SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  26
 
 
1.  เสียงเกิดจาก ? ก .  เกิดจากการได้ยินด้วยหูของมนุษย์ ข .  เกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุ ค .  เกิดจากการหยุดนิ่งของวัตถุ ง .  เกิดจากการหยุดนิ่งของสิ่งมีชีวิต 2.  ระดับเสียงหมายถึง ? ก .  ความเร็ว  –  ความช้าของเสียง ข .  เสียงชัดเจน  –  เสียงที่ไม่ชัดเจน ค .  เสียงระยะใกล้  –  ระยะไกล ง .  เสียงสูง  –  เสียงต่ำ
3.  การที่เสียงพูดของมนุษย์แต่ละคนจะไม่เหมือนกัน บางคนเสียงทุ่มใหญ่ต่ำกังวานมีอำนาจ บางคนเสียงเล็กแหลมใสไพเราะ บางคนเสียงสูง เนื่องมาจากอะไร ? ก .  ขึ้นอยู่กับการมีคุณภาพของเสียงหรือลักษณะเฉพาะต่างกัน เช่น ขนาด    และลักษณะของวัตถุที่เป็นแหล่งกำเนิดเสียง ข .  ขึ้นอยู่กับจำนวนโอเวอร์โทนที่เกิดจากแหล่งกำเนิดเสียงนั้นๆ ค .  ขึ้นอยู่กับปัจจัยของสิ่งแวดล้อม ง .  ขึ้นอยู่กับกรรมพันธุ์ และพันธุกรรมของแต่ละบุคคล
4.  มลพิษทางเสียงหมายถึงอะไร ? ก .  เสียงที่เราฟังไม่รู้เรื่อง จนทำให้เราสื่อสารไม่สามารถสื่อ   สารหรือรับฟังได้ ข .  เสียงที่ทำให้เราหวาดกลัวเกินไปจนก่อให้เกิดความหวาดกลัว   สภาวะเสียงที่ดังเกินไปจนก่อให้เกิดความรำคาญ หรือก่อให้เกิด   ค .  อันตรายต่อระบบการได้ยินของมนุษย์และสัตว์ ง .  สภาวะเสียงที่ทำให้เราตื่นตัว 5.  ผลกระทบที่เกิดจากปัญหามลพิษทางเสียง ? ก .  สร้างความรำคาญ และอาจก่อให้เกิดความผิดปกติต่อหูของมนุษย์ ข .  สร้างความสบายใจ และผ่อนคลายให้กับมนุษย์ ค .  สร้างความสงบ และสมาธิให้แก่มนุษย์ ง .  ทำให้มนุษย์มีความสุข และสนุกสนาน
ธรรมชาติของเสียง   และมลพิษทางเสียง ธรรมชาติของเสียง   เสียงเป็นคลื่นกลที่ใช้อากาศพาหนะ เกิดจากการสั่นของวัตถุ เมื่อวัตถุสะเทือนก็จะทำให้เกิดการอัดตัวและขยายตัวของคลื่นเสียงส่งผ่านตัวกลาง เช่น อากาศไปยังหู แต่เสียงสามารถเดินทางผ่านแก๊ส ของเหลว และของแข็งได้ แต่ไม่สามารเดินทางผ่านสุญญากาศได้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],3.  ความดัง ปริมาณของพลังงานเสียงที่มาถึงหูของเรา เรียกว่า  ความดังของเสียง  เราสามารถได้ยินเสียงที่มีความดังพอเหมาะ เสียงที่มีความดังมาก คือ เสียงที่มีพลังงานมาก พลังงานเสียงที่ตกตั้งฉากบนหนึ่งหน่วยพื้นที่ในหนึ่งหน่วยเวลา เรียกว่า  ความเข้มเสียง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ตัวกลางของเสียง   มี     1.  ของแข็ง เช่น โลหะต่าง ๆ     2.  ของเหลว เช่น น้ำ     3.  ก๊าซ   มลพิษทางเสียง ภาวะมลพิษทางเสียง  (  Noise Pollution )   หมายถึง   สภาวะเสียงที่ดังเกินไปจนก่อให้เกิดความรำคาญ   หรือก่อให้เกิดอันตรายต่อระบบการได้ยินของมนุษย์และสัตว์ ผลกระทบจากภาวะมลพิษทางเสียง สร้างความรำคาญ   และอาจก่อให้เกิดความผิดปกติต่อหูของมนุษย์ การป้องกันและแก้ไขภาวะมลพิษทางเสียง  รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรู้ถึงอันตรายจากภาวะมลพิษทางเสียง   และร่วมมือกันป้องกันมิให้เกิดมลพิษทางเสียง
ธรรมชาติของเสียง เสียงเป็นคลื่นกลที่ใช้อากาศพาหนะ เกิดจากการสั่นของวัตถุ เมื่อวัตถุสะเทือนก็จะทำให้เกิดการอัดตัวและขยายตัวของคลื่นเสียงส่งผ่านตัวกลาง เช่น อากาศไปยังหู แต่เสียงสามารถเดินทางผ่านแก๊ส ของเหลว และของแข็งได้ แต่ไม่สามารเดินทางผ่านสุญญากาศได้ 1.  ระดับเสียง  ( pitch ) ระดับเสียงหมายถึง เสียงสูง  –  เสียงต่ำ เป็นการรับรู้ลักษณะคลื่นเสียงของมนุษย์ ซึ่งมีค่าขึ้นอยู่กับความถี่ของคลื่นเสียงนั้น สิ่งที่ทำให้เสียงแต่ละเสียงมีระดับเสียงที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับการสั่นสะเทือนของวัตถุ วัตถุที่สั่นสะเทือนเร็วจะให้เสียงที่มีความถี่สูงกว่าวัตถุที่สั่นสะเทือนช้า โดยคลื่นเสียงที่มีความถี่สูง มนุษย์จะรับรู้ว่าเป็นเสียงแหลม ส่วนคลื่นเสียงที่มีความถี่ต่ำมนุษย์จะรับรู้ว่าเป็นเสียงต่ำ หรือเสียงทุ้ม เสียงจากแหล่งกำเนิดที่แตกต่างกันมีลักษณะหรือรูปแบบความถี่ที่ต่างกัน
2.  คุณภาพเสียง คุณภาพเสียง หมายถึง ลักษณะเฉพาะตัวของเสียงจากแหล่งกำเนิดเสียงแต่ละชนิด เช่น เสียงจากปี่หรือเสียงจากไวโอลินจะแตกต่างกัน ทั้งๆที่เล่นดนตรีโน้ตตัวเดียวกัน แต่เสียงที่เกิดขึ้นจะต่างกัน เมื่อเราฟังเพลงจากวงดนตรีวงหนึ่ง เครื่องดนตรีทุกชนิดจะเล่นเพลงเดียวกัน แต่เราสามารถแยกได้ว่าเสียงที่ได้ยินนั้นมาจากเครื่องดนตรีประเภทใด เช่น เสียงมาจากไวโอลิน หรือเปียโน เป็นต้น การที่เราสามารถแยกลักษณะของเสียงได้นั้น เนื่องจากคลื่นเสียงทั้งสองมีคุณภาพของเสียงต่างกัน คุณภาพของเสียงขึ้นอยู่กับจำนวนโอเวอร์โทนที่เกิดจากแหล่งกำเนิดเสียงนั้นๆ และแสดงออกมาเด่น จึงไพเราะต่างกันนอกจากนี่คุณภาพของเสียงยังขึ้นอยู่กับความเข้มของเสียงอีกด้วย เสียงพูดของมนุษย์แต่ละคนจะไม่เหมือนกัน บางคนเสียงทุ่มใหญ่ต่ำกังวานมีอำนาจ บางคนเสียงเล็กแหลมใสไพเราะ บางคนเสียงสูง เนื่องจากมีคุณภาพของเสียงหรือลักษณะเฉพาะต่างกัน สิ่งที่ทำให้คุณภาพของเสียงจากแหล่งกำเนิดต่างกันคือ ชนิด ขนาด และลักษณะของวัตถุที่เป็นแหล่งกำเนิดเสียง ที่ทำให้เสียงที่เกิดขึ้นมีความชัดเจนกังวาน
แหล่งกำเนิดเสียง  เนื่องจากเสียงเกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุ ดังนั้นความถี่ของคลื่นเสียงจึงเท่ากับ ความถี่ของการสั่นของวัตถุ โดยคลื่นเสียงจะกระจายเป็นวงกลมรอบ ๆ แหล่งกำเนิดเสียงนั้น   แหล่งกำเนิดเสียง มี   1.  เกิดจากการสั่นของสายหรือแท่ง เช่น ไวโอลีน ส้อมเสียง ขิม ฯลฯ   .....
