SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  40
สมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่น การสะท้อนของคลื่น การหักเห ของคลื่น การแทรกสอดของคลื่น การเลี้ยวเบนของคลื่น คุณสมบัติ กฎการสะท้อน การสะท้อนของคลื่นในเส้นเชือก ความหมาย สมการการหัก เห มุมวิกฤต มุมสะท้อน รังสีสะท้อน ความหมาย กฎของสเนลล์
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],แบบทดสอบก่อนเรียน
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
 
การสะท้อนของคลื่น  จะเกิดขึ้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ไปพบสิ่งกีดขวาง    หรือเปลี่ยนตัวกลางในการเคลื่อนที่    โดยคลื่นที่เคลื่อนที่ไปกระทบสิ่งกีดขวางเรียกว่า คลื่นตกกระทบ และคลื่นที่สะท้อนออกมาเรียกว่าคลื่นสะท้อน ในการสะท้อนแต่ละครั้งพบว่ามุมที่หน้าคลื่นตกกระทบกระทำกับสิ่งกีดขวางจะเท่ากับมุมที่หน้าคลื่นสะท้อนกระทำกับสิ่งกีดขวางเสมอ นั่นคือการสะท้อนของคลื่นจะเป็นไปตาม กฎการสะท้อน ที่ว่า  “ เมื่อคลื่นเกิดการสะท้อนจะได้มุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อนเสมอ ”           1. การสะท้อนของคลื่น  หมายถึง  การที่คลื่นเลื่อนที่ไปตกกระทบกับสิ่งกีดขวางหรือรอยต่อระหว่างตัวกลางแล้วเปลี่ยนทิศสะท้อนกลับมาในตัวกลางเดิม
ลักษณะของคลื่นสะท้อน แบ่งออกเป็น  2  ประเภท 1.  จุดสะท้อนตรึงแน่น   คลื่นสะท้อนมีลักษณะตรงข้ามกับคลื่นตกกระทบ คือ เข้าเป็นสันคลื่นออกเป็นท้องคลื่น หรือ เข้าเป็นท้องคลื่นออกเป็นสันคลื่น หรือ คลื่นสะท้อนมีเฟสตรงข้ามกับคลื่นตกกระทบ 2.  จุดสะท้อนอิสระ   คลื่นสะท้อนมีลักษณะเหมือนกับคลื่นตกกระทบ คือ เข้าเป็นสันคลื่นออกเป็นสันคลื่น หรือ เข้าเป็นท้องคลื่นออกเป็นท้องคลื่น หรือ คลื่นสะท้อนมีเฟสเดียวกันกับคลื่นตกกระทบ
http://ebook.nfe.go.th/nfe_ebook/data_o_ebook/html/021/179
เมื่อทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นตกกระทบ ( รังสีตกกระทบ )  คือแนวที่คลื่นวิ่งเข้าชนตัวสะท้อนก่อนสะท้อน   ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นสะท้อน ( รังสีสะท้อน )  คือ แนวที่คลื่นวิ่งออกจากตัวสะท้อนหลังสะท้อน เส้นแนวฉาก  คือ เส้นที่ลากตั้งฉากกับตัวสะท้อน ณ ตำแหน่งที่คลื่นตกกระทบ มุมตกกระทบ    อาจวัดได้จากมุมที่หน้าคลื่นตกกระทบกับแนวตัวสะท้อน หรือมุมที่รังสีตกกระทบทำกับเส้นแนวฉาก มุมสะท้อน     อาจวัดได้จากมุมที่หน้าคลื่นสะท้อนทำกับแนวตัวสะท้อน    หรือมุมที่รังสีสะท้อนกับกับเส้นแนวฉาก รังสีตกกระทบ  รังสีสะท้อน  เส้นแนวฉาก  หน้าคลื่นสะท้อน  หน้าคลื่นตกกระทบ  สิ่งกีดขวาง   1  2
