SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  35
Télécharger pour lire hors ligne
พว. พรศิริ กนกกาญจนะ
EBP: Early Detection of Traumatic
Shock and Monitoring
EBP: Evidence-Based Practice
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ หมายถึง การบูรณาการ
หลักฐานเชิงประจักษ์ที่ดีที่สุดจากงานวิจัยที่มีอยู่ในขณะนั้นร่วมกับ
ข้อมูลเกี่ยวกับค่านิยม และความเชื่อของผู้ป่วย ความเชี่ยวชาญของนัก
ปฏิบัติทางคลินิก และทรัพยากรที่มีอยู่เพื่อตัดสินใจเกี่ยวกับการดูแลหรือ
การแก้ไขปัญหาของผู้ป่วย
(Ciliska, et al., 2001; French, 1999; Ingersoll, 200)
ความสําคัญของการปฏิบัติการพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์
 ช่วยตัดสินใจระหว่างผู้ปฏิบัติกับผู้ป่วยเกี่ยวกับทางเลือกของการดูแล
(DaCruz, 2002)
เป็นมาตรฐานหลักสําหรับการดูแลผู้ป่วยเพื่อให้เกิดความปลอดภัย
(Caroline, et al., 2009)
เพื่อให้เกิดการปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพระหว่างผู้ปฏิบัติการพยาบาลกับ
ผู้ป่วยแต่ละราย จากหลายแหล่งที่มา (Jo, et al., 2004)
ขั้นตอนการปฏิบัติทางคลินิคตามหลักการปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์
ขั้นตอนที่ 1 การกําหนดหัวข้อการพัฒนาแนวปฏิบัติ หรือการแก้ไขปัญหาทางคลินิก
1.1 การวิเคราะห์ความต้องการของหน่วยงาน
- ข้อมูลและความต้องการในการแก้ปัญหาในกลุ่มผู้ป่วยที่รับผิดชอบ
- ประเด็นที่ต้องการพัฒนา
1.2 การตั้งคําถามทางคลินิก ซึ่งแบ่งออกเป็น 6 มิติ
(อรพรรณโตสิงห์, 2555; Winch, Handerson, & Creedy, 2005)
การตั้งคําถามทางคลินิก
 มิติที่ 1 มิติเพื่อการบําบัด (therapy domain)
 มิติที่ 2 มิติเกี่ยวกับอันตรายที่อาจเกิด (harm domain)
 มิติที่ 3 มิติเกี่ยวกับการตัดสินว่าผู้ป่วยเกิดปัญหาสุขภาพ (diagnosis domain)
 มิติที่ 4 มิติการทํานายเหตุการณ์ (prognosis domain)
 มิติที่ 5 มิติการตอบสนองของบุคคล (human response domain)
 มิติที่ 6 มิติความเชื่อของบุคคล (meaning domain)
ขั้นตอนการปฏิบัติทางคลินิคตามหลักการปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์
ขั้นตอนการปฏิบัติทางคลินิคตามหลักการปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์
1.3 สืบค้นหลักฐานเชิงประจักษ์ที่สอดคล้องเพื่อตอบคําถามทางคลินิกที่กําหนดไว้
-กําหนดคําสําคัญ (Keyword) โดยใช้หลัก PICO (Melnyk & Fineout – Overholt, 2005)
- P: Patient / Population or Problams
- I: Intervention or Area of Interest
- C: Comparison Intervention
- O: Outcome
- ระบุขอบเขต ช่วงปี
- ระบุประเภทของหลักฐานที่ใช้ในแต่ละมิติ
- สืบค้นหลักฐาน
(อรพรรณโตสิงห์, 2555; Winch, Handerson, & Creedy, 2005)
ขั้นตอนการปฏิบัติทางคลินิคตามหลักการปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์
ระดับ ชนิดของหลักฐานเชิงประจักษ์
ระดับ 1 หลักฐานที่ได้จากการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบหรือการวิเคราะห์เมต้าของงานวิจัยเชิงทดลองที่มีการ
สุ่มและมีกลุ่มควบคุมทั้งหมดหรือแนวปฏิบัติทางคลินิกที่สร้างจากหลักฐานที่มาจากการทบทวนวรรณกรรม
อย่างเป็นระบบของงานวิจัยเชิงทดลองที่มีการสุ่มและมีกลุ่มควบคุม
ระดับ 2 หลักฐานที่ได้จากงานวิจัยเชิงทดลองที่มีการสุ่มและมีกลุ่มควบคุมที่มีการออกแบบวิจัยอย่างดีอย่างน้อย1 เรื่อง
ระดับ 3 หลักฐานที่ได้จากงานวิจัยเชิงทดลองที่มีกลุ่มควบคุม มีการออกแบบวิจัยอย่างดี แต่ไม่มีการสุ่ม