2.  เกิดจากการสั่นของผิว เช่น กลอง ฉิ่ง ฉาบ ลำโพง ฯลฯ 3.  เกิดจากการสั่นของลำอากาศ เช่น ขลุ่ย ปี่ แคน นกหวีด ฯลฯ
ตัวกลางของเสียง    คลื่นเสียงจะเดินทางมีถึงผู้ฟังได้ ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ เช่น ขณะที่นักเรียนพูดกับเพื่อนเสียงเดินทางผ่านอากาศมาถึงหูเพื่อนจึงจะได้ยิน เสียง หรือเมื่อคนงานซ่อมรางรถไฟเอาหูแนบกับรางรถไฟฟังเสียงว่ามีรถไฟมาหรือไม่ นั่นแสดงว่าเสียงต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่   ตัวกลางของเสียง  มี     1.  ของแข็ง เช่น โลหะต่าง ๆ     2.  ของเหลว เช่น น้ำ     3.  ก๊าซ     เสียงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางต่าง ๆ ได้ดีไม่เท่ากัน ตัวกลางต่างชนิดกันซึ่งมีอุณหภูมิเท่ากันจะมีอัตราเร็วต่างกัน
อัตราเร็วของเสียงในตัวกลางต่าง ๆ ที่อุณหภูมิ  25  องศาเซลเซียส จากตารางบอกได้ว่า  เสียงจากแหล่งกำเนิดเดียวกันเดินทางในตัวกลางที่เป็นของแข็งจะเคลื่อนที่ได้เร็วกว่าตัวกลางที่เป็นของเหลว และตัวกลางที่เป็นของเหลวเสียงจะเคลื่อนที่ได้เร็วกว่าตัวกลางที่เป็นก๊าซ
3.  ความดัง ปริมาณของพลังงานเสียงที่มาถึงหูของเรา เรียกว่า  ความดังของเสียง  เราสามารถได้ยินเสียงที่มีความดังพอเหมาะ เสียงที่มีความดังมาก คือ เสียงที่มีพลังงานมาก พลังงานเสียงที่ตกตั้งฉากบนหนึ่งหน่วยพื้นที่ในหนึ่งหน่วยเวลา เรียกว่า  ความเข้มเสียง  ซึ่งมีปริมาณที่ใช้วัดความดังหรือพลังงานของเสียง มีหน่วยเป็น วัตต์ / ตารางเมตร  ตารางแสดงระดับความเข้มเสียงโดยประมาณจากแหล่งกำเนิดเสียงต่างๆ ระดับความเข้มเสียง  ( เดซิเบล ) แหล่งกำเนิดเสียง 0 ขีดเริ่มการได้ยินของมนุษย์ 30 เสียงกระซิบ หรือเสียงในห้องสมุดที่เงียบสงัด 60 เสียงสนทนาทั่วไป เสียงจักรเย็บผ้า หรือเสียงเครื่องพิมพ์ดีด 85 เสียงตะโกนข้ามเขา หรือพื้นที่โล่งกว้าง เพื่อให้ได้ยินเสียงสะท้อนของตนเองกลับมา
ระดับความเข้มเสียง ( เดซิเบล ) แหล่งกำเนิดเสียง 90 เสียงเครื่องตัดหญ้า เสียงเครื่องจักรในโรงงานหรือเสียงรถบรรทุก  (  ไม่ควรได้ยินเกินวันละ  8   ชั่วโมง  ) 100 เสียงขุดเจาะถนน เสียงเลื่อยไฟฟ้า หรือเครื่องเจาะที่ใช้ลม  (  ไม่ควรได้ยินเกินวันละ  8   ชั่วโมง  ) 115 เสียงระเบิดหิน เสียงในคอนเสิร์ต หรือเสียงแตรรถ  (  ไม่ควรได้ยินเกินวันละ  15   นาที  ) 140 เสียงยิงปืนทเสียงเครื่องบินขึ้น ซึ่งเป็นเสียงที่ปวดหู และอาจทำให้หูเสื่อมได้ แม้จะได้ยินเพียงครั้งเดียวก็ตาม ดังนั้น ผู้ที่จำเป็นต้องอยู่กับเสียงระดับนี้ต้อใส่อุปกรณ์ป้องกันหูเสมอ
มลพิษทางเสียง ภาวะมลพิษทางเสียง  (  Noise Pollution )   หมายถึง สภาวะเสียงที่ดังเกินไปจนก่อให้เกิดความรำคาญ หรือก่อให้เกิดอันตรายต่อระบบการได้ยินของมนุษย์และสัตว์ แหล่งกำเนิดภาวะมลพิษทางเสียง         1.  การจราจร มาจากยานพาหนะประเภทต่างๆ เช่น รถไฟ รถยนต์ รถจักรยานยนต์ รถบรรทุก เรือหางยาว และเครื่องบิน เป็นต้น         2.  สถานประกอบการต่างๆ ได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรม การก่อสร้าง อู่ซ่อมรถ เป็นต้น         3.  ชุมชนและสถานบริการ ได้แก่ เสียงจากคนหรือเครื่องใช้ภายในบ้าน เช่น วิทยุ โทรทัศน์ และเสียงในย่านธุรกิจการค้า สถานบันเทิงเริงรมย์ เป็นต้น   ระดับเสียงจากกิจกรรมต่าง ๆ
การวัดระดับเสียงจากกิจกรรมต่างๆ มีหน่วยเป็น เดซิเบลเอ  ( Decibel A)   มีดังนี้ เครื่องบิน 130 เดซิเบลเอ เสียงเจาะถนน 120 เดซิเบลเอ โรงงานผลิตอลูมิเนียม 100-120 เดซิเบลเอ วงดนตรีร็อค 108-114 เดซิเบลเอ งานค็อกเทลที่มีแขกประมาณ  100  คน 100 เดซิเบลเอ รถสามล้อเครื่อง 92 เดซิเบลเอ รถบรรทุกสิบล้อ 96 เดซิเบลเอ รถยนต์ 85 เดซิเบลเอ รถจักรยานยนต์ 88 เดซิเบลเอ เสียงคนพูดโดยทั่วไป 50 เดซิเบลเอ
องค์การอนามัยโลก กำหนดระดับเสียงเป็นพิษหรือดังเกินไปไว้ที่  85  เดซิเบลเอ และระดับเสียงที่บุคคลทนรับฟังได้คือ  120  เดซิเบลเอ สำหรับประเทศไทยกำหนดค่ามาตรฐานระดับเสียงเฉลี่ย  24  ชั่วโมงไว้ที่  70  เดซิเบลเอ ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่  15 ( พ . ศ . 2540)  เรื่องกำหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป
          เราจะรู้สึกเจ็บปวดเมื่อได้รับฟังเสียงที่ดังเกินกว่า   130  เดซิเบลเอ แต่การรับฟังเสียงที่มีความดัง  70  เดซิเบลเออย่างต่อเนื่องทั้งวันก็อาจทำให้ประสาทหูเสื่อมได้ การกำหนดว่าเสียงใดเป็นเสียงรบกวนขึ้นอยู่กับปัจจัยส่วนบุคคล เช่น สภาพอารมณ์ขณะรับฟังเสียง ลักษณะของงาน สถานที่ เวลา ความทนทานและความดังของเสียง เป็นต้น หากพบว่าการยืนห่างกันประมาณหนึ่งช่วงแขนแล้วพูดคุยกันด้วยระดับเสียงปกติแล้วไม่ได้ยินหรือไม่เข้าใจกัน แสดงว่าบริเวณนั้นมีเสียงดังถึงขั้นอันตรายต่อระบบการได้ยิน
