SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  42
Télécharger pour lire hors ligne
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
การจัดการทางเดินหายใจ
ของผู้ป่วยอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน
สาเหตุการตายที่สาคัญ
อาการแสดง
ทางเดินหายใจอุดกั้น
 ไม่สามารถวินิจฉัยภาวะ
airway obstruction
 ไม่สามารถแก้ไขภาวะ
airway obstruction
 ใส่ endotracheal tube
ไม่เข้าไปใน airway
 ventilation ผู้ป่วยช้า
เกินไป
 สาลัก gastric contents
 ลุกลี้ลุกลน (agitation) 
ภาวะพร่องออกซิเจน
 ซึม (lethargy) 
คาร์บอน ไดออกไซด์ใน
เลือดสูง
 เขียว (cyanosis) 
ออกซิเจนในเลือดต่า
 เสียงดังครึ้ปขณะหายใจ
เข้า (stridor) การอุด
กั้นในทางเดินหายใจ
บางส่วน
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
หลักการประเมินทางเดินหายใจ
 ในการประเมินทางเดินหายใจ ถ้าผู้ป่วยพูดได้
แสดงว่าไม่มีปัญหาเกี่ยวกับทางเดินหายใจ
 การบาดเจ็บจากสาเหตุต่างๆ ทาให้เกิด
ทางเดินหายใจอุดกั้นได้
 ผู้ป่วยที่มีโอกาสเกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ
ส่วนบนได้สูง คือ ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว ผู้ป่วยบาดเจ็บ
รุนแรงที่กระดูกหน้า บาดเจ็บที่คอ
(ATLS, 2012)
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Airway management
 Protect unobstructed airway
 Adequate ventilation
 Secured airway
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
การหายใจที่มีการแลกเปลี่ยนก๊าซบกพร่อง
 การเคลื่อนไหวของทรวงอก 2 ข้าง ไม่เท่ากัน
 เสียงหายใจที่ทรวงอก (breath sounds) เบา
 O2 sat ≤95% (room air)
•Clear airway
•Inserted : oropharyngeal / nasopharyngeal airway
•O2 mask c bag 10-12 LPM /Hold mask with bag
10- 12 LPM
•Monitor V/S, N/S, O2 sat
•Prepare definite airway : endotracheal tube
cricothyrodotomy
•Nursing record
Patent airway
•O2 mask with bag 10-12 LPM
•Monitor V/S, N/S, O2 sat
•Nursing record
Obstructed airway
Definite care
•Assess airway compromise
•Manual maneuvers : chin lift, jaw thrust
•Inserted cervical collar
Notify
Reassessment
Airway management and C-spine protection
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
• Assess airway compromise
• Manual maneuvers: chin lift, jaw thrust
• Protect C-spine
1
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Talk to the patient
 Patent airway and ventilation
 Verbal response
Assess airway compromise
• Definite airway
• Assist ventilation
• Supplement oxygen
• Prevent aspiration
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
การเปิดทางเดินหายใจ
 เปิดทางเดินหายใจด้วยวิธีจัดท่า
Head tilt-chin lift maneuver
Jaw thrust maneuver
Triple airway
 เปิดทางเดินหายใจด้วยการใส่ท่อเปิดทางเดินหายใจ
oral airway
nasopharyngeal airway
 เปิดทางเดินหายใจด้วยการใส่ช่วยหายใจ
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
https://www.google.co.th/search
=Head+tilt-chin+lift+maneuver&authuser
http://modern-
prepper.com/tag/medicine
chin lift
Head tilt-chin lift maneuver