ระดับ 4 หลักฐานที่ได้จากงานวิจัยที่เป็นการศึกษาย้อนหลังหรือการศึกษาติดตามไปข้างหน้าที่มีการออกแบบวิจัยอย่างดี
ระดับ 5 หลักฐานที่ได้จากการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบของงานวิจัยเชิงบรรยายหรืองานวิจัยเชิงคุณภาพ
ระดับ 6 หลักฐานที่ได้จากงานวิจัยเดี่ยวที่เป็นงานวิจัยเชิงบรรยายหรืองานวิจัยเชิงคุณภาพ
ระดับ 7 หลักฐานที่ได้จากผู้เชี่ยวชาญในกลุ่มวิชาชีพเฉพาะและ/หรือรายงานจากคณะกรรมการผู้ทรงวุฒิเฉพาะเรื่อง
(Melnyk & Fineout – Overholt, 2005)
ระดับความน่าเชื่อถือของหลักฐานเชิงประจักษ์
ขั้นตอนการปฏิบัติทางคลินิคตามหลักการปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์
1.4 การประเมินความเป็นไปได้ในการปฏิบัติ
- การถ่ายทอด/การนําลงสู่การปฏิบัติ
- ความเป็นไปได้
- ความคุ้มทุน
ขั้นตอนที่ 2 การสรุป
ขั้นตอนที่ 3 การพัฒนาเครื่องมือที่จะนําหลักฐานไปใช้ทางคลินิก
ขั้นตอนที่ 4 การบูรณาการเข้าสู่การปฏิบัติตามสถานการณ์จริง
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการปฏิบัติ
(อรพรรณโตสิงห์, 2555; Winch, Handerson, & Creedy, 2005)
EBP: Early Detection of Traumatic Shock
อุบัติเหตุพบในกลุ่มประชากรอายุ 1 – 44 ปีมากที่สุด สําหรับประเทศไทยเป็น
สาเหตุการเสียชีวิตอันดับที่ 2 ของประชากรไทย คิดเป็นร้อยละ 59.8
(พิมพ์ภา เตชะกมลสุข,กาญจนีย์ดํานาคแก้ว และอนงค์แสงจันทร์ทิพย์,2553; Cocchi, et al., 2007)
อุบัติเหตุเป็นสาเหตุสําคัญของการเสียชีวิตและทุพพลภาพ พบถึง
5,000,000 ราย/ปี ของประชากรโลก คาดว่าปี 2030 จะเพิ่มถึง 40% (WHO, 2000)
ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา
0
5,000
10,000
15,000
20,000
25,000
30,000
35,000
40,000
45,000
50,000
พ.ศ.2552
พ.ศ.2553
40,648
41,013
34,422
อาการรุนแรงมากขึ้น
เกิดภาวะช็อกจากการบาดเจ็บ
ผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทั้งหมด
จํานวนผู้ป่ วยอุบัติเหตุ
(ห้องฉุกเฉิน คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร)
ภาวะช็อก
จากการ
บาดเจ็บ
ประเมินภาวะช็อก
จากการบาดเจ็บ
เริ่มแรกไม่ได้
ไม่ได้ข้อมูล
การบาดเจ็บ ทําให้
ไม่สามารถประเมิน
ความรุนแรงได้
ใช้เวลาในการ
ประเมินนาน
สาเหตุที่ทําให้ผู้ป่ วยอุบัติเหตุมีอาการรุนแรงมากขึ้น
การเสียชีวิตจากภาวะที่สามารถป้ องกันได้
(ห้องฉุกเฉิน คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร)
เสียการควบคุม
ระบบประสาท
ส่วนกลาง
เสียเลือด
(Boswel & Scalae, 2009, Cocchi, et al., 2007; Curtis & Asha, 2010; Dutton, 2008; Guly, et al., 2008)
กล้ามเนื้อหัวใจบาดเจ็บ,
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด,
เลือดผ่านหัวใจลําบาก
การถูกขัดขวางการบีบตัวของ
กล้ามเนื้อหัวใจ
ผู้ป่ วยอุบัติเหตุที่ห้องฉุกเฉิน
การบาดเจ็บที่มีการ
ฉีกขาดของหลอดเลือด
ระบบประสาท
ถูกทําลาย
สูญเสียการควบคุม
ความตึงตัวของ
หลอดเลือด
แรงต้านทานหลอด
เลือดส่วนปลายลดลง
ปริมาณเลือดดําที่ไหลกลับ
เข้าหัวใจห้องขวาลดลง
การบีบตัวของ
หัวใจลดลง
ปริมาณเลือดที่หัวใจบีบออกต่อครั้งลดลง
ปริมาณเลือดที่ส่งออกจากหัวใจต่อนาทีลดลง
ความดันโลหิตตํ่า
ภาวะช็อกจากการบาดเจ็บ
(การกําซาบออกซิเจนของเนื้อเยื่อลดลง)
ผู้ป่ วยที่มีภาวะช็อกโดยไม่ได้รับการ
ประเมินและให้การช่วยเหลือ
ทุก 3 นาที ผู้ป่ วยจะมีอัตราการเสียชีวิต
เพิ่มขึ้น1%
(Kirkpatrick, et al., 2009)
การประเมินผู้ป่ วยอุบัติเหตุที่มีการ
บาดเจ็บรุนแรงใช้เวลาเฉลี่ย
5.2 นาที สามารถช่วย
ลดอัตราการเสียชีวิตได้ถึง 91 %
(Spanjersberg, et al., 2009)