ผลกระทบจากภาวะมลพิษทางเสียง         1.  ผลกระทบต่อการได้ยิน แบ่งเป็น  3  ลักษณะคือ               -  หูหนวกทันที เกิดขึ้นจากการที่อยู่ในบริเวณที่มีเสียงดังเกิน  120  เดซิเบลเอ               -  หูอื้อชั่วคราว เกิดขึ้นเมื่ออยู่ในที่มีระดับเสียงดังตั้งแต่  80  เดซิเบลเอขึ้นไปในเวลา ไม่นานนัก               -  หูอื้อถาวร เกิดขึ้นเมื่ออยู่ในบริเวณที่มีระดับความดังมากเป็นเวลานานๆ         2.  ด้านสรีระวิทยา เช่น ผลกระทบต่อระบบการหมุนเวียนของเลือด ต่อมไร้ท่อ  อวัยวะสืบพันธุ์ ระบบประสาท และความผิดปกติของระบบการหดและบีบลำไส้ใหญ่  เป็นต้น         3.  ด้านจิตวิทยา เช่น สร้างความรำคาญ ส่งผลต่อการนอนหลับพักผ่อน ผลต่อการทำงาน และการเรียนรู้ รบกวนการสนทนาและการบันเทิง         4.  ด้านสังคม กระทบต่อการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ทำให้ขาดความสงบ         5.  ด้านเศรษฐกิจ มีผลผลิตต่ำเนื่องจากประสิทธิภาพการทำงานลดลง เสียค่าใช้จ่ายในการ ควบคุมเสียง         6.  ด้านสิ่งแวดล้อม เสียงดังมีผลต่อการดำรงชีวิตของสัตว์ เช่น ทำให้สัตว์ตกใจ และอพยพหนี   
การป้องกันและแก้ไขภาวะมลพิษทางเสียง           1.   กำหนดให้มีมาตรฐานควบคุมระดับความดังของเสียงทุกประเภท         2.  ควบคุมระดับเสียงจากแหล่งกำเนิดให้อยู่ในระดับที่ได้มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด โดย การ ใช้กระบวนการผลิตที่ไม่ใช้เสียงดัง บุผนังห้องด้วยวัสดุลดเสียง หรือกำแพงกั้นเสียง         3.  ผู้ที่อยู่ในบริเวณที่มีแหล่งกำเนิดเสียงดังควรใช้วัสดุป้องกันการได้ยินเสียงดัง เช่น เครื่องอุด หู เครื่องครอบหู เป็นต้น         4.  กำหนดเขตการใช้ที่ดินประเภทที่ก่อให้เกิดเสียงดังรำคาญ ให้อยู่ห่างจากสถานที่ที่ต้องการ ความสงบเงียบ เช่น ชุมชนพักอาศัย โรงเรียน โรงพยาบาล วัด เป็นต้น เพื่อเพิ่มระยะทาง ระหว่างแหล่งกำเนิดเสียงกับชุมชน หรือให้มีเขตกันชนเพื่อลดความดังของเสียง         5.  เข้มงวดกับการใช้มาตรการลดผลกระทบจากกิจกรรมการก่อสร้างต่างๆ         6.  ยกเว้นหรือลดภาษีในกิจกรรมหรือวัสดุอุปกรณ์สำหรับควบคุมและป้องกันภาวะมลพิษทาง เสียง         7.  ให้การศึกษาและฝึกอบรมด้านภาวะมลพิษทางเสียงแก่ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง         8.  สนับสนุนงานวิจัยเกี่ยวกับการป้องกัน ควบคุมและแก้ไขภาวะมลพิษทางเสียง         9.  สร้างเครือข่ายตรวจสอบและเฝ้าระวังแหล่งกำเนิดภาวะมลพิษภายในชุมชน         10.  รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรู้ถึงอันตรายจากภาวะมลพิษทางเสียง และ ร่วมมือกันป้องกันมิให้เกิดมลพิษทางเสียง
1.  เสียงเกิดจาก ? ก .  เกิดจากการได้ยินด้วยหูของมนุษย์ ข .  เกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุ ค .  เกิดจากการหยุดนิ่งของวัตถุ ง .  เกิดจากการหยุดนิ่งของสิ่งมีชีวิต 2.  ระดับเสียงหมายถึง ? ก .  ความเร็ว  –  ความช้าของเสียง ข .  เสียงชัดเจน  –  เสียงที่ไม่ชัดเจน ค .  เสียงระยะใกล้  –  ระยะไกล ง .  เสียงสูง  –  เสียงต่ำ
3.  การที่เสียงพูดของมนุษย์แต่ละคนจะไม่เหมือนกัน บางคนเสียงทุ่มใหญ่ต่ำกังวานมีอำนาจ บางคนเสียงเล็กแหลมใสไพเราะ บางคนเสียงสูง เนื่องมาจากอะไร ? ก .  ขึ้นอยู่กับการมีคุณภาพของเสียงหรือลักษณะเฉพาะต่างกัน เช่น ขนาด    และลักษณะของวัตถุที่เป็นแหล่งกำเนิดเสียง ข .  ขึ้นอยู่กับจำนวนโอเวอร์โทนที่เกิดจากแหล่งกำเนิดเสียงนั้นๆ ค .  ขึ้นอยู่กับปัจจัยของสิ่งแวดล้อม ง .  ขึ้นอยู่กับกรรมพันธุ์ และพันธุกรรมของแต่ละบุคคล
4.  มลพิษทางเสียงหมายถึงอะไร ? ก .  เสียงที่เราฟังไม่รู้เรื่อง จนทำให้เราสื่อสารไม่สามารถสื่อสารหรือรับฟัง   ได้ ข .  เสียงที่ทำให้เราหวาดกลัวเกินไปจนก่อให้เกิดความหวาดกลัว   สภาวะเสียงที่ดังเกินไปจนก่อให้เกิดความรำคาญ หรือก่อให้เกิด   ค .  อันตรายต่อระบบการได้ยินของมนุษย์และสัตว์ ง .  สภาวะเสียงที่ทำให้เราตื่นตัว 5.  ผลกระทบที่เกิดจากปัญหามลพิษทางเสียง ? ก .  สร้างความรำคาญ และอาจก่อให้เกิดความผิดปกติต่อหูของมนุษย์ ข .  สร้างความสบายใจ และผ่อนคลายให้กับมนุษย์ ค .  สร้างความสงบ และสมาธิให้แก่มนุษย์ ง .  ทำให้มนุษย์มีความสุข และสนุกสนาน
1.  เสียงเกิดจาก ? ตอบ  ข .   เกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุ 2.  ระดับเสียงหมายถึง ? ตอบ  ง .  เสียงสูง  –  เสียงต่ำ 3.  การที่เสียงพูดของมนุษย์แต่ละคนจะไม่เหมือนกัน บางคนเสียงทุ่มใหญ่ต่ำกังวานมีอำนาจ  บางคนเสียงเล็กแหลมใสไพเราะ บางคนเสียงสูง เนื่องมาจากอะไร ? ตอบ  ก .  ขึ้นอยู่กับการมีคุณภาพของเสียงหรือลักษณะเฉพาะต่างกัน  เช่น  ขนาด และ   ลักษณะของวัตถุที่เป็นแหล่งกำเนิดเสียง 4.  มลพิษทางเสียงหมายถึงอะไร ? ตอบ  ค .  สภาวะเสียงที่ดังเกินไปจนก่อให้เกิดความรำคาญ หรือก่อให้เกิดอันตรายต่อ   ระบบการได้ยินของมนุษย์และสัตว์ 5.  ผลกระทบที่เกิดจากปัญหามลพิษทางเสียง ? ตอบ  ก .  สร้างความรำคาญ   และอาจก่อให้เกิดความผิดปกติต่อหูของมนุษย์
หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ แรงและการเคลื่อนที่พลังงาน  ผู้เรียบเรียง อาจารย์พัฒนชัย  จันทร สำนักพิมพ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ  ( พว .)  จำกัด พ . ศ .2554 ๗๐๑ ถนนนครไชยศรี แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ อ้างอิง   :  ปาซาซอฟฟ์ ,  เจย์ เอ็ม    แสงและเสียง    กรุงเทพฯ   :  เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า , 2546. สร้างโดย :  krooaew   แหล่งอ้างอิง :   http://www.krooaew.com ที่มา   www.   rmutphysics.com/physics/oldfront/89/sound.html http://www.rayongtoday.com/forums/b60/sound-physics/ http://www.vcharkarn.com/uploads/176/176977.jpg http://www.tistr.or.th/t/publication/2/73/Image/19_1.jpg http://www.mumuu.com/pic_news/2_13823_m.jpg
 