http://resuscitation-guidelines.
articleinmotion.com/article
https://www.google.co.th/search
=Jaw+thrust+maneuver
Jaw thrust maneuver
Modified jaw thrust
https://ambulance.qld.gov.au
Triple airway maneuver
(head tilt, jaw thrust, and open mouth)
http://ars.els-cdn.com/content
http://static.dme-direct.com/media/wysiwyg
http://i.ytimg.com
https://www.google.co.th/search=maneuver&authuser
http://resuscitation-
guidelines.articleinmotion.com
https://www.google.co.th/search=cross+finger
http://resuscitation-
guidelines.articleinmotion.com
Patent airway Obstructed airway
• O2 mask with bag
10-12 LPM
• Monitor V/S, N/S,
O2 sat
• Nursing record
• Clear airway
• Inserted airway
• O2 mask with bag 10
LPM or Hold mask
with bag 10 LPM
(11 LPM)
• Monitor V/S, N/S,
O2sat
• Prepare definite airway
• Nursing record
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
•Clear airway
•Inserted : oropharyngeal / nasopharyngeal airway
•O2 mask c bag 10-12 LPM /Hold mask with bag
10- 12 LPM
•Monitor V/S, N/S, O2 sat
•Prepare definite airway : endotracheal tube
cricothyrodotomy
•Nursing record
Nursing Record
Patent airway
•O2 mask with bag 10-12 LPM
•Monitor V/S, N/S, O2 sat
•Nursing record
Obstructed airway
Definite care
•Assess airway compromise
•Manual maneuvers : chin lift, jaw thrust
•Inserted cervical collar
Notify
Reassessment
1
2
3
4
5
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
6
Oxygen supplement
https://www.google.co.th/search=Triple+airway+(head+tilt,+jaw+thrust,
+and+open+mouth)+maneuver&authuser
การช่วยหายใจด้วย face mask
1. ทรวงอกขยายขยับขึ้น-ลงตามการบีบ bag
ตัว bag ไม่แฟบ สีผิวผู้บาดเจ็บหรือผู้ป่วยแดงดี
และ O2 saturation ดีขึ้น
2. ไม่มีเสียงลมรั่วออกจากหน้ากาก
3. ไม่มีแรงต้านมากเกินไปขณะบีบ bag
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
การประเมินการหายใจ
• ถ้าคุณภาพการหายใจไม่ดี หรือไม่เพียงพอ
ต้องให้ Mask with reservoir bag 11 LPM
• ถ้าไม่หายใจต้องช่วยหายใจ ออกซิเจน Mask
with Ambubag บีบ 8–10 ครั้ง/นาที
เปิดออกซิเจน 10–15 LPM
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Face mask แล้ว ยังพร่องออกซิเจน
1. เปิดทางเดินหายใจใหม่ ด้วยวิธี jaw thrust
2. ใส่ oropharyngeal หรือ nasopharyngeal airway
3. ใช้สองมือจับหน้ากากครอบให้สนิท แล้วให้ผู้ช่วยบีบ
bag แทน
4. เปลี่ยนขนาดของ mask ให้เหมาะกับใบหน้าของ
ผู้บาดเจ็บหรือผู้ป่วยฉุกเฉินมากขึ้น
5. ประเมินสิ่งแปลกปลอมในทางเดินหายใจซ้า และ clear
airway
6. ถ้ายังไม่ดีขึ้น รีบรายงานแพทย์ และเตรียมช่วยแพทย์
ใส่ท่อช่วยหายใจ
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
การพิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจ
• มีการอุดตันของระบบทางเดินหายใจส่วนบน
(acute airway obstruction)
• ไม่หายใจ (apnea)
• มีภาวะ hypoxia
• มีบาดแผลถูกยิงหรือแทงที่คอ และมีก้อน
hematoma ใหญ่ในคอ
• บาดเจ็บที่ศีรษะ มีคะแนน GCS ต่ากว่า 8
• บาดเจ็บหลายระบบและอยู่ในภาวะช็อค