http://irrigation.rid.go.th/rid17/Myweb/machanical/commu/img/Reflection2...
การสะท้อนของคลื่น จะมีคุณสมบัติได้ดังนี้ 1.  ความถี่ของคลื่นสะท้อนมีค่าเท่ากับความถี่ของคลื่นตกกระทบ 2.  ความเร็วของคลื่นสะท้อนมีค่าเท่ากับความเร็วของคลื่นตกกระทบ 3.  ความยาวคลื่นของคลื่นสะท้อนมีค่าเท่ากับความยาวคลื่นของคลื่นตกกระทบ 4.  ถ้าการสะท้อนไม่มีการสูญเสียพลังงาน จะได้ว่าแอมพลิจูดของคลื่นสะท้อนมีค่าเท่ากับแอมพลิจูดของคลื่นตกกระทบ 5.  การสะท้อนของคลื่นจะเป็นไปตามกฎการสะท้อน 1 )  รังสีตกกระทบ  เส้นแนวฉาก  รังสีสะท้อน  อยู่ในระนาบเดียวกัน 2 )  มุมตกกระทบ  (   1  )  เท่ากับ  มุมสะท้อน  (   2  )
การสะท้อนของคลื่น    อาจแบ่งตามลักษณะของตัวสะท้อนได้  2  แบบ 1. ตัวสะท้อนปลายปิด http://kanchanapisek.or.th/kp9/physics/lessonplan.html
2.    ตัวสะท้อนปลายเปิด
** การสะท้อนของคลื่นที่ปลายสุดตรึงแน่น    จะทำให้เกิดคลื่นสะท้อนมีเฟสตรงข้ามกันคลื่นตกกระทบ ** การสะท้อนของคลื่นที่ปลายสุดเป็นปลายอิสระ ได้คลื่นสะท้อนมีเฟสเหมือนกับคลื่นตกกระทบทุกประการ  
คลื่นน้ำหน้าตรงสะท้อนจากผิวสะท้อนโค้ง    จะได้คลื่นสะท้อนวงกลมดังรูป
คลื่นวงกลมสะท้อนจากผิวสะท้อนโค้ง    จะได้คลื่นสะท้อนวงกลมดังรูป
คลื่นวงกลมสะท้อนจากผิวโค้งรูปพาราโบลา    เมื่อแหล่งกำเนิดคลื่นอยู่ที่จุดโฟกัสของผิวโค้งรูปพาราโบลา เมื่อคลื่นตกกระทบกับส่วนผิวโค้ง จะได้คลื่นสะท้อนหน้าตรง ดังรูป
คลื่นหน้าตรงสะท้อนจากผิวโค้งรูปพาราโบลา    จะได้คลื่นสะท้อนหน้าวงกลมเสมือนมีแหล่งกำเนิดคลื่นอยู่ที่จุดโฟกัส    ดังรูป
กิจการที่ 3.2  การสะท้อนของคลื่น เรามาดูการทดลองต่อไปนี้กันเถอะ
http://www.youtube.com/watch?v=-rzfj6NfMy4&feature=related
http://www.youtube.com/watch?v=oJKPexW8THo
เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางต่างชนิดกัน  จะทำให้ความเร็วของคลื่นและความยาวคลื่นเปลี่ยนแต่ความถี่คงเดิม  จากการทดลองของคลื่นน้ำ  พบว่าเมื่อให้คลื่นเคลื่อนที่ในทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อของตัวกลางพบว่านอกจากความเร็วของคลื่น  และความยาวคลื่นเปลี่ยนแปลงแล้ว  ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นยังเปลี่ยนแปลงด้วย  เราเรียกปรากฏการณ์ที่คลื่นเคลื่อนที่ผ่านรอยต่อระหว่างตัวกลางที่มีสมบัติต่างกัน  แล้วทำให้ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นเปลี่ยนไปเช่นนี้ว่า  “ การหักเห ” 2.  การหักเหของคลื่น