การคาดการณ์ความรุนแรงของการบาดเจ็บทันทีที่ผู้ป่ วยมาถึงห้องฉุกเฉิน
ประเมินจากพยาธิสภาพ หรือการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ใช้เวลาภายใน 4 นาที เพื่อ
ป้ องกันไม่ให้อาการรุนแรงมากขึ้น และปลอดภัยจากภาวะช็อกจากการบาดเจ็บ
(กรองได อุณหสูต, 2549; Cocchi, et al.,, 2007; Duncan & Moran, 2009; Guyton & Hall, 2006)
EBP: Early Detection of Traumatic Shock
การพยากรณ์ภาวะช็อกจากการบาดเจ็บ
ขั้นตอนดําเนินงาน
สืบค้น
และ
คัดเลือก
วิเคราะห์
ประเมิน
คุณภาพ
สกัด
เนื้อหาลง
ตาราง
ลงตาราง
Collective
Evidence
Synthesis
การพยากรณ์
ภาวะช็อก
จากการ
บาดเจ็บ
สืบค้น
และ
คัดเลือก
วิเคราะห์ประเมิน
คุณภาพ
สกัดเนื้อหาลง
ตาราง
ลงตาราง
Collective
Evidence
Synthesis
การพยากรณ์ภาวะ
ช็อกจากการบาดเจ็บ
(DiCenso, Guyatt, & Ciliska, 2005; Melnyk & Fineout-Overholt, 2005)
PICO framework
P : Trauma patient, Injured patient,
Traumatic shock, Injured patient at
Emergency Room, Shock
I : Airway assessment, Breathing
assessment, Ventilation assessment,
Circulation assessment, Early detection,
Primary assessment, Risk assessment, Risk
factor, Prognostic factor, Initial assessment,
Evaluation, Triage, Severity of injury
C: ไม่ระบุ
O: Good perfusion, Perfusion
Pub med 8 เรื่อง
BMJ 1 เรื่อง
Springer Link 3 เรื่อง
Science Direct 3 เรื่อง
Ovid 6 เรื่อง
ProQuest 1 เรื่อง
รวม 22 เรื่อง
ความตรง
ความน่าเชื่อถือ
ผลการวิจัย ความเหมาะสม
Systemic review of good quality cohort studies
Prospective cohort study with at least 80% follow-up
Systemic review of lower quality studies
Retrospective cohort study with poor follow up
Case-control study
Case series
Unsystemic clinical observation
Prognosis evidence pyramid
(Grace, 2009)
สืบค้นและ
คัดเลือก
อ่านวิเคราะห์
ประเมิน
คุณภาพ
สกัดเนื้อหาลง
ตาราง
ลงตาราง
Collective
Evidence
Synthesis
การพยากรณ์ภาวะ
ช็อกจากการบาดเจ็บ
7 เรื่อง
14 เรื่อง
1 เรื่อง
สืบค้นและ
คัดเลือก
อ่านวิเคราะห์
ประเมินคุณภาพ
สกัดเนื้อหาลง
ตารางสกัด
ลงตาราง
Collective
Evidence
Synthesis
การพยากรณ์ภาวะ
ช็อกจากการบาดเจ็บ
NO. รายละเอียด
หลักฐาน
กลุ่มตัวอย่าง วัตถุประสงค์และผล
การศึกษา/ผลการวิจัย
การประเมินคุณภาพของหลักฐานเชิง
ประจักษ์
1. Admission heart
rate is a predictor
of mortality (Ley,
E. J., Singer, M. B.,
Clond, M. A., Ley,
H. C., Mirocha, J.
M., Bukur, M., et
al., 2012)
ระดับ: 2
Prospective cohort
study
กลุ่มตัวอย่าง
ผู้ป่วยอุบัติเหตุ
ที่ห้องฉุกเฉิน
จํานวน 103,799
ราย เก็บข้อมูล
ที่ศูนย์อุบัติเหตุ
ระดับ I = 5 แห่ง,
ระดับ II = 8 แห่ง
ที่ Los Angeles,
California
ปี 1998 – 2005 แบ่ง
วัตถุประสงค์
ความสัมพันธ์ระหว่าง อัตรา
การเต้นของหัวใจของผู้ป่วย
อุบัติเหตุแรกรับที่ห้องฉุกเฉิน
กับอัตราการเสียชีวิตว่าเป็น
อย่างไร
ผลการศึกษา/ผลการวิจัย
- ผู้ป่วยที่มีการบาดเจ็บระดับ
ปานกลางถึงรุนแรง อัตราการ
เต้นของหัวใจ < 60 ครั้งต่อนาที
และ ≥ 100 ครั้งต่อนาทีมี
ผลการวิจัยมีความเที่ยงตรงหรือไม่ :
ผลการวิจัยตอบคําถามการวิจัยชัดเจน
กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ห้อง
ฉุกเฉิน กําหนดเกณฑ์การคัดออก
ชัดเจนซึ่งเป็นปัจจัยที่มีผลต่อตัวแปร
ตาม เก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่างจากศูนย์
อุบัติเหตุหลายระดับจึงเป็นตัวแทนของ