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
การใส่ท่อช่วยหายใจ
1. Positive pressure ventilation เพื่อช่วยการ
หายใจของผู้ป่วย กรณีที่ผู้ป่วยหยุดหายใจ
หายใจเองได้ไม่เพียงพอ หรือใช้ในการดมยาสลบ
2. Patent airway เพื่อแก้ไขภาวะทางเดินหายใจ
อุดกั้น กรณีที่การจัดท่าผู้ป่วย หรือการใส่ท่อเปิด
ทางเดินหายใจ ยังแก้ไขได้ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
การใส่ท่อช่วยหายใจ
3. Protect airway เพื่อป้ องกันการสาลักน้าลาย
น้า ย่อยอาหาร หรือเลือด เข้าสู่ทางเดินหายใจใน
ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว หรือมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่ง
กระตุ้นในทางเดินหายใจลดลง
4. Pulmonary toilet เพื่อช่วยในการดูดเสมหะ
และช่วยให้การทางานของปอดดีขึ้น
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
การเตรียมอุปกรณ์ใส่ท่อช่วยหายใจ
1. ออกซิเจนและอุปกรณ์ช่วยการหายใจ ได้แก่
ออกซิเจน Self-inflating bag หรือ AMBU
bag, airway และ face mask ที่มีขนาด
เหมาะสม
2. Laryngoscope มีไฟที่ปลาย blade พร้อมใช้
อาจเป็นชนิดโค้ง (Macintosh blade) หรือ
ตรง (Miller blade) ผู้ใหญ่นิยมใช้ blade โค้ง
เบอร์ 3 หรือ 4
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
การเตรียมอุปกรณ์ใส่ท่อช่วยหายใจ
3. ท่อช่วยหายใจ cuff ไม่มีการรั่วซึม ขนาดพอดี
ใหญ่กว่า และเล็กกว่า อย่างละ 1 ท่อ กระบอกฉีด
ยา ขนาด 10 มิลลิลิตร stylet เพื่อดัดท่อช่วย
หายใจ gel ไว้หล่อลื่น เทปเหนียว หรือเทปผูก
ท่อช่วยหายใจ
4. เครื่องดูดเสมหะ (Suction) และสายดูดเสมหะ
5. ยาหย่อนกล้ามเนื้อ ยาระงับปวด หรือยาดมสลบ
ตามแผนการรักษา
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
การช่วยแพทย์ใส่ท่อช่วยหายใจ
1. Positioning
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
https://www.google.co.th/search=sniffing+position
การช่วยแพทย์ใส่ท่อช่วยหายใจ
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
2. Preoxygenation ให้ออกซิเจน100% อัตรา
10 LPM ทาง face mask เป็นเวลาอย่างน้อย
3-5 นาที หรือหายใจเข้าออกลึกๆ 4 ครั้ง
3. ช่วยใส่ท่อช่วยหายใจ
4. ตรวจเช็คตาแหน่งของท่อช่วยหายใจ
ตรวจเช็คตาแหน่งของท่อช่วยหายใจ
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
• ฟังเสียงหายใจที่ปอดด้านบนและชายปอดด้านล่าง
• ทรวงอกสองข้างขยายตัวตามจังหวะการบีบ bag
• ขณะบีบ bag สังเกตเห็นไอหรือฝ้ าในท่อช่วย
หายใจเมื่อหายใจออก และหายไปเมื่อหายใจเข้า
• วัด end-tidal CO2
• สังเกตค่า O2 sat
• ติดตามเอ๊กซเรย์ดูตาแหน่งของท่อ ควรอยู่กึ่งกลาง
ของหลอดคอ เหนือ carina ประมาณ 2-4 ซม.
Difficult ventilation
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
• ใช้สองมือจับ face mask ไม่สามารถครอบ face
mask ให้แนบสนิทกับใบหน้าของผู้ป่วยได้
• มีก๊าซรั่วรอบๆ face mask และต้องเปิด flow ของ
ออกซิเจนในอัตราสูง
• ทรวงอกของผู้ป่วยไม่เคลื่อนไหวขณะช่วยหายใจ
หรือไม่สามารถช่วยหายใจให้ได้ ค่า O2 sat >
92%
• BMI > 26 kg/m2 ไม่มีฟัน อายุ > 55 ปี หรือมี
ประวัตินอนกรน
Appropriate airway
Laryngeal mask airway (LMA)
https://www.google.co.th/search=sniffing+position
Esophageal-tracheal combitube
https://www.google.co.th/search=sniffing+position