Contenu connexe

Tendances

Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกพัน พัน
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1NooAry Diiz'za
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4Ngamsiri Prasertkul
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติnaleesaetor
 
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์krupornpana55
 
การพยากรณ์อากาศ
การพยากรณ์อากาศการพยากรณ์อากาศ
การพยากรณ์อากาศdnavaroj
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงเอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงTom Vipguest
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3Khunnawang Khunnawang
 
ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5
ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5
ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5อะลิ้ตเติ้ล นก
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 

Tendances (20)

Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
 
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
ชนิดของเมฆ
ชนิดของเมฆชนิดของเมฆ
ชนิดของเมฆ
 
การพยากรณ์อากาศ
การพยากรณ์อากาศการพยากรณ์อากาศ
การพยากรณ์อากาศ
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงเอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
 
หู
หูหู
หู
 
ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5
ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5
ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 

En vedette

มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศGreen Greenz
 
มลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำมลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำGreen Greenz
 
ขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูลขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูลGreen Greenz
 
มลพิษทางดิน
มลพิษทางดิน มลพิษทางดิน
มลพิษทางดิน Ningnoi Ohlunla
 
งานที่4 powerpoint
งานที่4 powerpointงานที่4 powerpoint
งานที่4 powerpointAmbobo
 
มลพิษทางอากาศในทับแก้ว
มลพิษทางอากาศในทับแก้วมลพิษทางอากาศในทับแก้ว
มลพิษทางอากาศในทับแก้วsilpakorn
 
มลภาวะทางอากาศ(Air pollution)
มลภาวะทางอากาศ(Air pollution)มลภาวะทางอากาศ(Air pollution)
มลภาวะทางอากาศ(Air pollution)pimpagee
 
อัตราเร็วของเสียง
อัตราเร็วของเสียงอัตราเร็วของเสียง
อัตราเร็วของเสียงพัน พัน
 
งานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงงานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงNawamin Wongchai
 
ใบความรู้+ขยะกับคุณภาพแวดล้อม การคัดแยกขยะ+ป.6+295+dltvscip6+54sc p06 f03-1page
ใบความรู้+ขยะกับคุณภาพแวดล้อม การคัดแยกขยะ+ป.6+295+dltvscip6+54sc p06 f03-1pageใบความรู้+ขยะกับคุณภาพแวดล้อม การคัดแยกขยะ+ป.6+295+dltvscip6+54sc p06 f03-1page
ใบความรู้+ขยะกับคุณภาพแวดล้อม การคัดแยกขยะ+ป.6+295+dltvscip6+54sc p06 f03-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงสื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงnatjira
 
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาลการเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาลAphisit Aunbusdumberdor
 
สื่อการสอนอาชีวอนามัย
สื่อการสอนอาชีวอนามัยสื่อการสอนอาชีวอนามัย
สื่อการสอนอาชีวอนามัยTui Ka
 