การหักเหของคลื่น  หมายถึง การที่คลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งเข้าไปในอีกตัวกลางหนึ่งที่มีคุณสมบัติต่างกันแล้ว เป็นผลให้อัตราเร็วคลื่นเปลี่ยนไปโดยทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นอาจเปลี่ยนหรือไม่เปลี่ยนก็ได้  (  ถ้าหน้าคลื่นตกกระทบขนานกับแนวรอยต่อของตัวกลางทั้งสองทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นหักเหไม่เปลี่ยนแปลง  )
เมื่อคลื่นหักเหระหว่างผิวรอยต่อของตัวกลางใดๆ ปริมาณของคลื่นที่เปลี่ยนแปลง คือ ความเร็วและความยาวคลื่น ส่วนความถี่มีค่าคงที่เพราะเป็นคลื่นต่อเนื่องที่เกิดจากแหล่งกำเนิดเดียวกัน ในการพิจารณา ความเร็ว  ( v )  และ ความยาวคลื่น   (    ) ในตัวกลางใดๆ เมื่อ ความถี่   ( f )  คงที่ สามรถพิจารณาจากสมการ  v = f    ดังรูป A B C D  1  2  1  2 หน้าคลื่นตกกระทบ หน้าคลื่นหักเห เส้นรอยต่อระหว่างตัวกลาง เส้นแนวฉาก เส้นแนวฉาก
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],“ กฎการหักเหของคลื่น ” ทิศทางของคลื่นตกกระทบ  เส้นแนวฉากและทิศทางของคลื่นหักเหอยู่ในระนาบเดียวกัน อัตราส่วนของค่า  sine  ของมุมตกกระทบต่อค่า  sine  ของมุมหักเหสำหรับตัวกลางคู่หนึ่ง ๆ จะมีค่าคงที่เสมอ
ตัวอย่าง  1 คลื่นขบวนหนึ่งเกิดจากแหล่งกำเนิด  20 Hz  เคลื่อนที่จากน้ำลึกด้วยความเร็ว  6 m/s  เข้าสู่น้ำตื้น โดยมีทิศทางตั้งฉากกับผิวรอยต่อ ถ้าความเร็วในน้ำตื้นเป็น  4 m/s  จงหาความยาวคลื่นในน้ำตื้น วิเคราะห์โจทย์ ทิศทางของคลื่นตกกระทบตั้งฉากกับผิวรอยต่อทิศทางของคลื่นหักเหไม่เปลี่ยนแปลง อัตราส่วนของค่าไซน์จึงไม่เกี่ยวข้อง ความถี่ของคลื่นในน้ำลึก  =  ความถี่ของคลื่นในน้ำตื้น   = 20 Hz ถ้าให้น้ำลึกเป็นตัวกลางที่  1  และ น้ำตื้นเป็นตัวกลางที่  2 จะได้เกี่ยวกับอัตราเร็ว  v  ว่า v 1   =  6  m/s v 2   =  4  m/s วิธีทำ หาความยาวคลื่นในน้ำลึก  จากสมการ      =  จะได้  1   =  = =  0.3  m =  หาความยาวคลื่นในน้ำตื้นจาก   =   2   =  1   x  =  0.3  m  x  =  0.2  m นั่นคือ  ความยาวคลื่นในน้ำตื้นเป็น  2 0  เซนติเมตร  ตอบ
http://th.wikipedia.org/wiki   วันที่  10  ต . ค . 2554 http:// www.trsc.ac.th/physic56/physic   http://kanchanapisek.or.th/kp9/physics/lessonplan.html   http://www.thaigoodview.com/node   http://kanchanapisek.or.th/kp9/physics/lessonplan.html   วันที่  10  ต . ค . 2554 วันที่  10  ต . ค . 2554 วันที่  10  ต . ค . 2554 วันที่  10  ต . ค . 2554
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],แบบทดสอบหลังเรียน
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]