http://www.angelfire.com
http://img-ipad.lisisoft.com
http://www.simcen.org
ยาที่ใช้กับผู้ป่วยฉุกเฉินในระยะแรกรับ
• Beta-2 agonists ใช้กับผู้ป่วยที่มีหอบหืด ทาให้
กล้ามเนื้อเรียบของหลอดลมคลายตัว ชนิดออกฤทธ์
สั้นประมาณ 4-6 ชม.ได้แก่ bricanyl, Ventolin
• Anticholinergic drugs ทาให้กล้ามเนื้อเรียบ
หลอดลมหดตัว ถ้ายับยั้งการทางานตัวรับนี้ ก็จะทา
ให้กล้ามเนื้อเรียบของหลอดลมคลายตัวได้
• Methyxanthines ออกฤทธิ์โดยยับยั้ง
phosphodiesterase Enzyme ถ้าให้ร่วมกับ
ยากลุ่ม beta-2 agonists จะเสริมฤทธิ์ในการ
ขยายหลอดลม
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Monitoring
Adequate ventilation
Prevent hypoxemia.
• V/S, N/S, O2 sat
• Breath sounds, Chest movement
• Signs of respiratory distress.
• Life threatened chest injury.
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Assessment competency
Basic
level
๐-๑ ปี
Doing
level
> ๑-๓ ปี
Develop
level
> ๓-๕ ปี
Advance
level
> ๕-๑๐ ปี
Expert
level
> ๑๐ ปี
ประเมิน
ผู้ป่วยที่อยู่
ในภาวะ
คุกคามชีวิต
ภายใต้การ
นิเทศ
ประเมิน
อาการและ
ระบุปัญหา
ของผู้ป่วยที่
อยู่ในระยะ
คุกคามชีวิต
ให้คาปรึกษา
แนะนาการ
ประเมิน
ผู้ป่วยที่อยู่ใน
ระยะคุกคาม
ชีวิตแก่ทีม
ได้
นิเทศและ
กากับการ
ประเมิน
ผู้ป่วยที่อยู่
ในระยะ
คุกคามชีวิต
ได้
พัฒนาแนว
ปฏิบัติใน
การดูแล
ผู้ป่วยที่อยู่
ในระยะ
คุกคามชีวิต
ร่วมกับทีม
สหสาขา
วิชาชีพ
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Signs of
inadequate ventilation
• Cyanosis
• Restlessness / anxiety
• Respiratory rate and effort
• Respiratory distress / labored breathing
• Chest asymmetry / paradoxical breathing
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Initial care competency
Basic
level
๐-๑ ปี
Doing level
> ๑-๓ ปี
Develop
level
> ๓-๕ ปี
Advance
level
> ๕-๑๐ ปี
Expert
level
> ๑๐ ปี
ให้การช่วย
เหลือเบื้อง
ต้น แก้ไข
ภาวะคุกคาม
ชีวิตได้ และ
ปฏิบัติการ
ช่วยชีวิต
ภายใต้การ
นิเทศ
ให้การช่วย
เหลือเบื้องต้น
ปฏิบัติ การ
ช่วยชีวิต
แก้ไขภาวะ
คุกคามตาม
ลาดับขั้นตอน
เป็นที่ปรึกษา
และให้แนะนา
ในการช่วย
เหลือเบื้องต้น
แก้ไขภาวะ
คุกคามและ
ปฏิบัติการช่วย
ชีวิตแก่ทีมได้
วิเคราะห์และ
ประเมินผล
การช่วยเหลือ
เบื้องต้น
แก้ไขภาวะ
คุกคามและ
ปฏิบัติการ
ช่วยชีวิตของ
ทีมได้
พัฒนาแนว
ปฏิบัติในการ
การช่วยเหลือ
เบื้องต้น การ
แก้ไขภาวะ
คุกคามและ
ปฏิบัติการ
ช่วยชีวิตร่วม
กับทีมสห
สาขาวิชาชีพ
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Notify:
Inadequate ventilation
• Airway obstruction
• Hoarseness
• Subcutaneous
emphysema
• Palpable fracture
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
• Asymmetrical of
the chest
• Labored breathing
• Decreased or
absent breath
sounds
• Tachypnea
The simple physiological signs,
of which is
the respiratory rate
is the most sensitive.
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
เครือข่ายพยาบาลอุบัติเหตุ
แห่งประเทศไทย
เครือข่ายพยาบาลอุบัติเหตุแห่งประเทศไทย
ชมรมพยาบาลศัลยกรรมอุบัติเหตุแห่งประเทศไทย
www.slideshare.net/krongdai

