SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  3
ใบความรู้ที่ 1
เรื่อง ประวัติและขั้นตอนการทาโปรแกรมด้วยภาษาซี
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
ภาษาซีเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1972 ผู้คิดค้นคือ Dennis Rittchie โดยพัฒนามาจากภาษาB และ
ภาษา BCPL แต่ยังไม่มีการใช้งานอย่างกว้างขวางนัก ในปี ค.ศ. 1978 Brain Kernighan ได้ร่วมกับ Dennis
Ritchie มาพัฒนามาตรฐานของภาษาซี เรียกว่า K&R ทาให้มีผู้สนใจเกี่ยวกับภาษาซีมากขึ้น
จึงเกิดภาษาซีอีกหลายรูปแบบเพราะยังไม่มีการกาหนดรูปแบบภาษาซีที่เป็นมาตรฐาน และในปี 1988
Ritchie จึงได้กาหนดมาตรฐานของภาษาซีเรียกว่าANSI
C เพื่อใช้เป็นตัวกาหนดมาตรฐานในการสร้างภาษาซีรุ่นต่อไปภาษาซี
เป็นภาษาระดับกลางเหมาะสมสาหรับการเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง
เป็นภาษาที่มีความยืดหยุ่นมากคือใช้งานได้กับเครื่องต่างๆ
ได้และปัจจุบันภาษาซีเป็นภาษาพื้นฐานของภาษาโปรแกรมรุ่นใหม่ๆ เช่น C++
ขั้นตอนการทาโปรแกรมด้วยภาษาซี
ขั้นตอนที่1 เขียนโปรแกรม (source code)
ใช้editor เขียนโปรแกรมภาษาซีและทาการบันทึกไฟล์ให้มีนามสกุลเป็น .c เช่น work.c เป็นต้น
editor คือ โปรแกรมที่ใช้สาหรับการเขียนโปรแกรม โดยตัวอย่างของ editor ที่นิยมนามาใช้ในการเขียนโ
ปรแกรมได้แก่ Notepad,Edit ของ Dos ,TextPad และ EditPlus เป็นต้น
ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเลือกใช้โปรแกรมใดในการเรียนโปรแกรมก็ได้ แล้วแต่ความถนัดของแต่ละบุคคล
ขั้นตอนที่ 2 คอมไพล์โปรแกรม (compile)
นา source
code จากขั้นตอนที่ 1 มาทาการคอมไพล์ เพื่อแปลจากภาษาซีที่มนุษย์เข้าใจไปเป็นภาษาเครื่องที่คอมพิวเตอ
ร์เข้าใจได้ ในขั้นตอนนี้คอมไพเลอร์จะทาการตรวจสอบ source code ว่าเกิดข้อผิดพลาดหรือไม่
· หากเกิดข้อผิดพลาด
จะแจ้งให้ผู้เขียนโปรแกรมทราบ ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องกลับไปแก้ไขโปรแกรม และทาการคอมไพล์โปร
แกรมใหม่อีกครั้ง
· หากไม่พบข้อผิดพลาด คอมไพเลอร์จะแปลไฟล์ source
code จากภาษาซีไปเป็นภาษาเครื่อง(ไฟล์นามสกุล .obj) เช่นถ้าไฟล์ source
code ชื่อ work.c ก็จะถูกแปลไปเป็นไฟล์ work.obj ซึ่งเก็บภาษาเครื่องไว้เป็นต้น
compile เป็นตัวแปลภาษารูปแบบหนึ่ง มีหน้าที่หลักคือการแปลภาษาโปรแกรมที่มนุษย์เขียนขึ้นไ
ปเป็นภาษาเครื่อง โดยคอมไพเลอร์ของภาษาซี คือ C
Compiler ซึ่งหลักการที่คอมไพเลอร์ใช้ เรียกว่า คอมไพล์(compile) โดยจะทาการอ่านโปรแกรมภาษาซีทั้ง
หมดตั้งแต่ต้นจนจบ แล้วทาการแปลผลทีเดียว
นอกจากคอมไพเลอร์แล้ว ยังมีตัวแปลภาษาอีกรูปแบบหนึ่งที่เรียกว่า อินเตอร์พรีเตอร์ การอ่านและ
แปลโปรแกรมทีละบรรทัด เมื่อแปลผลบรรทัดหนึ่งเสร็จก็จะทางานตามคาสั่งในบรรทัดนั้น แล้วจึงทาการ
แปลผลตามคาสั่งในบรรทัดถัดไป หลักการที่อินเตอร์พรีเตอร์ใช้เรียกว่า อินเตอร์เพรต (interpret)
ข้อดีและข้อเสียของตัวแปลภาษาทั้งสองแบบมีดังนี้
ข้อดี ข้อเสีย
คอมไพเ
ลอร์
· ทางานได้เร็ว เนื่องจากทาการแปลผลทีเดียว
แล้วจึงทางานตามคาสั่งของโปรแกรมในภายหลัง
· เมื่อทาการแปลผลแล้ว ในครั้งต่อไปไม่จาเป็น
ต้องทาการแปลผลใหม่อีก
เนื่องจากภาษาเครื่องที่แปลได้จะถูกเก็บไว้ที่หน่วยค
วามจา สามารถเรียกใช้งานได้ทันที
· เมื่อเกิดข้อผิดพลาดขึ้นกับโปรแกรม
จะตรวจสอบหาข้อผิดพลาดได้ยาก
เพราะทาการแปลผลทีเดียวทั้งโปรแกรม
อินเตอร์
พรีเตอร์
· หาข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้ง่าย
เนื่องจากทาการแปลผลทีละบรรทัด
· เนื่องจากทางานทีละบรรทัดดังนั้นจึงสั่งให้โปร
แกรมทางานตามคาสั่งเฉพาะจุดที่ต้องการได้
· ไม่เสียเวลารอการแปลโปรแกรมเป็นเวลานาน
· ช้าเนื่องจากที่ทางานทีละบรรทัด
ขั้นตอนที่ 3 เชื่อมโยงโปรแกรม (link)
การเขียนโปรแกรมภาษาซีนั้นผู้เขียนโปรแกรมไม่จาเป็นต้องเขียนคาสั่งต่าง ๆ
ขึ้นใช้งานเอง เนื่องจากภาษาซีมีฟังก์ชั้นมาตรฐานให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเรียกใช้งานได้
เช่น การเขียนโปรแกรมแสดงข้อความ “Lumpangkanyanee” ออกทางหน้าจอ ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเรีย
กใช้ฟังก์ชั่น printf() ซึ่งเป็นฟังก์ชั่น มาตรฐานของภาษาซีมาใช้งานได้ โดยส่วนการประกาศ (declarat
ion) ของฟังก์ชั่นมาตรฐานต่าง ๆ จะถูกจัดเก็บอยู่ในเฮดเดอร์ไฟล์แต่ละตัว
แตกต่างกันไปตามลักษณะการใช้งาน
ด้วยเหตุนี้ภาษาเครื่องที่ได้จากขั้นตอนที่ 2 จึงยังไม่สามารถนาไปใช้งานได้
แต่ต้องนามาเชื่อมโยงเข้ากับ library ก่อน ซึ่งผลจากการเชื่อมโยงจะทาให้ได้ executable program
(ไฟล์นามสกุล.exe เช่น work.exe) ที่สามารถนาไปใช้งานได้
ขั้นตอนที่ 4ประมวลผล (run)
เมื่อนา executable
program จากขั้นตอนที่ 3 มาประมวลผลก็จะได้ผลลัพธ์ (output) ของโปรแกรมออกมา (ถ้ามี)
รูปที่ 1 ขั้นตอนการทาโปรแกรมด้วยภาษาซี