Contenu connexe

Tendances

หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
panupong
 
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
bansarot
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557
peter dontoom
 
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแสหน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
Pornsak Tongma
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ นักเรียนชั้น ม.4-5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4-5สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4-5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ นักเรียนชั้น ม.4-5
kessara61977
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
พัน พัน
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
Panomporn Chinchana
 
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลกการเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก
A Bu'mbim Kanittha
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
Kongkrit Pimpa
 
สรุปสมบัติของคลื่น
สรุปสมบัติของคลื่นสรุปสมบัติของคลื่น
สรุปสมบัติของคลื่น
Neng Utcc
 
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้าวิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
Chanida Manonom
 

Tendances (20)

o net-2552
o net-2552o net-2552
o net-2552
 
แบบอาลักษณ์ - Peterfineart.com
แบบอาลักษณ์ - Peterfineart.comแบบอาลักษณ์ - Peterfineart.com
แบบอาลักษณ์ - Peterfineart.com
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557
 
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแสหน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ นักเรียนชั้น ม.4-5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4-5สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4-5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ นักเรียนชั้น ม.4-5
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
 
งานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสส
งานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสสงานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสส
งานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสส
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
 
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลกการเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
 
สรุปสมบัติของคลื่น
สรุปสมบัติของคลื่นสรุปสมบัติของคลื่น
สรุปสมบัติของคลื่น
 
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้าวิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 

Similaire à สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ

ปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่น
Som Kechacupt
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
rumpin
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
มะดาโอะ มะเซ็ง
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกล
Kruanek007
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกล
Kruanek007
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
thanakit553
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
kruannchem
 
แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่น
rumpin
 

Similaire à สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ (20)

ปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่น
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
WAVEs
WAVEsWAVEs
WAVEs
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1
 
1.ความหมายและชนิดของคลื่น.pptx
1.ความหมายและชนิดของคลื่น.pptx1.ความหมายและชนิดของคลื่น.pptx
1.ความหมายและชนิดของคลื่น.pptx
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899e0b881e0b8a5 2
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899e0b881e0b8a5 2E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899e0b881e0b8a5 2
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899e0b881e0b8a5 2
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
 
P11
P11P11
P11
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกล
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกล
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
 
แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่น
 
สมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่นสมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่น
 
20012554 1005492525
20012554 100549252520012554 1005492525
20012554 1005492525
 

Plus de wattumplavittayacom

แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน   หลังเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน   หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
wattumplavittayacom
 
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลกอิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
wattumplavittayacom
 
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
wattumplavittayacom
 
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
wattumplavittayacom
 
รูปเล่มรายงาน สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)
รูปเล่มรายงาน  สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)รูปเล่มรายงาน  สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)
รูปเล่มรายงาน สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)
wattumplavittayacom
 

Plus de wattumplavittayacom (6)

แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน   หลังเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน   หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
 
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลกอิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
 
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
 
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
 
รูปเล่มรายงาน สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)
รูปเล่มรายงาน  สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)รูปเล่มรายงาน  สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)
รูปเล่มรายงาน สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)
 