ประชากรได้ แบ่งอัตราการเต้นของ
หัวใจออกเป็นกลุ่มและใช้สถิติในการ
หาความสัมพันธ์กับอัตราการเสียชีวิต
แสดงผลออกมาเป็นค่าความเสี่ยงทําให้
ตัวอย่าง ตารางการประเมินระดับและคุณภาพของหลักฐานเชิงประจักษ์
สืบค้นและ
คัดเลือก
อ่านวิเคราะห์
ประเมินคุณภาพ
สกัดเนื้อหาลง
ตารางสกัด
ลงตาราง
Collective
Evidence
Synthesis
การพยากรณ์ภาวะช็อกจาก
การบาดเจ็บ
ตัวอย่าง ตารางการสังเคราะห์หลักฐานเชิงประจักษ์ (Collective table)
NO. รายละเอียด
หลักฐาน
วัตถุประสงค์ สาเหตุการ
บาดเจ็บ
เกณฑ์ตัวชี้วัด
ภาวะช็อกจาก
การบาดเจ็บ
สรุปการนําไปใช้
1. Admission heart rate is a
predictor of mortality
(Ley, E. J., Singer, M.
B., Clond, M. A., Ley, H.
C., Mirocha, J. M.,
Bukur, M., et al., 2012)
หลักฐานระดับ: 2
Prospective cohort study
ศึกษา
ความสัมพันธ์
ระหว่างอัตรา
การเต้นของ
หัวใจของผู้ป่วย
อุบัติเหตุแรกรับ
ที่ห้องฉุกเฉิน
กับอัตราการ
เสียชีวิตว่าเป็น
ผู้ป่วยอุบัติเหตุ
ทุกชนิดที่เข้า
รับบริการที่
ห้องฉุกเฉิน
- อัตราการเต้น
ของหัวใจ < 60
และ ≥ 100 ครั้ง
ต่อนาที
- ผู้ป่วยอุบัติเหตุทุกชนิดที่เข้ารับ
บริการที่ห้องฉุกเฉินสามารถใช้
อัตราการเต้นของหัวใจในการ
พยากรณ์ภาวะช็อกจากการ
บาดเจ็บ ผลการวิจัยพบว่า อัตรา
การเต้นของหัวใจแรกรับที่ห้อง
ฉุกเฉิน < 60 และ ≥ 100 ครั้งต่อนาที
มีความสัมพันธ์กับอัตราการ
เสียชีวิตเพิ่มขึ้น
การจําแนกประเภทตามระดับ
ความรุนแรงของการบาดเจ็บ
ตําแหน่งที่ได้รับบาดเจ็บ
กลไกการบาดเจ็บ
อายุ
เพศ
การประเมินแรกรับ
ที่ห้องฉุกเฉิน
Evidence
Synthesis
การประเมินการตอบ
สนองของร่างกาย
การรวบรวมข้อมูล
และการตรวจวินิจฉัย
ที่เกี่ยวข้องกับ
ภาวะช็อกจากการบาดเจ็บTrauma score
Level of Conscious
Sign and Symptom
Shock Index /
Rope Index
Physiologic
conditions
Heart Rate
Systolic
Blood
Pressure
Mean
arterial
pressure
Pulse Pressure
Shock Index
Oxygen
saturation
Glasgow coma score
Blood sugar
Past illness
EKG
ข้อมูลจากผู้นําส่ง
ประวัติความสูง
เวลาที่เกิดเหตุ
การดื่มแอลกอฮอล์
การพยากรณ์ภาวะช็อกจากการบาดเจ็บของผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ห้องฉุกเฉิน
การจําแนกประเภทตามระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บ
1. กลไกการบาดเจ็บ
3. อายุ
แรงกระแทก
การทิ่มทะลุ
ตกจากที่สูง
การถูกอาวุธปืน
อุบัติเหตุรถยนต์
การถูกทิ่มทะลุ
2. ตําแหน่งการบาดเจ็บ
การบาดเจ็บบริเวณศีรษะ ทรวงอก ช่องท้อง
อุ้งเชิงกรานจะทําให้ Perfusion ลดลง
อาจทําให้เกิดภาวะช็อกจากการบาดเจ็บ
(Kaiser, et al., 2009; Lehmann, et al., 2007;
Tien, et al.,2007; Woodford, et al., 2011)
เพศชายมีโอกาสเกิดภาวะช็อกจากการบาดเจ็บมากกว่าเพศหญิง 2 เท่า (Ley, et al., 2012)
อายุ > 55 ปี จะมีโอกาสเสียชีวิต
หลังเกิดอุบัติเหตุ 3 เท่า (Ryb, et al., 2012)
4. เพศ
Level
of
Conscious
Trauma
score
การประเมินแรกรับที่ห้องฉุกเฉิน
Shock
Index /
Rope
Index
Physiologic
conditions
Sign and
Symptom
Blood
Pressure
Systolic
Blood
Pressure
Heart Rate
Oxygen
saturation
Respiration
Rate
Trauma
score
-Injury Severity Score เป็นการแบ่งความรุนแรงของการบาดเจ็บตาม
ตําแหน่งที่ได้รับบาดเจ็บ เป็นตัวชี้วัด Perfusion ↓ ค่าที่เพิ่มขึ้นทําให้หัวใจเต้น
เร็วมีโอกาสเกิดภาวะช็อกจากการบาดเจ็บ (Ley, et al., 2012)
- Revised Trauma Score (GCS, SBP, RR) ทํานายอัตราการ
เสียชีวิตได้ดีที่สุดในผู้ป่ วยอุบัติเหตุ (Oyetunji, et al., 2010)