Contenu connexe

Similaire à ใบความรู้ที่1

ใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซี
ใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซีใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซี
ใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซีdechathon
 
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์  อาจแก้วน.ส. มณีรัตน์  อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้วManeerat Artgeaw
 
ประวัติ ภาษาซี 2
ประวัติ ภาษาซี 2ประวัติ ภาษาซี 2
ประวัติ ภาษาซี 2del1997
 
ประวัติ ภาษาซี
ประวัติ ภาษาซีประวัติ ภาษาซี
ประวัติ ภาษาซีdel1997
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1HamHam' Kc
 
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18noo Carzy
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา Cnutty_npk
 
นันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณนันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณNarongrit Hotrucha
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Tanadon Boonjumnong
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีChatman's Silver Rose
 

Similaire à ใบความรู้ที่1 (18)

ใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซี
ใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซีใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซี
ใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซี
 
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์  อาจแก้วน.ส. มณีรัตน์  อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
 
ภาษาC
ภาษาCภาษาC
ภาษาC
 
ประวัติ ภาษาซี 2
ประวัติ ภาษาซี 2ประวัติ ภาษาซี 2
ประวัติ ภาษาซี 2
 
ประวัติ ภาษาซี
ประวัติ ภาษาซีประวัติ ภาษาซี
ประวัติ ภาษาซี
 
ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา C
 
C
CC
C
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
นันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณนันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณ
 