Contenu connexe

Tendances

PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009taem
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationNarenthorn EMS Center
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลpiyarat wongnai
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Utai Sukviwatsirikul
 
Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceBasic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceLoveis1able Khumpuangdee
 
Pain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesPain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesAphisit Aunbusdumberdor
 
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานBLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานPaleenui Jariyakanjana
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNarenthorn EMS Center
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 Yanee Tongmanee
 
การวัดควา..
การวัดควา..การวัดควา..
การวัดควา..piyarat wongnai
 
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลการอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลChutchavarn Wongsaree
 

Tendances (20)

PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
Septic Shock
Septic ShockSeptic Shock
Septic Shock
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
 
Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceBasic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
 
Pain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesPain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nurses
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานBLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
 
Ventilator
VentilatorVentilator
Ventilator
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
VAP
VAPVAP
VAP
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
 
การวัดควา..
การวัดควา..การวัดควา..
การวัดควา..
 
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลการอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
 
Abdominal Trauma (Thai)
Abdominal Trauma (Thai)Abdominal Trauma (Thai)
Abdominal Trauma (Thai)
 

En vedette

การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดการดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดtechno UCH
 
การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuNantawan Tippayanate
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 

En vedette (6)

Ems hypovolemic shock
Ems hypovolemic shockEms hypovolemic shock
Ems hypovolemic shock
 
Airway (Thai)
Airway (Thai)Airway (Thai)
Airway (Thai)
 
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดการดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
 
การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msu
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 

Similaire à การจัดการทางเดินหายใจ

BTLS & Trauma Team Response.pptx
BTLS & Trauma Team Response.pptxBTLS & Trauma Team Response.pptx
BTLS & Trauma Team Response.pptxKrongdai Unhasuta
 
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็กแนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็กUtai Sukviwatsirikul
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน Wan Ngamwongwan
 
Port a cath By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
Port a cath  By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital  Port a cath  By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
Port a cath By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital Parinya Damrongpokkapun
 
Trauma treatment skills for nurses 22 พค.2558
Trauma treatment skills for nurses  22 พค.2558Trauma treatment skills for nurses  22 พค.2558
Trauma treatment skills for nurses 22 พค.2558Krongdai Unhasuta
 
TAEM10:Airway care
TAEM10:Airway careTAEM10:Airway care
TAEM10:Airway caretaem
 
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfTraum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfKrongdai Unhasuta
 
Foreign Body
Foreign BodyForeign Body
Foreign Bodyyinyinyin
 
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจSusheewa Mulmuang
 
Osce examination si116
Osce examination si116Osce examination si116
Osce examination si116vora kun
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองWan Ngamwongwan
 

Similaire à การจัดการทางเดินหายใจ (20)

BTLS & Trauma Team Response.pptx
BTLS & Trauma Team Response.pptxBTLS & Trauma Team Response.pptx
BTLS & Trauma Team Response.pptx
 
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็กแนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
 
Port a cath By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
Port a cath  By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital  Port a cath  By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
Port a cath By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
Pneumonia
PneumoniaPneumonia
Pneumonia
 
Hyperbaric oxygen therapy
Hyperbaric oxygen therapyHyperbaric oxygen therapy
Hyperbaric oxygen therapy
 
Trauma treatment skills for nurses 22 พค.2558
Trauma treatment skills for nurses  22 พค.2558Trauma treatment skills for nurses  22 พค.2558
Trauma treatment skills for nurses 22 พค.2558
 
Respiratory1 2
Respiratory1 2Respiratory1 2
Respiratory1 2
 
TAEM10:Airway care
TAEM10:Airway careTAEM10:Airway care
TAEM10:Airway care
 
Sinusitis
SinusitisSinusitis
Sinusitis
 
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfTraum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
 
Foreign Body
Foreign BodyForeign Body
Foreign Body
 
PACU
PACUPACU
PACU
 
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
Osce examination si116
Osce examination si116Osce examination si116
Osce examination si116
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
Cpg ped
Cpg pedCpg ped
Cpg ped
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 

Plus de Krongdai Unhasuta

Trauma in geriatric patients
Trauma in geriatric patientsTrauma in geriatric patients
Trauma in geriatric patientsKrongdai Unhasuta
 
Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast Track
Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast TrackTrauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast Track
Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast TrackKrongdai Unhasuta
 
5 scope and practice _ update 17 เมย. 2560
5  scope and practice  _ update 17 เมย. 25605  scope and practice  _ update 17 เมย. 2560
5 scope and practice _ update 17 เมย. 2560Krongdai Unhasuta
 
4 research utilization & qi _ update 17 เมย. 2560
4  research utilization & qi  _ update 17 เมย. 25604  research utilization & qi  _ update 17 เมย. 2560
4 research utilization & qi _ update 17 เมย. 2560Krongdai Unhasuta
 
3 how to develop guideline and protocol _ update 17 เมยฬ 2560
3  how to develop guideline and protocol  _ update 17 เมยฬ 25603  how to develop guideline and protocol  _ update 17 เมยฬ 2560
3 how to develop guideline and protocol _ update 17 เมยฬ 2560Krongdai Unhasuta
 
