SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  40
Télécharger pour lire hors ligne
การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้


                                        หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
                         การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจัดจาหน่ายได้

          การเขียนแบบเป็นการถ่ายทอดความคิดของผู้ออกแบบลงบนกระดาษอย่างเป็นระเบียบ แบบแผน เพื่อให้
บุคคลได้เข้าใจโดยไม่จากัดระยะเวลาในการศึกษาทาความเข้าใจ การเขียนแบบเป็นภาษาอย่างหนึ่งที่ใช้กันในงาน
ช่างหรืองานอุตสาหกรรม เป็นภาษาที่ถ่ายทอดความคิดหรือความต้องการของผู้ออกแบบไปให้ผู้อื่นได้ทราบและ
เข้าใจได้อย่างถูกต้องไม่คลาดเคลื่อน        โดยแบบที่เขียนขึ้นจะเป็นสื่อกลางที่จะนาความคิดไปสร้างได้อย่าง
ถูกต้อง อันจะเป็นการประหยัดและได้งานที่มีคุณภาพตรงตามความต้องการ อย่างไรก็ตามเพื่อให้ได้ความเข้าใจ
ที่ตรงกันการเขียนแบบจะต้องเป็นภาษาสากล โดยเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์และรูปแบบต่าง ๆ จะต้องเข้าใจ
ได้ง่าย
          ในงานช่าง “แบบงาน” เป็นหัวใจสาคัญหรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นภาษาสากลที่ใช้แสดงหรือสื่อความหมาย
ของงานที่จะสร้างหรือต้องการผลิตขึ้นมา ภาพหรือรูปร่างที่เรียกว่าแบบงานนั้น เขียนขึ้นโดยใช้เส้นชนิดต่าง ๆ
สัญลักษณ์และเครื่องหมายเฉพาะอื่น ๆ เมื่อประกอบกันขึ้นมาเป็นรูปทรง สามารถใช้สื่อความหมายให้ผู้เกี่ยวข้อง
ได้เห็ นรูปร่าง ขนาด ลักษณะของผิวงานชนิดของวัสดุ เข้าใจวิธีการและขั้นตอนในการสร้างหรือการผลิต
          นอกจากนี้ผู้เกี่ยวข้องยังสามารถนาแบบงานมาคานวณหาปริมาณของวัสดุ ประมาณราคาและระยะเวลา
ในการสร้างหรือผลิตงานนั้นได้ เป็นการยากที่จะระบุว่าอาชีพใดที่ไม่ต้องการ ความสามารถในการอ่านแบบและ
เข้าใจแบบ การที่จะสร้างอาคารที่พักอาศัย โต๊ะ เก้าอี้ ฯลฯ หรือของอื่นใดที่ผลิตขึ้น ต้องอาศัยการออกแบบ
และเขียนแบบขึ้นมาก่อน การเขียนแบบจะแสดงให้เห็นภาพซึ่งเป็นต้นแบบของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ

การเขียนแบบและอ่านแบบ
           การออกแบบ หมายถึง การทาต้นแบบ การทาแผนผังของแบบเพื่อสนองความคิดและความต้องการของ
ผู้ออกแบบในรูปแบบของ ความคิดสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ โดยคานึงถึงความสวยงามประโยชน์การใช้สอย ประเภท
ของการออกแบบยังรวมถึงการปรับปรุงแก้ไขสิ่งต่าง ๆ ที่มีอยู่แล้วให้เกิดความเหมาะสม กับสภาพความเป็นจริง
ขณะนั้น องค์ประกอบในการออกแบบเบื้องต้น มีดังนี้
           1. เส้น (Line) คือ สิ่งที่เชื่อมโยงระหว่างจุดสองจุดหรือจุดที่ต่อเนื่องกัน ทาให้เกิดรูปร่าง รูปทรง และ
โครงสร้าง เส้นที่ใช้ในการออกแบบ เช่น เส้นตรง เส้นนอน เส้นตั้ง เส้นทแยง และเส้นโค้ง เป็นต้น
           2. รูปร่าง (shape) คือ รูป 2 มิติ ที่มีความกว้าง ความยาว โดยมีเส้นเป็นส่วนประกอบ มีทั้งรูปร่าง
เรขาคณิต และรูปร่างอิสระ
           3. รูปทรง (Form) คือ รูปลักษณะด้านสามด้าน หรือรูปสามมิติ ที่มีความกว้าง ความยาว และความ
สูง มีเนื้อที่ภายในขอบเขต เช่น รูปทรงเรขาคณิต รูปทรงอิสระ เป็นต้น
           4. สัดส่วน (Proportion)คือ ความสัมพันธ์ระหว่างความกว้าง ความยาว และความสูง ความสัมพันธ์
ระหว่างส่วนต่าง ๆ เป็นสัดส่วนต่อกันช่วยให้ส่วนประกอบของรูปทรงมีความสัมพันธ์กันในลักษณะกลม กลืนกัน
หรือขัดแย้งกัน
           5. วัสดุและพื้นผิว (Material and Texture)คือ วัตถุดิบที่จะนามาใช้ในการออกแบบ มีลักษณะของ
พื้นผิวที่แตกต่างกัน สามารถรับรู้ได้จากการมองเห็นหรือการสัมผัส เพื่อที่จะนามาใช้ในการออกแบบได้อย่าง
ถูกต้อง
           6. สี (Color) สีที่ให้ความรู้สึกที่ปรากฏให้เห็นด้วยคลื่นแสง สีช่วยทาให้งานออกแบบมีความรู้สึกและได้
อารมณ์มากยิ่งขึ้น

นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                        หน้า 1
การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้

         การนาเอาหลักการทั้งหมดขององค์ประกอบในการออกแบบมาสร้างหรือผลิตชิ้นงานทางช่าง ขึ้นอยู่กับ
ความเหมาะสมและความต้องการของผู้ออกแบบ ที่จะจัดองค์ประกอบต่าง ๆ ผสมผสานกัน จนเป็นผลงานที่มี
ความสมบูรณ์ออกมา
         การเขียนแบบ หมายถึง การนาเอาความคิดสร้างสร รค์มาเขียนหรือแสดงออกเป็นรูปแบบ โดยการใช้เส้น
รูปภาพ หรือสัญลักษณ์ พร้อมรายการประกอบแบบ เป็นการแสดงให้เห็นรูปลักษณะที่เหมือนของจริง สามารถ
นาไปใช้สร้างหรือผลิตชิ้นงานได้จริง เป็นการแสดงโครงสร้าง รูปด้าน รูปลักษณะภายในของสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ
ซึ่งแบบที่ใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่ รูปแปลน (Plan) รูปด้าน (Elevation) รูปตัด (Section) และรูปขยาย (Detail)
         โดยปกติทั่วไป สามารถมองเห็นว่าวัตถุทั้งหลายล้วนประกอบด้วยด้าน               6    ด้าน คือ ด้านบ น
ด้านล่าง ด้านหน้า ด้านหลัง ด้านซ้าย และด้านขวา แต่ในวิชาเขียนแบบ วัตถุที่นาไปเขียนจะ
ประกอบด้วย รูปแปลน รูปด้านหน้า รูปด้านข้าง และรูปด้านหลัง ซึงแต่ละรูปมีความหมายดังนี้
                                                                     ่
         1. รูปแปลน (Plan) หมายถึง รูปที่มองเห็นจากด้านบนลงมา ประกอบด้วยส่วนกว้าง ส่วนยาว
         2. รูปด้านหน้า (Front Elevation) หมายถึงรูปที่มองเห็นจากด้านหน้าเข้าไป ซึ่งประกอบด้วยส่วนกว้าง
และส่วนยาว
         3. รูปด้านข้าง(Side Elevation) หมายถึงรูปที่มองเห็นจากด้านซ้ายหรือด้านขวาไปประกอบด้วยส่วนยาว
และส่วนสูง
         4. รูปด้านหลัง (Rear Elevation) หมายถึง รูปที่มองเห็นจากส่วนด้านหลังเข้ามา ประกอบด้วยส่วนกว้าง
และส่วนสูง
         5. รูปตัด (Section) เป็นการตัดสิ่งที่ต้องการทราบในส่วนที่มองไม่เห็นหรืออยู่ภายใน ซึ่งไม่สามารถแสดง
ให้เห็นได้อย่างชัดเจน ดังนั้นจึงต้องมีการเขียน ภาพตัดเพื่อแสดงรายละเอียดของส่ว นสาคัญต่าง ๆใ ห้เข้าใจและ
นาไปใช้งานได้ ภาพตัดจะมีการเติมสัญลักษณ์การตัด แสดงขอบเขต ตาแหน่งและทิศทางที่ถูกตัดพร้อมมีอักษร
กากับไว้ เพื่อให้สะดวกแก่การทาความเข้าใจ
         6. รูปขยาย (Detail) เป็นการเขียนแบบส่วนรายละเอียดของชิ้นงานเฉพาะจุดให้ชัดเจนด้วยการขยาย
มาตรา ส่วนให้ใหญ่ขนกว่าเดิม เช่น 2 : 1 หรือ 5 :1 เป็นต้น
                      ึ้