- GCS ≤ 8 ทําให้หัวใจเต้นเร็วมีโอกาสเกิดภาวะช็อกจากการบาดเจ็บ (Ley, et
al., 2012)
- GCS < 14 ต้องการทําหัตถการเร่งด่วน (Lehmann, et al., 2007)
- GCS ช่วยประเมินการทํางานของสมอง ทํานายอัตราการเสียชีวิตได้แม่นยําใน
ผู้ป่ วยบาดเจ็บที่ศีรษะ ได้ดีกว่า LOC (Guly, et al., 2010; Oyetunji, et al., 2010)
- LOC ใช้ประเมินผู้ป่ วยอุบัติเหตุที่มีภาวะความดันโลหิตตํ่าได้ดีกว่า GCS
(Ley, et al., 2012)
การประเมินแรกรับที่ห้องฉุกเฉิน
LOC
BP /
SBP
- BP ลดลงเป็นตัวชี้วัด Perfusion ↓ (Hasler, et al., 2010)
- SBP ↓ เมื่อสูญเสียเลือด 470 มล. (Campbell, et al., 2012)
- RR ↑ ในผู้ป่ วยที่มีภาวะช็อกจากการบาดเจ็บ (Ley, et al., 2012)
-การหายใจผิดปกติ (หายใจลําบากหรือหยุดหายใจ) ต้องการทําหัตถการเร่งด่วน
(Lehmann, et al., 2007)
การประเมินแรกรับที่ห้องฉุกเฉิน
RR
HR
-HR ↑ เป็นตัวชี้วัดแรกที่เปลี่ยนแปลง เมื่อสูญเสียเลือด 15-30%
(Ley, et al., 2012)
-HR ↓ จากเส้นประสาทเวกัสถูกกระตุ้น หรือได้รับบาดเจ็บที่ไขสันหลัง
(Guly, et al., 2010)
SpO2
- มีความไวในการประเมินปริมาณออกซิเจนในเลือด ทํานายความรุนแรงของ
การบาดเจ็บ และการเกิดอวัยวะหลายระบบล้มเหลวได้ (Cohn, et al., 2007)
SI
- SI ↑ เมื่อสูญเสียเลือด 470 มล. ไวต่อปริมาณเลือดในร่างกายที่ลดลง
และการไหลเวียนเลือดล้มเหลว ค่า > 0.9 อัตราการเสียชีวิตสูง (Campbell,
et al., 2012)
-ROPE index ↑ เมื่อสูญเสียเลือด 470 มล. ไวต่อปริมาณเลือดในร่างกายที่
ลดลง ค่า > 3 อัตราการเสียชีวิตสูง (Campbell, et al., 2012)
การประเมินแรกรับที่ห้องฉุกเฉิน
ROPE
index
Sign &
Symptom
- ผู้ป่ วยบาดเจ็บจากแรงกระแทกบริเวณทรวงอก หากพบอาการใจสั่นมีความ
เสี่ยงต่อการบาดเจ็บที่หัวใจ ส่วนอาการหายใจลําบาก แน่นหน้าอก พบได้บ่อย
(Emet, et al., 2010)
SBP
MAP
Pulse Pressure
SpO2
GCS
ภาวะช็อก
จากการบาดเจ็บ
HR
Blood Sugar
การประเมินการตอบสนองของร่างกาย
SI
HR < 80 หรือ >100 ครั้งต่อนาที เป็นตัวชี้วัด Perfusion ↓
(Emet, et al., 2010; Guly, et al., 2010; Ley, et al., 2012; Kaiser, et al., 2009)
การประเมินการตอบสนองของร่างกาย
SBP < 110 มม.ปรอท จะมีโอกาสเสียชีวิต 2 เท่า
SBP < 100 มม.ปรอท จะมีโอกาสเสียชีวิต 4 เท่า
SBP < 90 มม.ปรอท จะมีโอกาสเสียชีวิต 7 เท่า
SBP < 80 มม.ปรอท จะมีอัตราการเสียชีวิต 10 เท่า
SBP < 70 มม.ปรอท จะมีอัตราการเสียชีวิต 20 เท่า
(Hasler, et al., 2011)
MAP < 70 มม.ปรอท พบในผู้ป่ วยที่มีการบีบตัวของหัวใจลดลง (Emet, et al., 2010)
Pulse Pressure ↓ เมื่อสูญเสียเลือด 470 มล. (Campbell, et al., 2012)
GCS < 12 จะมีโอกาสเสียชีวิต 5 เท่า
GCS < 8 จะมีโอกาสเสียชีวิต 8 เท่า
GCS < 5 จะมีโอกาสเสียชีวิต 11 เท่า
GCS 3 จะมีโอกาสเสียชีวิต 27 เท่า (Hasler, et al., 2011)
SpO2 < 95% เป็นตัวชี้วัด Perfusion ↓
ค่า < 75% ทํานายการเกิดอวัยวะหลายระบบล้มเหลว
(Cohn, et al., 2007)
SI > 0.9 เป็นตัวชี้วัด Perfusion ↓
ค่า> 1 จะมีโอกาสเสียชีวิต 40%
ค่าเปลี่ยนแปลง ≥ 0.3 อัตราการเสียชีวิตสูง (Campbell, et al., 2012)
การประเมินการตอบสนองของร่างกาย
Blood Sugar >203 mg/dl เป็นตัวบ่งชี้ Perfusion ↓
Blood Sugar 135 -180 mg/dl จะมีโอกาสเสียชีวิต 3 เท่า
Blood Sugar 180 -270 mg/dl จะมีโอกาสเสียชีวิต 10 เท่า
Blood Sugar ≥ 270 mg/dl จะมีโอกาสเสียชีวิต 47 เท่า
(Kreutziger, et al., 2009)
การประเมินการตอบสนองของร่างกาย
ผู้ป่ วยบาดเจ็บที่ศีรษะ
Blood Sugar 180 -270 mg/dl จะมีโอกาสเสียชีวิต 14 เท่า