ใบความรู้+ขยะกับคุณภาพแวดล้อม การคัดแยกขยะ+ป.6+295+dltvscip6+54sc p06 f03-4page
ใบความรู้+ขยะกับคุณภาพแวดล้อม การคัดแยกขยะ+ป.6+295+dltvscip6+54sc p06 f03-4pageใบความรู้+ขยะกับคุณภาพแวดล้อม การคัดแยกขยะ+ป.6+295+dltvscip6+54sc p06 f03-4page
ใบความรู้+ขยะกับคุณภาพแวดล้อม การคัดแยกขยะ+ป.6+295+dltvscip6+54sc p06 f03-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
เรียนรู้ "ขยะ"
เรียนรู้ "ขยะ"เรียนรู้ "ขยะ"
เรียนรู้ "ขยะ"Boom Pink
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4Itt Bandhudhara
 

En vedette (20)

มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศ
 
มลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำมลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำ
 
ขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูลขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูล
 
มลพิษทางดิน
มลพิษทางดินมลพิษทางดิน
มลพิษทางดิน
 
มลพิษทางดิน
มลพิษทางดิน มลพิษทางดิน
มลพิษทางดิน
 
Envi chem
Envi chemEnvi chem
Envi chem
 
งานที่4 powerpoint
งานที่4 powerpointงานที่4 powerpoint
งานที่4 powerpoint
 
มลพิษทางอากาศในทับแก้ว
มลพิษทางอากาศในทับแก้วมลพิษทางอากาศในทับแก้ว
มลพิษทางอากาศในทับแก้ว
 
มลภาวะทางอากาศ(Air pollution)
มลภาวะทางอากาศ(Air pollution)มลภาวะทางอากาศ(Air pollution)
มลภาวะทางอากาศ(Air pollution)
 
อัตราเร็วของเสียง
อัตราเร็วของเสียงอัตราเร็วของเสียง
อัตราเร็วของเสียง
 
งานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงงานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียง
 
ใบความรู้+ขยะกับคุณภาพแวดล้อม การคัดแยกขยะ+ป.6+295+dltvscip6+54sc p06 f03-1page
ใบความรู้+ขยะกับคุณภาพแวดล้อม การคัดแยกขยะ+ป.6+295+dltvscip6+54sc p06 f03-1pageใบความรู้+ขยะกับคุณภาพแวดล้อม การคัดแยกขยะ+ป.6+295+dltvscip6+54sc p06 f03-1page
ใบความรู้+ขยะกับคุณภาพแวดล้อม การคัดแยกขยะ+ป.6+295+dltvscip6+54sc p06 f03-1page
 
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงสื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
 
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาลการเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
สื่อการสอนอาชีวอนามัย
สื่อการสอนอาชีวอนามัยสื่อการสอนอาชีวอนามัย
สื่อการสอนอาชีวอนามัย
 
Ppt+การยศ..
Ppt+การยศ..Ppt+การยศ..
Ppt+การยศ..
 
ใบความรู้+ขยะกับคุณภาพแวดล้อม การคัดแยกขยะ+ป.6+295+dltvscip6+54sc p06 f03-4page
ใบความรู้+ขยะกับคุณภาพแวดล้อม การคัดแยกขยะ+ป.6+295+dltvscip6+54sc p06 f03-4pageใบความรู้+ขยะกับคุณภาพแวดล้อม การคัดแยกขยะ+ป.6+295+dltvscip6+54sc p06 f03-4page
ใบความรู้+ขยะกับคุณภาพแวดล้อม การคัดแยกขยะ+ป.6+295+dltvscip6+54sc p06 f03-4page
 
เรียนรู้ "ขยะ"
เรียนรู้ "ขยะ"เรียนรู้ "ขยะ"
เรียนรู้ "ขยะ"
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 

Similaire à ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]

E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...มะดาโอะ มะเซ็ง
 
เรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงเรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงApinya Phuadsing
 
9789740331469
97897403314699789740331469
9789740331469CUPress
 
12.เสียง
12.เสียง12.เสียง
12.เสียงKruanek007
 
12.เสียง
12.เสียง12.เสียง
12.เสียงKruanek007
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียงthanakit553
 
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docxแผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docxssuser7ea064
 
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียงบทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียงThepsatri Rajabhat University
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

Similaire à ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54] (17)

Noise pollution
Noise pollutionNoise pollution
Noise pollution
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...
 
เรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงเรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียง
 
9789740331469
97897403314699789740331469
9789740331469
 
Sound
SoundSound
Sound
 
12.เสียง
12.เสียง12.เสียง
12.เสียง
 
P12
P12P12
P12
 
12.เสียง
12.เสียง12.เสียง
12.เสียง
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียง
 
เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docxแผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
 
เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
 
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียงบทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
 
Noise pollution
Noise pollutionNoise pollution
Noise pollution
 
งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.
งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.
งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
 

Plus de wattumplavittayacom

แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน   หลังเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน   หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียนwattumplavittayacom
 
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลกอิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลกwattumplavittayacom
 
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]wattumplavittayacom
 
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอสมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอwattumplavittayacom
 
รูปเล่มรายงาน สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)
รูปเล่มรายงาน  สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)รูปเล่มรายงาน  สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)
รูปเล่มรายงาน สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)wattumplavittayacom
 

Plus de wattumplavittayacom (6)

แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน   หลังเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน   หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
 
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลกอิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
 
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
 
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอสมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
 
รูปเล่มรายงาน สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)
รูปเล่มรายงาน  สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)รูปเล่มรายงาน  สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)
รูปเล่มรายงาน สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)
 
อบรมSme1 มฟล.1
อบรมSme1 มฟล.1อบรมSme1 มฟล.1
อบรมSme1 มฟล.1
 

ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]

