยม - ผู้ป่วยรับทราบข้อมูลการ ปฏิบัติตัวก่อนกลับบ้าน - ผู้ป่วยได้รับการดูแลต่อเ นื่องและพึงพอใจ - ความไม่พึงพอใ จการบริการ - เสี่ยงต่อการถูกฟ้ - อัตราความพึงพอใจขอ งผู้ป่วย ในบริการวิสัญญี - ข้อร้องเรียน
  • 14. 14 กระบวนก ารสาคัญ สิ่งที่คาดหวัง ความเสยี่งทสี่า คั ญ ตัวชี้วัดที่สาคัญ องร้อง 5. ให้บริการ ระงับปวด โดยหน่ว ยระงับปว ด - ผู้ป่วยได้รับทราบและมีส่ วนร่วมในการเลือกเทคนิ คการระงับปวดก่อนผ่าตั ด - ผู้ป่วยได้รับเทคนิคการร ะงับปวดอย่างเหมาะสม มีคุณภาพชีวิตที่ดีหลังผ่า ตัด - ผู้ป่วยได้รับบริก ารไม่ทั่วถึง - อัตราความพึงพอใจขอ งผู้ป่วยที่ได้รับบริการ APS > 85% - ผู้ป่วยได้รับการประเมินอ าการปวด (ตาม pain score) เกี่ยวกับระดับความรุนแร งและลักษณะความปวดอ ย่างต่อเนื่อง - ผู้ป่วยไม่ได้รับก ารดูแลระงับปวด ตามเกณฑ์ที่กาห นด - อัตราผู้ป่วยที่มีระดับคว ามปวดมาก (NRS>7) ก่อนส่งกลับหอผู้ป่วย < 5% - มีทีมระงับปวดเป็นผู้ให้บ ริการ สร้างความมั่นใจในการ ดูแล - มีภาวะแทรกซ้อ นรุนแรงจากเทค นิคการระงับปวด - จานวนผู้ป่วยที่เกิดภาว ะแทรกซ้อนที่รุนแรง 3. ตัวชวีั้ดผลการดาเนินงาน (Performance Indicator) ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน/การดาเนินงาน มี 3 ประเภท ได้แก่ 1) Process Indicator หมายถึง ตัวชี้วัดกระบวนการดูแลผู้ป่วยทางวิสัญญี กระบวนการที่สาคัญ (ตัวชี้วัดผลการดาเนินงาน) ผลการดาเนินการ (ร้อยละ) เป้าหมา ย พ.ศ.2 553 พ.ศ. 2554 พ.ศ.2 555
  • 15. 15 กระบวนการที่สาคัญ (ตัวชี้วัดผลการดาเนินงาน) ผลการดาเนินการ (ร้อยละ) เป้าหมา ย พ.ศ.2 553 พ.ศ. 2554 พ.ศ.2 555 1. การดูแลและประเมนิก่อนระงับความรสูึ้ก - ร้อยละผู้ป่วยได้รับการตรวจเยี่ยมและประเมินก่อ นให้ยาระงับความรู้สึก* 100 100 100 100 - ร้อยละผู้ป่วยได้รับการให้ข้อมูลก่อนให้ยาระงับค วามรู้สึกและลงชื่อรับทราบในใบ informed consent 100 100 100 100 - อัตราการตอบรับ consult จากวิสัญญีแพทย์ > 95 81 100 100 2. การดูแลขณะระงับความรสู้กึ - 100 100 100 100 ร้อยละบุคลากรผู้ให้บริการผ่านการอบรมและมีคุ ณสมบัติตามมาตรฐานราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์ แห่งประเทศไทย - ร้อยละความสมบูรณ์ ถูกต้องและครบถ้วนของแบบบันทึก anesthetic record > 80 86.8 96.1 97.2 3. การดูแลระยะพักฟนื้ - ร้อยละของผู้ป่วยหลังผ่าตัดที่ได้รับการดูแลตามม าตรฐาน PACU > 85 100 100 100 - ร้อยละผู้ป่วยนอกได้รับการประเมินก่อนจาหน่าย โดย PADS>9 > 85 100 99.2 99.5 - ร้อยละการรายงานแพทย์ก่อนจาหน่ายผู้ป่วยนอก > 85 100 89.4 89.4 - ร้อยละผู้ป่วยที่มีระดับความปวดมากมี NRS > 7 < 5 4.5 4.8 3.6