เครื่องมือและอุปกรณ์ในการเขียนแบบ
           เครื่องมือและอุปกรณ์ในการเขียนแบบ เป็นสิ่งจาเป็นสาหรับงานเขียนแบบซึ่งจะทาให้งานเขียนแบบมี
มาตรฐาน และมีคุณภาพ ประหยัดเวลาในการทางาน จาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีความรู้ความเข้าใจในเครื่องมือ และ
อุปกรณ์ในการเขียนแบบซึ่งมีหลายชนิดให้เลือกแต่ละชนิดจะมีลักษณะการใช้ที่แตกต่างกัน และมีลักษณะการใช้
เฉพาะอย่าง เช่น ไม้ที ใช้สาหรับการตีเส้นโดยเฉพาะ ถ้าหากนาไปใช้ร่วมกับมีดตัดกระดาษใบมีดอาจตัดเอา
เนื้อไม้ที เมื่อนาไปขีดเส้นตรงก็จะไม่ได้เส้นตรงตามต้องการ เครื่องมือเขียนแบบที่จาเป็นมีดังนี้
           1. ชนิดของเครื่องมือและอุปกรณ์เขียนแบบ
           เครื่องมือมีส่วนที่จะช่วยให้งานเขียนแบบมีคุณภาพได้มาตรฐาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการเขียน
แบบพื้นฐานประกอบด้วย
                     - โต๊ะเขียนแบบและกระดานเขียนแบบ
                     การเขียนแบบจะใช้โต๊ะเขียนแบบซึ่งมีโครงสร้างแตกต่างกันไปแล้วแต่บริษัทผู้ออกแบบ แต่
โดยทั่วไปจะมีความสูงเป็นมาตรฐานเดียวกัน หรือบางชนิดอาจปรับความสูงให้เหมาะสมกับการใช้งานได้ พื้นโต๊ะ
จะเรียบเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขอบด้านข้างตรงและได้ฉาก มีขนาดต่างกัน ที่นิยมใช้มากที่สุดคือ 500 x 600 มม.


นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                   หน้า 2
การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้




                                         รูปที่ 4.1 โต๊ะเขียนแบบ

       2. อุปกรณ์ที่ใช้ขีดเส้น
       อุปกรณ์ที่ใช้ในการขีดเส้น ได้แก่ ไม้ที บรรทัดสามเหลี่ยม และบรรทัดสเกล
                 - ไม้ที เป็นเครื่องมือที่สาคัญในการเขียนแบบ ไม้ที มีส่วนประกอบ 2 ส่วน คือส่วนหัวและส่วนใบ
ทาจากไม้เนื้อแข็ง หรือ พลาสติกใส ทั้ง 2 ส่วน จะยึดตั้งฉากกัน ไม้ทใช้สาหรับขีดเส้นในแนวนอน และใช้ประกอบ
                                                                   ี
กับฉากสามเหลี่ยม ขีดเส้นในแนวตั้งฉาก และขีดเส้นเอียงทามุมต่างๆ