  • 1.  
  • 2.  
  • 3. 1. เสียงเกิดจาก ? ก . เกิดจากการได้ยินด้วยหูของมนุษย์ ข . เกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุ ค . เกิดจากการหยุดนิ่งของวัตถุ ง . เกิดจากการหยุดนิ่งของสิ่งมีชีวิต 2. ระดับเสียงหมายถึง ? ก . ความเร็ว – ความช้าของเสียง ข . เสียงชัดเจน – เสียงที่ไม่ชัดเจน ค . เสียงระยะใกล้ – ระยะไกล ง . เสียงสูง – เสียงต่ำ
  • 4. 3. การที่เสียงพูดของมนุษย์แต่ละคนจะไม่เหมือนกัน บางคนเสียงทุ่มใหญ่ต่ำกังวานมีอำนาจ บางคนเสียงเล็กแหลมใสไพเราะ บางคนเสียงสูง เนื่องมาจากอะไร ? ก . ขึ้นอยู่กับการมีคุณภาพของเสียงหรือลักษณะเฉพาะต่างกัน เช่น ขนาด และลักษณะของวัตถุที่เป็นแหล่งกำเนิดเสียง ข . ขึ้นอยู่กับจำนวนโอเวอร์โทนที่เกิดจากแหล่งกำเนิดเสียงนั้นๆ ค . ขึ้นอยู่กับปัจจัยของสิ่งแวดล้อม ง . ขึ้นอยู่กับกรรมพันธุ์ และพันธุกรรมของแต่ละบุคคล
  • 5. 4. มลพิษทางเสียงหมายถึงอะไร ? ก . เสียงที่เราฟังไม่รู้เรื่อง จนทำให้เราสื่อสารไม่สามารถสื่อ สารหรือรับฟังได้ ข . เสียงที่ทำให้เราหวาดกลัวเกินไปจนก่อให้เกิดความหวาดกลัว สภาวะเสียงที่ดังเกินไปจนก่อให้เกิดความรำคาญ หรือก่อให้เกิด ค . อันตรายต่อระบบการได้ยินของมนุษย์และสัตว์ ง . สภาวะเสียงที่ทำให้เราตื่นตัว 5. ผลกระทบที่เกิดจากปัญหามลพิษทางเสียง ? ก . สร้างความรำคาญ และอาจก่อให้เกิดความผิดปกติต่อหูของมนุษย์ ข . สร้างความสบายใจ และผ่อนคลายให้กับมนุษย์ ค . สร้างความสงบ และสมาธิให้แก่มนุษย์ ง . ทำให้มนุษย์มีความสุข และสนุกสนาน
  • 6.
  • 7. ธรรมชาติของเสียง เสียงเป็นคลื่นกลที่ใช้อากาศพาหนะ เกิดจากการสั่นของวัตถุ เมื่อวัตถุสะเทือนก็จะทำให้เกิดการอัดตัวและขยายตัวของคลื่นเสียงส่งผ่านตัวกลาง เช่น อากาศไปยังหู แต่เสียงสามารถเดินทางผ่านแก๊ส ของเหลว และของแข็งได้ แต่ไม่สามารเดินทางผ่านสุญญากาศได้ 1. ระดับเสียง ( pitch ) ระดับเสียงหมายถึง เสียงสูง – เสียงต่ำ เป็นการรับรู้ลักษณะคลื่นเสียงของมนุษย์ ซึ่งมีค่าขึ้นอยู่กับความถี่ของคลื่นเสียงนั้น สิ่งที่ทำให้เสียงแต่ละเสียงมีระดับเสียงที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับการสั่นสะเทือนของวัตถุ วัตถุที่สั่นสะเทือนเร็วจะให้เสียงที่มีความถี่สูงกว่าวัตถุที่สั่นสะเทือนช้า โดยคลื่นเสียงที่มีความถี่สูง มนุษย์จะรับรู้ว่าเป็นเสียงแหลม ส่วนคลื่นเสียงที่มีความถี่ต่ำมนุษย์จะรับรู้ว่าเป็นเสียงต่ำ หรือเสียงทุ้ม เสียงจากแหล่งกำเนิดที่แตกต่างกันมีลักษณะหรือรูปแบบความถี่ที่ต่างกัน
  • 8. 2. คุณภาพเสียง คุณภาพเสียง หมายถึง ลักษณะเฉพาะตัวของเสียงจากแหล่งกำเนิดเสียงแต่ละชนิด เช่น เสียงจากปี่หรือเสียงจากไวโอลินจะแตกต่างกัน ทั้งๆที่เล่นดนตรีโน้ตตัวเดียวกัน แต่เสียงที่เกิดขึ้นจะต่างกัน เมื่อเราฟังเพลงจากวงดนตรีวงหนึ่ง เครื่องดนตรีทุกชนิดจะเล่นเพลงเดียวกัน แต่เราสามารถแยกได้ว่าเสียงที่ได้ยินนั้นมาจากเครื่องดนตรีประเภทใด เช่น เสียงมาจากไวโอลิน หรือเปียโน เป็นต้น การที่เราสามารถแยกลักษณะของเสียงได้นั้น เนื่องจากคลื่นเสียงทั้งสองมีคุณภาพของเสียงต่างกัน คุณภาพของเสียงขึ้นอยู่กับจำนวนโอเวอร์โทนที่เกิดจากแหล่งกำเนิดเสียงนั้นๆ และแสดงออกมาเด่น จึงไพเราะต่างกันนอกจากนี่คุณภาพของเสียงยังขึ้นอยู่กับความเข้มของเสียงอีกด้วย เสียงพูดของมนุษย์แต่ละคนจะไม่เหมือนกัน บางคนเสียงทุ่มใหญ่ต่ำกังวานมีอำนาจ บางคนเสียงเล็กแหลมใสไพเราะ บางคนเสียงสูง เนื่องจากมีคุณภาพของเสียงหรือลักษณะเฉพาะต่างกัน สิ่งที่ทำให้คุณภาพของเสียงจากแหล่งกำเนิดต่างกันคือ ชนิด ขนาด และลักษณะของวัตถุที่เป็นแหล่งกำเนิดเสียง ที่ทำให้เสียงที่เกิดขึ้นมีความชัดเจนกังวาน
  • 9. แหล่งกำเนิดเสียง เนื่องจากเสียงเกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุ ดังนั้นความถี่ของคลื่นเสียงจึงเท่ากับ ความถี่ของการสั่นของวัตถุ โดยคลื่นเสียงจะกระจายเป็นวงกลมรอบ ๆ แหล่งกำเนิดเสียงนั้น แหล่งกำเนิดเสียง มี 1. เกิดจากการสั่นของสายหรือแท่ง เช่น ไวโอลีน ส้อมเสียง ขิม ฯลฯ .....
  • 10. 2. เกิดจากการสั่นของผิว เช่น กลอง ฉิ่ง ฉาบ ลำโพง ฯลฯ 3. เกิดจากการสั่นของลำอากาศ เช่น ขลุ่ย ปี่ แคน นกหวีด ฯลฯ
  • 11. ตัวกลางของเสียง คลื่นเสียงจะเดินทางมีถึงผู้ฟังได้ ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ เช่น ขณะที่นักเรียนพูดกับเพื่อนเสียงเดินทางผ่านอากาศมาถึงหูเพื่อนจึงจะได้ยิน เสียง หรือเมื่อคนงานซ่อมรางรถไฟเอาหูแนบกับรางรถไฟฟังเสียงว่ามีรถไฟมาหรือไม่ นั่นแสดงว่าเสียงต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ตัวกลางของเสียง มี 1. ของแข็ง เช่น โลหะต่าง ๆ 2. ของเหลว เช่น น้ำ 3. ก๊าซ เสียงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางต่าง ๆ ได้ดีไม่เท่ากัน ตัวกลางต่างชนิดกันซึ่งมีอุณหภูมิเท่ากันจะมีอัตราเร็วต่างกัน