  • 16. 16 กระบวนการที่สาคัญ (ตัวชี้วัดผลการดาเนินงาน) ผลการดาเนินการ (ร้อยละ) เป้าหมา ย พ.ศ.2 553 พ.ศ. 2554 พ.ศ.2 555 (หลังผ่าตัดที่ห้องพักฟื้น) 4. การดูแลระยะหลงัผ่าตัดเพอื่ตดิตามภาวะแทรกซ้ อนและดูแลความปวดที่หอผปู้่วย - อัตราการได้รับการเยี่ยมหลังได้รับการระงับความ รู้สึก > 90 95 95 95.7 - ความสมบูรณ์ของการบันทึกข้อมูลการเยี่ยม > 95 NR 94.7 96.2 หมายเหตุ : * หมายถึง ผู้ป่วยที่มีรายชื่อในตารางผ่าตัด ก่อนเวลา 19.00 น. จะได้รับการเยี่ยมประเมินก่อนผ่าตัดที่หอผู้ป่วยล่วงหน้า 1 วัน และ ผู้ป่วยที่ set ผ่าตัด elective หลังเวลา 19.00 น. จะได้รับการประเมินก่อนให้ยาระงบัความรสูึ้กที่ห้องผ่าตัด และลงบันทึกในใบ Preanesthesia evaluation & preparation 2) Outcome Indicator ห ม า ย ถึ ง ตัวชี้วัดผลลัพธ์และภาวะแทรกซ้อนทางวิสัญญี (Complication of Anesthesia) ที่เกิดจากการให้บริการระงบัความรสูึ้กตามกระบวนการจนเสร็จสิ้นภายหลังการรับ บ ริก า ร 24 ชั่ ว โ ม ง ( ที่ ม า ข อ ง ข้ อ มูล ไ ด้จ า ก ก ลุ่ ม บ ริห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง , กลุ่มสารสนเทศและกลุ่มประกันคุณภาพบริการ) ผลลัพธ์การดูแลผปู้่วยทางคลนิิก (อัตราต่อหมนื่) รายการอุบัติการณ์ ราชวิทยา ลัยฯ (THAI Study) (2548) ผลการดา เนินงาน(อัตราต่อหมื่น) เป้าหม าย พ.ศ.2 553 พ.ศ.2 554 พ.ศ.2 555 1. Cardiac arrest 30.8 < 30.8 36.2 31.7 22.7 2. Death 28.3 < 23.9 22.5 15.5
  • 17. 17 รายการอุบัติการณ์ ราชวิทยา ลัยฯ (THAI Study) (2548) ผลการดา เนินงาน(อัตราต่อหมื่น) เป้าหม าย พ.ศ.2 553 พ.ศ.2 554 พ.ศ.2 555 28.2 3. Aspiration 2.7 < 2.7 7.5 4.4 7.3 4. Drug error 1.3 < 10.0 12.3 8.5 5.0 5. Hypothermia(severe) Non reported 0 0.7 0 0.6 6. Equipment malfunction/ failure 3.4 < 3.4 6.8 4.9 2.8 7. Nerve injury 2.0 < 2.0 1.4 1.8 2.2 8. Esophageal intubation 4.1 < 4.1 1.1 1.0 0 9. ความปลอดภัยของผู้ป่วย/ ตก/ ล้ม Non reported 0 0 0.6 0.6 10. Mismatch transfusion 0.2 0 1.4 0.6 0 11. Reintubation 19.4 < 19.4 16.9 12.6 18.3 12. Nausea/Vomiting (severe) Non reported 35 38.2 34.7 32.6 13. Accidental extubation Non reported ยังไม่ไ ด้กาห นด 7.0 3.6 5.0 14. Dental injuries Non reported 12 17.1 15.0 17.0 15. Awareness 3.8 < 3.8 1.7 2.3 1.4