Blood Sugar ≥ 270 mg/dl จะมีโอกาสเสียชีวิต 58 เท่า
(Kreutziger, et al., 2009)
2. ตรวจพบคลื่นไฟฟ้ าหัวใจผิดปกติในผู้ป่ วยที่ถูกกระแทกบริเวณหัวใจ
(Emet, et al., 2010)
1. ประวัติการเจ็บป่ วย การใช้ยาเบต้าบล็อก ทําให้การประเมินภาวะช็อกเป็นไปได้ยาก
(Ley, et al., 2012)
การรวบรวมข้อมูล และการตรวจวินิจฉัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะช็อกจากการบาดเจ็บ
3. ข้อมูลจากผู้นําส่ง
(McNab, et al., 2012)
4. ประวัติความสูงจากการตกจากที่สูง ร่วมกับตําแหน่งการบาดเจ็บ อายุ
(Adam, et al., 2011)
5. เวลาที่เกิดเหตุ ระยะเวลาการเคลื่อนย้ายก่อนมาถึงโรงพยาบาล มากกว่า 20 นาที
(Kaiser, et al., 2009)
6. ประวัติการดื่มแอลกอฮอล์
(Hadjizacharin, et al., 2011)
การรวบรวมข้อมูล และการตรวจวินิจฉัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะช็อกจากการบาดเจ็บ
การจําแนกประเภทตามระดับ
ความรุนแรงของการบาดเจ็บ
ตําแหน่งที่ได้รับบาดเจ็บกลไกการบาดเจ็บ อายุ เพศ
การพยากรณ์ภาวะช็อกจากการบาดเจ็บของผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ห้องฉุกเฉิน ผลลัพธ์
ถูกกระแทก ถูกทิ่มทะลุ
อุ้งเชิงกรานช่องท้องทรวงอกคอ
> 55 ปี ข้อแนะนํา
เพศมีผลกระทบต่อ
อัตราการรอดชีวิต
อวัยวะหลายระบบ
ล้มเหลว แต่อัตรา
การเสียชีวิต
ไม่แตกต่างกัน
(Deitch, et al., 2007)
การประเมินแรกรับ
ที่ห้องฉุกเฉิน
Trauma score
Level of Conscious
Sign and Symptom
Shock Index /
Rope Index
Physiologic
conditions
การพยากรณ์ภาวะช็อกจากการบาดเจ็บของผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ห้องฉุกเฉิน ผลลัพธ์
ข้อแนะนํา ข้อจํากัดของการใช้ต้องได้รับ
การฝึกฝน และต้องประเมินอย่างรวดเร็ว
(Woodford, et al., 2011)
LOC
GCS บาดเจ็บที่ศีรษะ
เสียเลือด
ข้อแนะนํา
ข้อจํากัดในการใช้
ในผู้ป่วยใส่ท่อช่วย
หายใจได้รับสารพิษ
(Oyetunji, et al., 2010)
ข้อแนะนํา
ผลการทดลอง
ไม่แตกต่างกัน การเลือก
ใช้ขึ้นกับความชํานาญ
(Campbell, et al., 2012)
การประเมินการตอบ
สนองของร่างกาย
Heart Rate < 80 > 100 /min
SBP< 110 mmHg
MAP < 70 mmHg
Pulse Pressure แคบ
Shock Index > 0.9 หรือเพิ่มขึ้น > 0.3 จาก ณ จุดเกิดเหตุ
Oxygen saturation < 95%
GCS < 12
Blood sugar > 203 mg/dl
การพยากรณ์ภาวะช็อกจากการบาดเจ็บของผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ห้องฉุกเฉิน ผลลัพธ์
การหายใจผิดปกติ
ข้อแนะนํา
ควรคํานึงถึงปัจจัยที่มีผล
กระทบต่อการเปลี่ยนแปลง
(Ley, et al., 2010)
ข้อแนะนํา
ข้อจํากัด
ของการใช้ SI
(Campbell, et al., 2012)
Past illness
EKG
ข้อมูลจากผู้นําส่ง
ประวัติความสูง
เวลาที่เกิดเหตุ
การดื่มแอลกอฮอล์
การพยากรณ์ภาวะช็อกจากการบาดเจ็บของผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ห้องฉุกเฉิน ผลลัพธ์
การรวบรวมข้อมูล
และการตรวจวินิจฉัย
ที่เกี่ยวข้องกับ
ภาวะช็อกจากการบาดเจ็บ
ยาเบต้าบล็อก
ความดันโลหิตสูง,มะเร็ง, ตับ
SVT, Left axis deviation,
Complete RBBB
ข้อแนะนํา
การเปลี่ยนแปลงอาจ
มาจากการเสียเลือด นํ้า
อิเล็กโทรไลต์
แคทีโคลามีน
กรดด่างในเลือด
ระบบประสาทเวกัส
(Emet, et al., 2010)
การกระตุ้นทีม หน่วยงาน
การจําแนกประเภท
ตามระดับความ
รุนแรงของ
การบาดเจ็บ
การประเมินแรกรับ
ที่ห้องฉุกเฉิน
การประเมิน
การตอบสนอง
ของร่างกาย
การรวบรวมข้อมูล
และการตรวจวินิจฉัย
ที่เกี่ยวข้อง
การพยากรณ์ภาวะช็อกจากการบาดเจ็บของผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ห้องฉุกเฉิน
Suggestion