  • 12. อัตราเร็วของเสียงในตัวกลางต่าง ๆ ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส จากตารางบอกได้ว่า เสียงจากแหล่งกำเนิดเดียวกันเดินทางในตัวกลางที่เป็นของแข็งจะเคลื่อนที่ได้เร็วกว่าตัวกลางที่เป็นของเหลว และตัวกลางที่เป็นของเหลวเสียงจะเคลื่อนที่ได้เร็วกว่าตัวกลางที่เป็นก๊าซ
  • 13. 3. ความดัง ปริมาณของพลังงานเสียงที่มาถึงหูของเรา เรียกว่า ความดังของเสียง เราสามารถได้ยินเสียงที่มีความดังพอเหมาะ เสียงที่มีความดังมาก คือ เสียงที่มีพลังงานมาก พลังงานเสียงที่ตกตั้งฉากบนหนึ่งหน่วยพื้นที่ในหนึ่งหน่วยเวลา เรียกว่า ความเข้มเสียง ซึ่งมีปริมาณที่ใช้วัดความดังหรือพลังงานของเสียง มีหน่วยเป็น วัตต์ / ตารางเมตร ตารางแสดงระดับความเข้มเสียงโดยประมาณจากแหล่งกำเนิดเสียงต่างๆ ระดับความเข้มเสียง ( เดซิเบล ) แหล่งกำเนิดเสียง 0 ขีดเริ่มการได้ยินของมนุษย์ 30 เสียงกระซิบ หรือเสียงในห้องสมุดที่เงียบสงัด 60 เสียงสนทนาทั่วไป เสียงจักรเย็บผ้า หรือเสียงเครื่องพิมพ์ดีด 85 เสียงตะโกนข้ามเขา หรือพื้นที่โล่งกว้าง เพื่อให้ได้ยินเสียงสะท้อนของตนเองกลับมา
  • 14. ระดับความเข้มเสียง ( เดซิเบล ) แหล่งกำเนิดเสียง 90 เสียงเครื่องตัดหญ้า เสียงเครื่องจักรในโรงงานหรือเสียงรถบรรทุก ( ไม่ควรได้ยินเกินวันละ 8 ชั่วโมง ) 100 เสียงขุดเจาะถนน เสียงเลื่อยไฟฟ้า หรือเครื่องเจาะที่ใช้ลม ( ไม่ควรได้ยินเกินวันละ 8 ชั่วโมง ) 115 เสียงระเบิดหิน เสียงในคอนเสิร์ต หรือเสียงแตรรถ ( ไม่ควรได้ยินเกินวันละ 15 นาที ) 140 เสียงยิงปืนทเสียงเครื่องบินขึ้น ซึ่งเป็นเสียงที่ปวดหู และอาจทำให้หูเสื่อมได้ แม้จะได้ยินเพียงครั้งเดียวก็ตาม ดังนั้น ผู้ที่จำเป็นต้องอยู่กับเสียงระดับนี้ต้อใส่อุปกรณ์ป้องกันหูเสมอ
  • 15. มลพิษทางเสียง ภาวะมลพิษทางเสียง ( Noise Pollution )   หมายถึง สภาวะเสียงที่ดังเกินไปจนก่อให้เกิดความรำคาญ หรือก่อให้เกิดอันตรายต่อระบบการได้ยินของมนุษย์และสัตว์ แหล่งกำเนิดภาวะมลพิษทางเสียง         1. การจราจร มาจากยานพาหนะประเภทต่างๆ เช่น รถไฟ รถยนต์ รถจักรยานยนต์ รถบรรทุก เรือหางยาว และเครื่องบิน เป็นต้น         2. สถานประกอบการต่างๆ ได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรม การก่อสร้าง อู่ซ่อมรถ เป็นต้น         3. ชุมชนและสถานบริการ ได้แก่ เสียงจากคนหรือเครื่องใช้ภายในบ้าน เช่น วิทยุ โทรทัศน์ และเสียงในย่านธุรกิจการค้า สถานบันเทิงเริงรมย์ เป็นต้น   ระดับเสียงจากกิจกรรมต่าง ๆ
  • 16. การวัดระดับเสียงจากกิจกรรมต่างๆ มีหน่วยเป็น เดซิเบลเอ ( Decibel A) มีดังนี้ เครื่องบิน 130 เดซิเบลเอ เสียงเจาะถนน 120 เดซิเบลเอ โรงงานผลิตอลูมิเนียม 100-120 เดซิเบลเอ วงดนตรีร็อค 108-114 เดซิเบลเอ งานค็อกเทลที่มีแขกประมาณ 100 คน 100 เดซิเบลเอ รถสามล้อเครื่อง 92 เดซิเบลเอ รถบรรทุกสิบล้อ 96 เดซิเบลเอ รถยนต์ 85 เดซิเบลเอ รถจักรยานยนต์ 88 เดซิเบลเอ เสียงคนพูดโดยทั่วไป 50 เดซิเบลเอ
  • 17. องค์การอนามัยโลก กำหนดระดับเสียงเป็นพิษหรือดังเกินไปไว้ที่ 85 เดซิเบลเอ และระดับเสียงที่บุคคลทนรับฟังได้คือ 120 เดซิเบลเอ สำหรับประเทศไทยกำหนดค่ามาตรฐานระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมงไว้ที่ 70 เดซิเบลเอ ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 15 ( พ . ศ . 2540) เรื่องกำหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป
  • 18.           เราจะรู้สึกเจ็บปวดเมื่อได้รับฟังเสียงที่ดังเกินกว่า 130 เดซิเบลเอ แต่การรับฟังเสียงที่มีความดัง 70 เดซิเบลเออย่างต่อเนื่องทั้งวันก็อาจทำให้ประสาทหูเสื่อมได้ การกำหนดว่าเสียงใดเป็นเสียงรบกวนขึ้นอยู่กับปัจจัยส่วนบุคคล เช่น สภาพอารมณ์ขณะรับฟังเสียง ลักษณะของงาน สถานที่ เวลา ความทนทานและความดังของเสียง เป็นต้น หากพบว่าการยืนห่างกันประมาณหนึ่งช่วงแขนแล้วพูดคุยกันด้วยระดับเสียงปกติแล้วไม่ได้ยินหรือไม่เข้าใจกัน แสดงว่าบริเวณนั้นมีเสียงดังถึงขั้นอันตรายต่อระบบการได้ยิน
  • 19. ผลกระทบจากภาวะมลพิษทางเสียง         1. ผลกระทบต่อการได้ยิน แบ่งเป็น 3 ลักษณะคือ             - หูหนวกทันที เกิดขึ้นจากการที่อยู่ในบริเวณที่มีเสียงดังเกิน 120 เดซิเบลเอ             - หูอื้อชั่วคราว เกิดขึ้นเมื่ออยู่ในที่มีระดับเสียงดังตั้งแต่ 80 เดซิเบลเอขึ้นไปในเวลา ไม่นานนัก             - หูอื้อถาวร เกิดขึ้นเมื่ออยู่ในบริเวณที่มีระดับความดังมากเป็นเวลานานๆ         2. ด้านสรีระวิทยา เช่น ผลกระทบต่อระบบการหมุนเวียนของเลือด ต่อมไร้ท่อ อวัยวะสืบพันธุ์ ระบบประสาท และความผิดปกติของระบบการหดและบีบลำไส้ใหญ่ เป็นต้น         3. ด้านจิตวิทยา เช่น สร้างความรำคาญ ส่งผลต่อการนอนหลับพักผ่อน ผลต่อการทำงาน และการเรียนรู้ รบกวนการสนทนาและการบันเทิง         4. ด้านสังคม กระทบต่อการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ทำให้ขาดความสงบ         5. ด้านเศรษฐกิจ มีผลผลิตต่ำเนื่องจากประสิทธิภาพการทำงานลดลง เสียค่าใช้จ่ายในการ ควบคุมเสียง         6. ด้านสิ่งแวดล้อม เสียงดังมีผลต่อการดำรงชีวิตของสัตว์ เช่น ทำให้สัตว์ตกใจ และอพยพหนี  