                รูปที่ 4.2 ไม้ทีรูปที่                                   4.3 บรรทัดสามเหลี่ยม

                   - บรรทัดสามเหลี่ยม โดยทั่วไปทาจากพลาสติกใส เพื่อจะได้มองเห็นส่วนอื่นๆ ของแบบได้อย่าง
ชัดเจน บรรทัดสามเหลี่ยมใช้สาหรับขีดเส้นดิ่งและเส้นเอนทามุมต่างๆ ปกติจะใช้คู่กับ ไม้ที มี 2 แบบ คือ แบบ
ตายตัว ซึ่งมีค่ามุม 45-90-45 องศา กับค่ามุม 30-90-60 องศา และแบบปรับมุมต่างๆ ได้
                   - บรรทัดมาตราส่วน ใช้วัดขนาด มีความยาวต่างกัน ตั้งแต่ 150, 300, 400, และ 600 มิลลิเมตร
มีมาตราส่วนต่างๆ เพื่อใช้เขียนรูปได้หลายขนาด คือ
                            - มาตราส่วนขนาดเท่าของจริง 1 : 1
                           - มาตราส่วนย่อ 1 : 2, 1 : 5, 1 : 10, 1 : 100, 1 : 1000 เป็นต้น
                           - มาตราส่วนขยาย 2 : 1, 5 : 1, 10 : 1, 100 : 1, 1000 : 1 เป็นต้น
                   มาตราส่วนเท่าของจริง, มาตราส่วนย่อ, หรือมาตราส่านขยาย จะนาไปใช้งานในแต่ละประเภท
ไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับลักษณะงาน
        3. อุปกรณ์เขียนส่วนโค้ง
        อุปกรณ์ที่ใช้ในการเขียนส่วนโค้ง มีหลายแบบขึ้นอยู่กับลักษณะงานและการนาไปใช้ เช่น วงเวียน
แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ วงเวียนที่ใช้เขียนส่วนโค้ง และวงเวียนที่ใช้ถ่ายขนาด เป็นต้น
                 - วงเวียน เป็นอุปกรณ์สาหรับเขียนวงกลม หรือส่วนโค้ง ควรเลือกใช้ให้เหมาะสม
นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                  หน้า 3
การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้

                - วงเวียนถ่ายขนาด เป็นวงเวียนที่มีปลายแหลม 2 ข้าง วงเวียนชนิดนี้ใช้สาหรับถ่ายขนาดที่วัด
ขนาดจากฟุตเหล็ก หรือฉากสามเหลี่ยม แล้วนาไปถ่ายลงบนแบบทาให้สามารถแบ่งเส้นตรง แบ่งวงกลมให้มีขนาด
เท่าๆ กันได้สะดวกและรวดเร็วง่ายต่อการเขียนแบบ
                 - บรรทัดเขียนส่วนโค้ง(Curves) เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยในการเขียนส่วนโค้งชนิดหนึ่ง การใช้บรรทัด
ส่วนโค้งจะต้องใช้ส่วนโค้งของบรรทัดสัมผัสจุด อย่างน้อย 3 จุด เพื่อให้ได้ส่วนโค้งที่ดี มีความต่อเนื่อง ซึงต่างกับ
                                                                                                       ่
การใช้วงเวียนที่มีระยะรัศมีเท่ากันทุกจุดของเส้นโค้งนั้นๆ แผ่นโค้งนี้ให้ความสะดวกในการทางานสูง ซึ่งผู้ใช้เอง
ก็ต้องระมัดระวังในการใช้งานให้ดี หมุนปรับให้ได้ตาแหน่ง




                รูปที่ 4.4 วงเวียน                                  รูปที่ 4.5 บรรทัดเขียนส่วนโค้ง
         4. กระดาษเขียนแบบ
         กระดาษเขียนแบบที่นิยมใช้ในปัจจุบัน แบ่งออกเป็น 2 ระบบ คือ ระบบนิ้ว และระบบมิลลิเมตร ต่อมาได้
ปรับปรุงให้เป็นระบบสากล โดยใช้ระบบ ISO ซึ่งยอมรับทั้งระบบอเมริกันและยุโรป นอกจากนั้น ประเทศไทย
ยังได้ผลิตมาตรฐานเป็น (มอก.) โดยการเขียนแบบทั่วไปทางเครื่องกลซึ่งมีลักษณะเช่นเดียวกับมาตรฐาน ISO ซึง
                                                                                                   ่
มาตรฐานของกระดาษในระบบต่างๆ ได้แสดงไว้ในตาราง




                          ตารางที่ 4.1 แสดงมาตรฐานของกระดาษมาตรฐาน ISO
นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                       หน้า 4
การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้