Contenu connexe

Tendances

การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557Utai Sukviwatsirikul
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อUtai Sukviwatsirikul
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sriSuradet Sriangkoon
 
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551Utai Sukviwatsirikul
 
2 trauma care &amp; outcome _ update 17 เมย. 2560
2  trauma care &amp; outcome  _ update 17 เมย. 25602  trauma care &amp; outcome  _ update 17 เมย. 2560
2 trauma care &amp; outcome _ update 17 เมย. 2560Krongdai Unhasuta
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์Thira Woratanarat
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfTraum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfKrongdai Unhasuta
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการWiroj Suknongbueng
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางSuradet Sriangkoon
 
Monitor traumatic shock 16 พค.58
Monitor traumatic shock  16 พค.58Monitor traumatic shock  16 พค.58
Monitor traumatic shock 16 พค.58Krongdai Unhasuta
 
Trauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurseTrauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurseKrongdai Unhasuta
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...Dr.Suradet Chawadet
 

Tendances (20)

จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
 
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
 
2 trauma care &amp; outcome _ update 17 เมย. 2560
2  trauma care &amp; outcome  _ update 17 เมย. 25602  trauma care &amp; outcome  _ update 17 เมย. 2560
2 trauma care &amp; outcome _ update 17 เมย. 2560
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
 
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfTraum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
 
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
Monitor traumatic shock 16 พค.58
Monitor traumatic shock  16 พค.58Monitor traumatic shock  16 พค.58
Monitor traumatic shock 16 พค.58
 
3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator
 
Trauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurseTrauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurse
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 

En vedette

Pathophysiology of traumatic brain injury
Pathophysiology of traumatic brain injuryPathophysiology of traumatic brain injury
Pathophysiology of traumatic brain injuryAmir rezagholizadeh
 
The Impact of Traumatic Brain Injury on Developmental Functioning in Children...
The Impact of Traumatic Brain Injury on Developmental Functioning in Children...The Impact of Traumatic Brain Injury on Developmental Functioning in Children...
The Impact of Traumatic Brain Injury on Developmental Functioning in Children...rosalindcase
 
Traumatic Brain Injuries: Pathophysiology, Treatment and Prevention
Traumatic Brain Injuries: Pathophysiology, Treatment and PreventionTraumatic Brain Injuries: Pathophysiology, Treatment and Prevention
Traumatic Brain Injuries: Pathophysiology, Treatment and PreventionMedicineAndHealthNeurolog
 
Traumatic Brain Injury Power Point
Traumatic Brain Injury Power PointTraumatic Brain Injury Power Point
Traumatic Brain Injury Power Pointctrythall
 

En vedette (6)

Pathophysiology of traumatic brain injury
Pathophysiology of traumatic brain injuryPathophysiology of traumatic brain injury
Pathophysiology of traumatic brain injury
 
The Impact of Traumatic Brain Injury on Developmental Functioning in Children...
The Impact of Traumatic Brain Injury on Developmental Functioning in Children...The Impact of Traumatic Brain Injury on Developmental Functioning in Children...
The Impact of Traumatic Brain Injury on Developmental Functioning in Children...
 
Ppt.office syndrome
Ppt.office syndromePpt.office syndrome
Ppt.office syndrome
 
Traumatic Brain Injuries: Pathophysiology, Treatment and Prevention
Traumatic Brain Injuries: Pathophysiology, Treatment and PreventionTraumatic Brain Injuries: Pathophysiology, Treatment and Prevention
Traumatic Brain Injuries: Pathophysiology, Treatment and Prevention
 
Traumatic Brain Injury Power Point
Traumatic Brain Injury Power PointTraumatic Brain Injury Power Point
Traumatic Brain Injury Power Point
 
Head injury ppt
Head injury pptHead injury ppt
Head injury ppt
 

Plus de Krongdai Unhasuta

Trauma in geriatric patients
Trauma in geriatric patientsTrauma in geriatric patients
Trauma in geriatric patientsKrongdai Unhasuta
 
Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast Track
Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast TrackTrauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast Track
Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast TrackKrongdai Unhasuta
 
5 scope and practice _ update 17 เมย. 2560
5  scope and practice  _ update 17 เมย. 25605  scope and practice  _ update 17 เมย. 2560
5 scope and practice _ update 17 เมย. 2560Krongdai Unhasuta
 
4 research utilization &amp; qi _ update 17 เมย. 2560
4  research utilization &amp; qi  _ update 17 เมย. 25604  research utilization &amp; qi  _ update 17 เมย. 2560
4 research utilization &amp; qi _ update 17 เมย. 2560Krongdai Unhasuta
 
3 how to develop guideline and protocol _ update 17 เมยฬ 2560
3  how to develop guideline and protocol  _ update 17 เมยฬ 25603  how to develop guideline and protocol  _ update 17 เมยฬ 2560
3 how to develop guideline and protocol _ update 17 เมยฬ 2560Krongdai Unhasuta
 
1. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 2560
1. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 25601. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 2560
1. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 2560Krongdai Unhasuta
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจKrongdai Unhasuta
 
ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยKrongdai Unhasuta
 
Implement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpgImplement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpgKrongdai Unhasuta
 
Road map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in erRoad map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in erKrongdai Unhasuta
 
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติหลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติKrongdai Unhasuta
 
Common problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderlyCommon problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderlyKrongdai Unhasuta
 
Trauma scoring 23 พค.2558
Trauma scoring 23 พค.2558Trauma scoring 23 พค.2558
Trauma scoring 23 พค.2558Krongdai Unhasuta
 
Trauma treatment skills for nurses 22 พค.2558
Trauma treatment skills for nurses  22 พค.2558Trauma treatment skills for nurses  22 พค.2558
Trauma treatment skills for nurses 22 พค.2558Krongdai Unhasuta
 
Life threatening chest injuries 15 พค.2558
Life threatening chest injuries 15 พค.2558Life threatening chest injuries 15 พค.2558
Life threatening chest injuries 15 พค.2558Krongdai Unhasuta
 
Hemorrhagic shock 15 พค.2558
Hemorrhagic shock 15 พค.2558Hemorrhagic shock 15 พค.2558
Hemorrhagic shock 15 พค.2558Krongdai Unhasuta
 
Management of traumatic brain injury
Management of traumatic brain injuryManagement of traumatic brain injury
Management of traumatic brain injuryKrongdai Unhasuta
 
Management of multiple trauma
Management of multiple traumaManagement of multiple trauma
Management of multiple traumaKrongdai Unhasuta
 
Fluid management 14 พค.58
Fluid management 14 พค.58Fluid management 14 พค.58
Fluid management 14 พค.58Krongdai Unhasuta
 

Plus de Krongdai Unhasuta (20)

Trauma in geriatric patients
Trauma in geriatric patientsTrauma in geriatric patients
Trauma in geriatric patients
 
Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast Track
Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast TrackTrauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast Track
Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast Track
 
5 scope and practice _ update 17 เมย. 2560
5  scope and practice  _ update 17 เมย. 25605  scope and practice  _ update 17 เมย. 2560
5 scope and practice _ update 17 เมย. 2560
 
4 research utilization &amp; qi _ update 17 เมย. 2560
4  research utilization &amp; qi  _ update 17 เมย. 25604  research utilization &amp; qi  _ update 17 เมย. 2560
4 research utilization &amp; qi _ update 17 เมย. 2560
 
3 how to develop guideline and protocol _ update 17 เมยฬ 2560
3  how to develop guideline and protocol  _ update 17 เมยฬ 25603  how to develop guideline and protocol  _ update 17 เมยฬ 2560
3 how to develop guideline and protocol _ update 17 เมยฬ 2560
 
1. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 2560
1. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 25601. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 2560
1. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 2560
 
Trauma scoring
Trauma scoringTrauma scoring
Trauma scoring
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจ
 
ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
 
Implement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpgImplement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpg
 
Road map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in erRoad map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in er
 
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติหลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
 
Common problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderlyCommon problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderly
 
Trauma scoring 23 พค.2558
Trauma scoring 23 พค.2558Trauma scoring 23 พค.2558
Trauma scoring 23 พค.2558
 
Trauma treatment skills for nurses 22 พค.2558
Trauma treatment skills for nurses  22 พค.2558Trauma treatment skills for nurses  22 พค.2558
Trauma treatment skills for nurses 22 พค.2558
 
Life threatening chest injuries 15 พค.2558
Life threatening chest injuries 15 พค.2558Life threatening chest injuries 15 พค.2558
Life threatening chest injuries 15 พค.2558
 
Hemorrhagic shock 15 พค.2558
Hemorrhagic shock 15 พค.2558Hemorrhagic shock 15 พค.2558
Hemorrhagic shock 15 พค.2558
 
Management of traumatic brain injury
Management of traumatic brain injuryManagement of traumatic brain injury
Management of traumatic brain injury
 
Management of multiple trauma
Management of multiple traumaManagement of multiple trauma
Management of multiple trauma
 
Fluid management 14 พค.58
Fluid management 14 พค.58Fluid management 14 พค.58
Fluid management 14 พค.58
 

Detect traumatic shock 16 พค.58