  • 20. การป้องกันและแก้ไขภาวะมลพิษทางเสียง         1.   กำหนดให้มีมาตรฐานควบคุมระดับความดังของเสียงทุกประเภท         2. ควบคุมระดับเสียงจากแหล่งกำเนิดให้อยู่ในระดับที่ได้มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด โดย การ ใช้กระบวนการผลิตที่ไม่ใช้เสียงดัง บุผนังห้องด้วยวัสดุลดเสียง หรือกำแพงกั้นเสียง         3. ผู้ที่อยู่ในบริเวณที่มีแหล่งกำเนิดเสียงดังควรใช้วัสดุป้องกันการได้ยินเสียงดัง เช่น เครื่องอุด หู เครื่องครอบหู เป็นต้น         4. กำหนดเขตการใช้ที่ดินประเภทที่ก่อให้เกิดเสียงดังรำคาญ ให้อยู่ห่างจากสถานที่ที่ต้องการ ความสงบเงียบ เช่น ชุมชนพักอาศัย โรงเรียน โรงพยาบาล วัด เป็นต้น เพื่อเพิ่มระยะทาง ระหว่างแหล่งกำเนิดเสียงกับชุมชน หรือให้มีเขตกันชนเพื่อลดความดังของเสียง         5. เข้มงวดกับการใช้มาตรการลดผลกระทบจากกิจกรรมการก่อสร้างต่างๆ         6. ยกเว้นหรือลดภาษีในกิจกรรมหรือวัสดุอุปกรณ์สำหรับควบคุมและป้องกันภาวะมลพิษทาง เสียง         7. ให้การศึกษาและฝึกอบรมด้านภาวะมลพิษทางเสียงแก่ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง         8. สนับสนุนงานวิจัยเกี่ยวกับการป้องกัน ควบคุมและแก้ไขภาวะมลพิษทางเสียง         9. สร้างเครือข่ายตรวจสอบและเฝ้าระวังแหล่งกำเนิดภาวะมลพิษภายในชุมชน         10. รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรู้ถึงอันตรายจากภาวะมลพิษทางเสียง และ ร่วมมือกันป้องกันมิให้เกิดมลพิษทางเสียง
  • 21. 1. เสียงเกิดจาก ? ก . เกิดจากการได้ยินด้วยหูของมนุษย์ ข . เกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุ ค . เกิดจากการหยุดนิ่งของวัตถุ ง . เกิดจากการหยุดนิ่งของสิ่งมีชีวิต 2. ระดับเสียงหมายถึง ? ก . ความเร็ว – ความช้าของเสียง ข . เสียงชัดเจน – เสียงที่ไม่ชัดเจน ค . เสียงระยะใกล้ – ระยะไกล ง . เสียงสูง – เสียงต่ำ
  • 22. 3. การที่เสียงพูดของมนุษย์แต่ละคนจะไม่เหมือนกัน บางคนเสียงทุ่มใหญ่ต่ำกังวานมีอำนาจ บางคนเสียงเล็กแหลมใสไพเราะ บางคนเสียงสูง เนื่องมาจากอะไร ? ก . ขึ้นอยู่กับการมีคุณภาพของเสียงหรือลักษณะเฉพาะต่างกัน เช่น ขนาด และลักษณะของวัตถุที่เป็นแหล่งกำเนิดเสียง ข . ขึ้นอยู่กับจำนวนโอเวอร์โทนที่เกิดจากแหล่งกำเนิดเสียงนั้นๆ ค . ขึ้นอยู่กับปัจจัยของสิ่งแวดล้อม ง . ขึ้นอยู่กับกรรมพันธุ์ และพันธุกรรมของแต่ละบุคคล
  • 23. 4. มลพิษทางเสียงหมายถึงอะไร ? ก . เสียงที่เราฟังไม่รู้เรื่อง จนทำให้เราสื่อสารไม่สามารถสื่อสารหรือรับฟัง ได้ ข . เสียงที่ทำให้เราหวาดกลัวเกินไปจนก่อให้เกิดความหวาดกลัว สภาวะเสียงที่ดังเกินไปจนก่อให้เกิดความรำคาญ หรือก่อให้เกิด ค . อันตรายต่อระบบการได้ยินของมนุษย์และสัตว์ ง . สภาวะเสียงที่ทำให้เราตื่นตัว 5. ผลกระทบที่เกิดจากปัญหามลพิษทางเสียง ? ก . สร้างความรำคาญ และอาจก่อให้เกิดความผิดปกติต่อหูของมนุษย์ ข . สร้างความสบายใจ และผ่อนคลายให้กับมนุษย์ ค . สร้างความสงบ และสมาธิให้แก่มนุษย์ ง . ทำให้มนุษย์มีความสุข และสนุกสนาน
  • 24. 1. เสียงเกิดจาก ? ตอบ ข . เกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุ 2. ระดับเสียงหมายถึง ? ตอบ ง . เสียงสูง – เสียงต่ำ 3. การที่เสียงพูดของมนุษย์แต่ละคนจะไม่เหมือนกัน บางคนเสียงทุ่มใหญ่ต่ำกังวานมีอำนาจ บางคนเสียงเล็กแหลมใสไพเราะ บางคนเสียงสูง เนื่องมาจากอะไร ? ตอบ ก . ขึ้นอยู่กับการมีคุณภาพของเสียงหรือลักษณะเฉพาะต่างกัน เช่น ขนาด และ ลักษณะของวัตถุที่เป็นแหล่งกำเนิดเสียง 4. มลพิษทางเสียงหมายถึงอะไร ? ตอบ ค . สภาวะเสียงที่ดังเกินไปจนก่อให้เกิดความรำคาญ หรือก่อให้เกิดอันตรายต่อ ระบบการได้ยินของมนุษย์และสัตว์ 5. ผลกระทบที่เกิดจากปัญหามลพิษทางเสียง ? ตอบ ก . สร้างความรำคาญ และอาจก่อให้เกิดความผิดปกติต่อหูของมนุษย์
  • 25. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ แรงและการเคลื่อนที่พลังงาน ผู้เรียบเรียง อาจารย์พัฒนชัย จันทร สำนักพิมพ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ ( พว .) จำกัด พ . ศ .2554 ๗๐๑ ถนนนครไชยศรี แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ อ้างอิง : ปาซาซอฟฟ์ , เจย์ เอ็ม   แสงและเสียง   กรุงเทพฯ : เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า , 2546. สร้างโดย :  krooaew แหล่งอ้างอิง :   http://www.krooaew.com ที่มา www. rmutphysics.com/physics/oldfront/89/sound.html http://www.rayongtoday.com/forums/b60/sound-physics/ http://www.vcharkarn.com/uploads/176/176977.jpg http://www.tistr.or.th/t/publication/2/73/Image/19_1.jpg http://www.mumuu.com/pic_news/2_13823_m.jpg
  • 26.