ความเป็นมาของภาษาซี
ความเป็นมาของภาษาซีความเป็นมาของภาษาซี
ความเป็นมาของภาษาซี
 
Microsoft word document
Microsoft word documentMicrosoft word document
Microsoft word document
 
Pawina5 4 20
Pawina5 4 20Pawina5 4 20
Pawina5 4 20
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 
Pbl1
Pbl1Pbl1
Pbl1
 
P bl1
P bl1P bl1
P bl1
 

Plus de Bipor Srila

ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Bipor Srila
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีBipor Srila
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีBipor Srila
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1Bipor Srila
 
การนำเสนอผลงาน
การนำเสนอผลงานการนำเสนอผลงาน
การนำเสนอผลงานBipor Srila
 
การนำเสนอผลงาน
การนำเสนอผลงานการนำเสนอผลงาน
การนำเสนอผลงานBipor Srila
 

Plus de Bipor Srila (6)

ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
การนำเสนอผลงาน
การนำเสนอผลงานการนำเสนอผลงาน
การนำเสนอผลงาน
 
การนำเสนอผลงาน
การนำเสนอผลงานการนำเสนอผลงาน
การนำเสนอผลงาน
 

ใบความรู้ที่1

  • 1. ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ประวัติและขั้นตอนการทาโปรแกรมด้วยภาษาซี ประวัติความเป็นมาภาษาซี ภาษาซีเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1972 ผู้คิดค้นคือ Dennis Rittchie โดยพัฒนามาจากภาษาB และ ภาษา BCPL แต่ยังไม่มีการใช้งานอย่างกว้างขวางนัก ในปี ค.ศ. 1978 Brain Kernighan ได้ร่วมกับ Dennis Ritchie มาพัฒนามาตรฐานของภาษาซี เรียกว่า K&R ทาให้มีผู้สนใจเกี่ยวกับภาษาซีมากขึ้น จึงเกิดภาษาซีอีกหลายรูปแบบเพราะยังไม่มีการกาหนดรูปแบบภาษาซีที่เป็นมาตรฐาน และในปี 1988 Ritchie จึงได้กาหนดมาตรฐานของภาษาซีเรียกว่าANSI C เพื่อใช้เป็นตัวกาหนดมาตรฐานในการสร้างภาษาซีรุ่นต่อไปภาษาซี เป็นภาษาระดับกลางเหมาะสมสาหรับการเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง เป็นภาษาที่มีความยืดหยุ่นมากคือใช้งานได้กับเครื่องต่างๆ ได้และปัจจุบันภาษาซีเป็นภาษาพื้นฐานของภาษาโปรแกรมรุ่นใหม่ๆ เช่น C++ ขั้นตอนการทาโปรแกรมด้วยภาษาซี ขั้นตอนที่1 เขียนโปรแกรม (source code) ใช้editor เขียนโปรแกรมภาษาซีและทาการบันทึกไฟล์ให้มีนามสกุลเป็น .c เช่น work.c เป็นต้น editor คือ โปรแกรมที่ใช้สาหรับการเขียนโปรแกรม โดยตัวอย่างของ editor ที่นิยมนามาใช้ในการเขียนโ ปรแกรมได้แก่ Notepad,Edit ของ Dos ,TextPad และ EditPlus เป็นต้น ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเลือกใช้โปรแกรมใดในการเรียนโปรแกรมก็ได้ แล้วแต่ความถนัดของแต่ละบุคคล ขั้นตอนที่ 2 คอมไพล์โปรแกรม (compile) นา source code จากขั้นตอนที่ 1 มาทาการคอมไพล์ เพื่อแปลจากภาษาซีที่มนุษย์เข้าใจไปเป็นภาษาเครื่องที่คอมพิวเตอ ร์เข้าใจได้ ในขั้นตอนนี้คอมไพเลอร์จะทาการตรวจสอบ source code ว่าเกิดข้อผิดพลาดหรือไม่ · หากเกิดข้อผิดพลาด จะแจ้งให้ผู้เขียนโปรแกรมทราบ ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องกลับไปแก้ไขโปรแกรม และทาการคอมไพล์โปร แกรมใหม่อีกครั้ง