  • 18. 18 3) Patient Perception Indicator หมายถึง ตัวชี้วัดความเข้าใจในการให้บริการ การมีส่วนร่วมในการเลือกทางเลือกทางวิสัญญีและความพึงพอใจของผปู้่วย กระบวนการที่สาคัญ (ตัวชี้วัดผลการดาเนินงาน) ร้อยละผลการดาเนินการ (พ.ศ.) เป้าหม าย พ.ศ.2 553 พ.ศ.2 554 พ.ศ.25 55 - อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยที่ได้รับบริการ วิสัญญี > 85 98 99.2 99.7 - ร้อยละความพึงพอใจของผู้ป่วยที่ได้รับบริกา ร APS > 85 99.5 98.8 99.4 - ร้อยละของความพึงพอใจของบุคลากรที่มารั บบริการวิสัญญี > 75 Non report ed Non report ed 79.9 4. กระบวนการหรอืระบบงานเพอื่บรรลุเป้าหมายและมีคณุภาพ 4.1 ระบบงานทใี่ชอ้ยปู่จัจุบนัเพอื่ให้เปน็ไปตามสงิ่ทคี่าดหวังและปอ้งกันความเสยี่งสา คั ญในแต่ละกระบวนการ (รวมทงั้งานพัฒนาคุณภาพทเี่สรจ็สนิ้แล้ว) ใช้แนวคิดของมาตรฐาน HA เป็นกรอบในการวางระบบประกันคุณภาพบริการ โดยมิติของกระบวนการพัฒนาใช้หลักแนวคิด 3Cได้แก่ บริบทของวิสัญญี (context), มาตรฐานของวิชาชีพวิสัญญี (criteria/ standard) และ หลักคิดสาคัญ (core value & concepts) มาเป็นกรอบในการพัฒนากระบวนการ/กิจกรรมคุณภาพ และควบคุมคุณภาพโดยใช้วงจร PDSA (Deming Cycle) เกิดกระบวนการเรียนรภู้ายในกลุ่มงาน ใช้วิธีแลกเปลี่ยนเรียนรซูึ้่งจัดอย่างสม่าเสมอเดือนละ1 ครั้ง/กลุ่ม
  • 19. 19 และนามาเรียนรู้ร่วมกันทั้งหน่วยงาน ปีละ3 ครั้ง/กลุ่ม มีการสื่อสารโดย website ของภาควิชาฯ, E-mail และบอร์ดประชาสัมพันธ์ เป็นต้น ติดตามผลลัพธ์ทางคลินิกเพื่อค้นหาภาวะแทรกซ้อนที่วิสัญญีมีส่วนเกี่ยวข้อง (incidence related to anesthesia) โด ยก าร ติด ต ามเยี่ยม ห ลังผ่าตัด ใน 24 ชั่วโมง และปฏิบัติตามแนวทางการรายงานอุบัติการณ์ที่กาหนด นามาทบทวนทุก สัป ด าห์ใ น กิจ กร ร ม M&M Conferences เพื่อ ร่ว ม กัน ป รับ ป รุง ก าร บ ริก า ร ตัวอย่างอุบัติการณ์ที่เกิดขึ้นและมีการพัฒนาแนวทางปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยจ นสามารถลดอุบัติการณ์ลงได้มาก เช่น Nausea/Vomiting (severe) และ drug error เป็นต้น ผลการดา เนินกิจกรรมคณุภาพ ได้แก่ 1) มีการกาหนดตัวชี้วัดผลลัพธ์ (key performance indicators: KPI) ในแต่ละกลุ่มงานที่ชัดเจน โดยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการวิสัญญีดูแลรับผิดชอบ มีเป้าหมายของการทางาน และสามารถทางานได้ตรงตามเป้าหมาย 2) มีการจัดทา MM conference นาเสนอกรณีศึกษาใหม่ องค์ความรู้ใหม่อย่างสม่าเสมอจนเป็นวัฒนธรรมการเรียนรรู้่วมกันในทุกระ ดับที่เกี่ยวข้อง 3) มีระบบการบริหารความเสี่ยงที่ดี มีการจัดทา clinical practice guideline ใหม่ ตามภาวะไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นเป็นปัญหาเรียงตามความสาคัญ โดยผ่านที่ประชุมภาควิชา เช่น แนวทางการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับเลือดปริมาณมาก แนวทางการให้ยา เป็นต้น เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย และทบทวนที่มีอยู่แล้วอย่างสม่าเสมอ 4) มีการจัดทีมเฉพาะทางวิสัญญีเพื่อรับผิดชอบผู้ป่วยเฉพาะทางมากขึ้น เช่น ทีมระงับความรสูึ้กผู้ป่วยปลูกถ่ายอวัยวะ ทีมระงับความรู้สึกผู้ป่วยโรคหัวใจ เป็นต้น มีการจัดทาแนวปฏิบัติที่เหมาะสมและทันสมัย 5) มี ก า ร น า เ ค รื่ อ ง มื อ Lean ม า ใ ช้ ใ น ก า ร พั ฒ น า ง า น โดยร่วมมือกับฝ่ายพัฒนาคุณภาพจัดอบรม วันอาทิตย์ที่ 27 มีนาคม 2554 แ ล ะ ว า ง แ ผ น ใ ห้ มีกิ จ ก ร ร ม / โ ค ร ง ก า ร ที่ ใ ช้ เค รื่ อ ง มือ Lean 4 โครงการซึ่งอยู่ระหว่างดาเนินการ 4.2 การพัฒนาคณุภาพทอี่ยรู่ะหว่างดา เนินการ - จั ด ตั้ ง PCT เ พื่ อ ป ร ะ ส า น กั บ CLTต่ า ง ๆ
  • 20. ในการจัดการความเสี่ยงที่สาคัญด้านคลินิก เช่น PCT ศัลยกรรม, สูติ-นรีเวช, อ อ ร์ โ ธ ปิ ดิ ก ส์ ห รื อ ศั ล ย ก ร ร ม เ ด็ ก เ ป็ น ต้ น โดยเน้นการดูแลผู้ป่วยภายใต้กรอบแนวคิด Patient Safety: SIMPLE (Safe Surgery) ให้เกิดผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมมากขึ้น 20 - ติดตามการควบคุมการประกันกระบวนการดูแลทางคลินิกโดยกรรมการพัฒนาคุณ ภาพบริการ ที่มีหัวหน้ากลุ่มต่างๆเป็นสมาชิก ร่วมหารือทุกเดือน - วางแผนพัฒนาระบบยา - นาเครื่องมือ Lean มาใช้พัฒนางานตามนโยบายของโรงพยาบาล - พัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพสูงขึ้นเพื่อตอบสนองพันธกิจและยุทธศาสตร์ของคณะ ฯ 5. แผนพัฒนาต่อเนอื่ง - เ พิ่ ม จ า น ว น กิจ ก ร ร ม /โ ค ร ง ก า ร ที่ มี ก า ร ใ ช้ R2R แ ล ะ Lean เป็นเครื่องมือช่วยในการพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับการแก้ปัญหางานประจา - พัฒนาบุคลากรให้สามารถใช้ระบบสารสนเทศเป็นเครอื่งมือเรียนรู้มากขึ้นในทุกระ ดับ - พัฒ น า รูป แ บ บ ก า ร จัด ก า ร ค ว า ม รู้ใ ห้มีค ว า ม ชัด เ จ น ม า ก ขึ้ น โดยบูรณาการเข้ากับอุบัติการณ์ทางคลินิกที่ยังมีแนวโน้มสูง เช่น Aspiration, Drug Error เป็นต้น - พัฒนาทรัพยากรบุคคลเพื่อรองรับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีต่างๆในผ่าตัด เ ช่ น ที ม ร ะ งับ ค ว า ม รู้ สึ ก ผู้ ป่ ว ย ท า ผ่า ตั ด Liver Transplantation โดยถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ พร้อมทั้งเป็นพี่เลี้ยงให้บุคลากรอื่นในทีม และจัดทาแนวทางการผ่าตัดการระงับความรู้สึกผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนตับ - พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้ก้าวหน้าทางวิชาชีพ