2 trauma care & outcome _ update 17 เมย. 2560
2  trauma care & outcome  _ update 17 เมย. 25602  trauma care & outcome  _ update 17 เมย. 2560
2 trauma care & outcome _ update 17 เมย. 2560Krongdai Unhasuta
 
1. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 2560
1. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 25601. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 2560
1. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 2560Krongdai Unhasuta
 
ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยKrongdai Unhasuta
 
Implement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpgImplement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpgKrongdai Unhasuta
 
Road map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in erRoad map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in erKrongdai Unhasuta
 
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติหลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติKrongdai Unhasuta
 
Common problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderlyCommon problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderlyKrongdai Unhasuta
 
Trauma scoring 23 พค.2558
Trauma scoring 23 พค.2558Trauma scoring 23 พค.2558
Trauma scoring 23 พค.2558Krongdai Unhasuta
 
Trauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurseTrauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurseKrongdai Unhasuta
 
Life threatening chest injuries 15 พค.2558
Life threatening chest injuries 15 พค.2558Life threatening chest injuries 15 พค.2558
Life threatening chest injuries 15 พค.2558Krongdai Unhasuta
 
Hemorrhagic shock 15 พค.2558
Hemorrhagic shock 15 พค.2558Hemorrhagic shock 15 พค.2558
Hemorrhagic shock 15 พค.2558Krongdai Unhasuta
 
Management of traumatic brain injury
Management of traumatic brain injuryManagement of traumatic brain injury
Management of traumatic brain injuryKrongdai Unhasuta
 
Management of multiple trauma
Management of multiple traumaManagement of multiple trauma
Management of multiple traumaKrongdai Unhasuta
 
Monitor traumatic shock 16 พค.58
Monitor traumatic shock  16 พค.58Monitor traumatic shock  16 พค.58
Monitor traumatic shock 16 พค.58Krongdai Unhasuta
 

Plus de Krongdai Unhasuta (20)

Trauma in geriatric patients
Trauma in geriatric patientsTrauma in geriatric patients
Trauma in geriatric patients
 
Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast Track
Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast TrackTrauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast Track
Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast Track
 
5 scope and practice _ update 17 เมย. 2560
5  scope and practice  _ update 17 เมย. 25605  scope and practice  _ update 17 เมย. 2560
5 scope and practice _ update 17 เมย. 2560
 
4 research utilization & qi _ update 17 เมย. 2560
4  research utilization & qi  _ update 17 เมย. 25604  research utilization & qi  _ update 17 เมย. 2560
4 research utilization & qi _ update 17 เมย. 2560
 
3 how to develop guideline and protocol _ update 17 เมยฬ 2560
3  how to develop guideline and protocol  _ update 17 เมยฬ 25603  how to develop guideline and protocol  _ update 17 เมยฬ 2560
3 how to develop guideline and protocol _ update 17 เมยฬ 2560
 
2 trauma care & outcome _ update 17 เมย. 2560
2  trauma care & outcome  _ update 17 เมย. 25602  trauma care & outcome  _ update 17 เมย. 2560
2 trauma care & outcome _ update 17 เมย. 2560
 
1. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 2560
1. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 25601. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 2560
1. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 2560
 
Trauma scoring
Trauma scoringTrauma scoring
Trauma scoring
 
ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
 
Implement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpgImplement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpg
 
Road map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in erRoad map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in er
 
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติหลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
 
Common problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderlyCommon problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderly
 
Trauma scoring 23 พค.2558
Trauma scoring 23 พค.2558Trauma scoring 23 พค.2558
Trauma scoring 23 พค.2558
 
Trauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurseTrauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurse
 
Life threatening chest injuries 15 พค.2558
Life threatening chest injuries 15 พค.2558Life threatening chest injuries 15 พค.2558
Life threatening chest injuries 15 พค.2558
 
Hemorrhagic shock 15 พค.2558
Hemorrhagic shock 15 พค.2558Hemorrhagic shock 15 พค.2558
Hemorrhagic shock 15 พค.2558
 
Management of traumatic brain injury
Management of traumatic brain injuryManagement of traumatic brain injury
Management of traumatic brain injury
 
Management of multiple trauma
Management of multiple traumaManagement of multiple trauma
Management of multiple trauma
 
Monitor traumatic shock 16 พค.58
Monitor traumatic shock  16 พค.58Monitor traumatic shock  16 พค.58
Monitor traumatic shock 16 พค.58
 

การจัดการทางเดินหายใจ