อบรมSme1 มฟล.1
อบรมSme1 มฟล.1อบรมSme1 มฟล.1
อบรมSme1 มฟล.1
 

สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ

  • 2. สมบัติของคลื่น การสะท้อนของคลื่น การหักเห ของคลื่น การแทรกสอดของคลื่น การเลี้ยวเบนของคลื่น คุณสมบัติ กฎการสะท้อน การสะท้อนของคลื่นในเส้นเชือก ความหมาย สมการการหัก เห มุมวิกฤต มุมสะท้อน รังสีสะท้อน ความหมาย กฎของสเนลล์
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8.  
  • 9. การสะท้อนของคลื่น จะเกิดขึ้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ไปพบสิ่งกีดขวาง   หรือเปลี่ยนตัวกลางในการเคลื่อนที่   โดยคลื่นที่เคลื่อนที่ไปกระทบสิ่งกีดขวางเรียกว่า คลื่นตกกระทบ และคลื่นที่สะท้อนออกมาเรียกว่าคลื่นสะท้อน ในการสะท้อนแต่ละครั้งพบว่ามุมที่หน้าคลื่นตกกระทบกระทำกับสิ่งกีดขวางจะเท่ากับมุมที่หน้าคลื่นสะท้อนกระทำกับสิ่งกีดขวางเสมอ นั่นคือการสะท้อนของคลื่นจะเป็นไปตาม กฎการสะท้อน ที่ว่า “ เมื่อคลื่นเกิดการสะท้อนจะได้มุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อนเสมอ ”           1. การสะท้อนของคลื่น หมายถึง การที่คลื่นเลื่อนที่ไปตกกระทบกับสิ่งกีดขวางหรือรอยต่อระหว่างตัวกลางแล้วเปลี่ยนทิศสะท้อนกลับมาในตัวกลางเดิม
  • 10. ลักษณะของคลื่นสะท้อน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. จุดสะท้อนตรึงแน่น คลื่นสะท้อนมีลักษณะตรงข้ามกับคลื่นตกกระทบ คือ เข้าเป็นสันคลื่นออกเป็นท้องคลื่น หรือ เข้าเป็นท้องคลื่นออกเป็นสันคลื่น หรือ คลื่นสะท้อนมีเฟสตรงข้ามกับคลื่นตกกระทบ 2. จุดสะท้อนอิสระ คลื่นสะท้อนมีลักษณะเหมือนกับคลื่นตกกระทบ คือ เข้าเป็นสันคลื่นออกเป็นสันคลื่น หรือ เข้าเป็นท้องคลื่นออกเป็นท้องคลื่น หรือ คลื่นสะท้อนมีเฟสเดียวกันกับคลื่นตกกระทบ
  • 12. เมื่อทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นตกกระทบ ( รังสีตกกระทบ ) คือแนวที่คลื่นวิ่งเข้าชนตัวสะท้อนก่อนสะท้อน   ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นสะท้อน ( รังสีสะท้อน ) คือ แนวที่คลื่นวิ่งออกจากตัวสะท้อนหลังสะท้อน เส้นแนวฉาก คือ เส้นที่ลากตั้งฉากกับตัวสะท้อน ณ ตำแหน่งที่คลื่นตกกระทบ มุมตกกระทบ    อาจวัดได้จากมุมที่หน้าคลื่นตกกระทบกับแนวตัวสะท้อน หรือมุมที่รังสีตกกระทบทำกับเส้นแนวฉาก มุมสะท้อน     อาจวัดได้จากมุมที่หน้าคลื่นสะท้อนทำกับแนวตัวสะท้อน   หรือมุมที่รังสีสะท้อนกับกับเส้นแนวฉาก รังสีตกกระทบ รังสีสะท้อน เส้นแนวฉาก หน้าคลื่นสะท้อน หน้าคลื่นตกกระทบ สิ่งกีดขวาง  1  2
  • 14. การสะท้อนของคลื่น จะมีคุณสมบัติได้ดังนี้ 1. ความถี่ของคลื่นสะท้อนมีค่าเท่ากับความถี่ของคลื่นตกกระทบ 2. ความเร็วของคลื่นสะท้อนมีค่าเท่ากับความเร็วของคลื่นตกกระทบ 3. ความยาวคลื่นของคลื่นสะท้อนมีค่าเท่ากับความยาวคลื่นของคลื่นตกกระทบ 4. ถ้าการสะท้อนไม่มีการสูญเสียพลังงาน จะได้ว่าแอมพลิจูดของคลื่นสะท้อนมีค่าเท่ากับแอมพลิจูดของคลื่นตกกระทบ 5. การสะท้อนของคลื่นจะเป็นไปตามกฎการสะท้อน 1 ) รังสีตกกระทบ เส้นแนวฉาก รังสีสะท้อน อยู่ในระนาบเดียวกัน 2 ) มุมตกกระทบ (  1 ) เท่ากับ มุมสะท้อน (  2 )
  • 15. การสะท้อนของคลื่น   อาจแบ่งตามลักษณะของตัวสะท้อนได้ 2 แบบ 1. ตัวสะท้อนปลายปิด http://kanchanapisek.or.th/kp9/physics/lessonplan.html
  • 17. ** การสะท้อนของคลื่นที่ปลายสุดตรึงแน่น   จะทำให้เกิดคลื่นสะท้อนมีเฟสตรงข้ามกันคลื่นตกกระทบ ** การสะท้อนของคลื่นที่ปลายสุดเป็นปลายอิสระ ได้คลื่นสะท้อนมีเฟสเหมือนกับคลื่นตกกระทบทุกประการ  