  • 2. · หากไม่พบข้อผิดพลาด คอมไพเลอร์จะแปลไฟล์ source code จากภาษาซีไปเป็นภาษาเครื่อง(ไฟล์นามสกุล .obj) เช่นถ้าไฟล์ source code ชื่อ work.c ก็จะถูกแปลไปเป็นไฟล์ work.obj ซึ่งเก็บภาษาเครื่องไว้เป็นต้น compile เป็นตัวแปลภาษารูปแบบหนึ่ง มีหน้าที่หลักคือการแปลภาษาโปรแกรมที่มนุษย์เขียนขึ้นไ ปเป็นภาษาเครื่อง โดยคอมไพเลอร์ของภาษาซี คือ C Compiler ซึ่งหลักการที่คอมไพเลอร์ใช้ เรียกว่า คอมไพล์(compile) โดยจะทาการอ่านโปรแกรมภาษาซีทั้ง หมดตั้งแต่ต้นจนจบ แล้วทาการแปลผลทีเดียว นอกจากคอมไพเลอร์แล้ว ยังมีตัวแปลภาษาอีกรูปแบบหนึ่งที่เรียกว่า อินเตอร์พรีเตอร์ การอ่านและ แปลโปรแกรมทีละบรรทัด เมื่อแปลผลบรรทัดหนึ่งเสร็จก็จะทางานตามคาสั่งในบรรทัดนั้น แล้วจึงทาการ แปลผลตามคาสั่งในบรรทัดถัดไป หลักการที่อินเตอร์พรีเตอร์ใช้เรียกว่า อินเตอร์เพรต (interpret) ข้อดีและข้อเสียของตัวแปลภาษาทั้งสองแบบมีดังนี้ ข้อดี ข้อเสีย คอมไพเ ลอร์ · ทางานได้เร็ว เนื่องจากทาการแปลผลทีเดียว แล้วจึงทางานตามคาสั่งของโปรแกรมในภายหลัง · เมื่อทาการแปลผลแล้ว ในครั้งต่อไปไม่จาเป็น ต้องทาการแปลผลใหม่อีก เนื่องจากภาษาเครื่องที่แปลได้จะถูกเก็บไว้ที่หน่วยค วามจา สามารถเรียกใช้งานได้ทันที · เมื่อเกิดข้อผิดพลาดขึ้นกับโปรแกรม จะตรวจสอบหาข้อผิดพลาดได้ยาก เพราะทาการแปลผลทีเดียวทั้งโปรแกรม อินเตอร์ พรีเตอร์ · หาข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้ง่าย เนื่องจากทาการแปลผลทีละบรรทัด · เนื่องจากทางานทีละบรรทัดดังนั้นจึงสั่งให้โปร แกรมทางานตามคาสั่งเฉพาะจุดที่ต้องการได้ · ไม่เสียเวลารอการแปลโปรแกรมเป็นเวลานาน · ช้าเนื่องจากที่ทางานทีละบรรทัด ขั้นตอนที่ 3 เชื่อมโยงโปรแกรม (link)
  • 3. การเขียนโปรแกรมภาษาซีนั้นผู้เขียนโปรแกรมไม่จาเป็นต้องเขียนคาสั่งต่าง ๆ ขึ้นใช้งานเอง เนื่องจากภาษาซีมีฟังก์ชั้นมาตรฐานให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเรียกใช้งานได้ เช่น การเขียนโปรแกรมแสดงข้อความ “Lumpangkanyanee” ออกทางหน้าจอ ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเรีย กใช้ฟังก์ชั่น printf() ซึ่งเป็นฟังก์ชั่น มาตรฐานของภาษาซีมาใช้งานได้ โดยส่วนการประกาศ (declarat ion) ของฟังก์ชั่นมาตรฐานต่าง ๆ จะถูกจัดเก็บอยู่ในเฮดเดอร์ไฟล์แต่ละตัว แตกต่างกันไปตามลักษณะการใช้งาน ด้วยเหตุนี้ภาษาเครื่องที่ได้จากขั้นตอนที่ 2 จึงยังไม่สามารถนาไปใช้งานได้ แต่ต้องนามาเชื่อมโยงเข้ากับ library ก่อน ซึ่งผลจากการเชื่อมโยงจะทาให้ได้ executable program (ไฟล์นามสกุล.exe เช่น work.exe) ที่สามารถนาไปใช้งานได้ ขั้นตอนที่ 4ประมวลผล (run) เมื่อนา executable program จากขั้นตอนที่ 3 มาประมวลผลก็จะได้ผลลัพธ์ (output) ของโปรแกรมออกมา (ถ้ามี) รูปที่ 1 ขั้นตอนการทาโปรแกรมด้วยภาษาซี