  • 18. คลื่นน้ำหน้าตรงสะท้อนจากผิวสะท้อนโค้ง   จะได้คลื่นสะท้อนวงกลมดังรูป
  • 19. คลื่นวงกลมสะท้อนจากผิวสะท้อนโค้ง   จะได้คลื่นสะท้อนวงกลมดังรูป
  • 20. คลื่นวงกลมสะท้อนจากผิวโค้งรูปพาราโบลา   เมื่อแหล่งกำเนิดคลื่นอยู่ที่จุดโฟกัสของผิวโค้งรูปพาราโบลา เมื่อคลื่นตกกระทบกับส่วนผิวโค้ง จะได้คลื่นสะท้อนหน้าตรง ดังรูป
  • 21. คลื่นหน้าตรงสะท้อนจากผิวโค้งรูปพาราโบลา   จะได้คลื่นสะท้อนหน้าวงกลมเสมือนมีแหล่งกำเนิดคลื่นอยู่ที่จุดโฟกัส   ดังรูป
  • 22. กิจการที่ 3.2 การสะท้อนของคลื่น เรามาดูการทดลองต่อไปนี้กันเถอะ
  • 25. เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางต่างชนิดกัน จะทำให้ความเร็วของคลื่นและความยาวคลื่นเปลี่ยนแต่ความถี่คงเดิม จากการทดลองของคลื่นน้ำ พบว่าเมื่อให้คลื่นเคลื่อนที่ในทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อของตัวกลางพบว่านอกจากความเร็วของคลื่น และความยาวคลื่นเปลี่ยนแปลงแล้ว ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นยังเปลี่ยนแปลงด้วย เราเรียกปรากฏการณ์ที่คลื่นเคลื่อนที่ผ่านรอยต่อระหว่างตัวกลางที่มีสมบัติต่างกัน แล้วทำให้ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นเปลี่ยนไปเช่นนี้ว่า “ การหักเห ” 2. การหักเหของคลื่น
  • 26. การหักเหของคลื่น หมายถึง การที่คลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งเข้าไปในอีกตัวกลางหนึ่งที่มีคุณสมบัติต่างกันแล้ว เป็นผลให้อัตราเร็วคลื่นเปลี่ยนไปโดยทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นอาจเปลี่ยนหรือไม่เปลี่ยนก็ได้ ( ถ้าหน้าคลื่นตกกระทบขนานกับแนวรอยต่อของตัวกลางทั้งสองทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นหักเหไม่เปลี่ยนแปลง )
  • 27. เมื่อคลื่นหักเหระหว่างผิวรอยต่อของตัวกลางใดๆ ปริมาณของคลื่นที่เปลี่ยนแปลง คือ ความเร็วและความยาวคลื่น ส่วนความถี่มีค่าคงที่เพราะเป็นคลื่นต่อเนื่องที่เกิดจากแหล่งกำเนิดเดียวกัน ในการพิจารณา ความเร็ว ( v ) และ ความยาวคลื่น (  ) ในตัวกลางใดๆ เมื่อ ความถี่ ( f ) คงที่ สามรถพิจารณาจากสมการ v = f  ดังรูป A B C D  1  2  1  2 หน้าคลื่นตกกระทบ หน้าคลื่นหักเห เส้นรอยต่อระหว่างตัวกลาง เส้นแนวฉาก เส้นแนวฉาก
  • 28.
  • 29.
  • 30.
  • 31.
  • 32.
  • 33. ตัวอย่าง 1 คลื่นขบวนหนึ่งเกิดจากแหล่งกำเนิด 20 Hz เคลื่อนที่จากน้ำลึกด้วยความเร็ว 6 m/s เข้าสู่น้ำตื้น โดยมีทิศทางตั้งฉากกับผิวรอยต่อ ถ้าความเร็วในน้ำตื้นเป็น 4 m/s จงหาความยาวคลื่นในน้ำตื้น วิเคราะห์โจทย์ ทิศทางของคลื่นตกกระทบตั้งฉากกับผิวรอยต่อทิศทางของคลื่นหักเหไม่เปลี่ยนแปลง อัตราส่วนของค่าไซน์จึงไม่เกี่ยวข้อง ความถี่ของคลื่นในน้ำลึก = ความถี่ของคลื่นในน้ำตื้น = 20 Hz ถ้าให้น้ำลึกเป็นตัวกลางที่ 1 และ น้ำตื้นเป็นตัวกลางที่ 2 จะได้เกี่ยวกับอัตราเร็ว v ว่า v 1 = 6 m/s v 2 = 4 m/s วิธีทำ หาความยาวคลื่นในน้ำลึก จากสมการ  = จะได้  1 = = = 0.3 m = หาความยาวคลื่นในน้ำตื้นจาก =  2 =  1 x = 0.3 m x = 0.2 m นั่นคือ ความยาวคลื่นในน้ำตื้นเป็น 2 0 เซนติเมตร ตอบ
  • 34. http://th.wikipedia.org/wiki วันที่ 10 ต . ค . 2554 http:// www.trsc.ac.th/physic56/physic http://kanchanapisek.or.th/kp9/physics/lessonplan.html http://www.thaigoodview.com/node http://kanchanapisek.or.th/kp9/physics/lessonplan.html วันที่ 10 ต . ค . 2554 วันที่ 10 ต . ค . 2554 วันที่ 10 ต . ค . 2554 วันที่ 10 ต . ค . 2554
  • 35.
  • 36.
  • 37.
  • 38.
  • 39.
  • 40.