         5. ดินสอเขียนแบบ
         เป็นเครื่องมือที่ใช้ขีดเส้นบนกระดาษเขียนแบบ เพื่อแสดงรูปร่างต่างๆ ให้เป็นแบบที่ใช้งาน ดินสอเขียน
แบบสามารถแบ่งได้เป็นหลายชนิดคือ
                 - ดินสอชนิดเปลือกไม้
                 - ดินสอชนิดเปลี่ยนไส้ได้ จะเป็นดินสอที่มีโครงด้ามเป็นโลหะ หรือพลาสติก และใส่ไส้ดินสออยู่ข้าง
ใน ดินสอชนิดนี้จะมีการออกแบบมาใช้งานไว้มากมายหลายชนิด เกรดไส้ดินสอ แบ่งออกเป็น 3 เกรด คือ
ดินสอที่มีไส้แข็งมาก (Hard) ดินสอที่มีไส้แข็งปานกลาง (Medium) และดินสอแบบไส้อ่อน (Soft) แล้วจึงแบ่งย่อย
ตามลาดับความแข็งอ่อนของแต่ละกลุ่ม โดยใช้วิธีให้ตัวเลขเป็นตัวกาหนดร่วมกับตัวอักษร ดังนี้
                             - ดินสอที่มีไส้แข็งมาก (Hard) มีตั้งแต่ เบอร์ 9H-4H ใช้สาหรับขีดเส้นร่างรูป เส้นที่ใช้
เขียนต้องเป็นเส้นบาง เช่น ร่างรูป เส้นบอกขนาด และเส้นช่วยบอกขนาด
                             - ดินสอที่มีไส้แข็งปานกลาง (Medium) มีตั้งแต่ เบอร์ 3H-B ใช้สาหรับใช้สาหรับงาน
เขียนแบบงานสาเร็จรูป เช่น เส้นขอบชิ้นงาน เส้นแสดงแนวตัด และสัญลักษณ์แนวเชื่อม
                             - ดินสอแบบไส้อ่อน (Soft) มีตั้งแต่ เบอร์ 2B-7B ใช้ในงายศิลปะวาดภาพแรเงา
ไม่เหมาะที่จะนามาใช้ในการเขียนแบบ




            รูปที่ 4.6 ดินสอชนิดเปลี่ยนไส้ได้ แบบไส้แข็งมาก ไส้แข็งปานกลาง และแบบไส้อ่อน

       6. ปากกาเขียนแบบ
       ปากกาเขียนแบบในปัจจุบันนิยมใช้ปากกา เขียนแบบหมึกซึม ขนาดความโตของปากกาเขียนแบบจะมี
ขนาดเท่าขนาดของเส้นมาตรฐานสากลที่ใช้ในงาน เขียนแบบ




                 รูปที่ 4.7 ปากกาเขียนแบบ                                  รูปที่ 4.8 แปรงปัด




นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                           หน้า 5
การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้

          7. อุปกรณ์ทาความสะอาด
          แบบงานที่มีคุณภาพนั้น นอกจากเขียนได้ถูกต้อง สมบูรณ์ ได้มาตรฐานแล้วนั้น แบบงานจะต้องสะอาด
ดังนั้นอุปกรณ์ทาความสะอาดจึงมีความจาเป็นมาก เช่น
                  - แปรงปัด เป็นแปรงขนอ่อนใช้สาหรับปัดฝุ่นบนกระดาษเขียนแบบ และปัดเศษยางลบ
                  - ยางลบ ใช้สาหรับลบงาน มีลักษณะเป็นยางอ่อนซึ่งจะไม่ทาให้กระดาษเป็นขุยหรือเป็นรอย
                  - แผ่นกันลบ ทาจากโลหะบางเบา เจาะรูไว้หลายลักษณะ ใช้กันลบตรงบริเวณที่ขีดเส้นผิดพลาด




                 รูปที่ 4.9 ยางลบ                                 รูปที่ 4.10 แผ่นกันลบ

          8. การใช้และบารุงรักษาเครื่องมือเขียนแบบ
          การใช้และบารุงรักษาเครื่องมือเขียนแบบเป็นสิ่งที่นักเขียนแบบ จะต้องให้ความสาคัญเป็นอย่างมาก
เครื่องมือที่ดีย่อมทาให้การเขียนแบบมีความสะดวกรวดเร็ว และเขียนงานได้อย่างมีคุณภาพ เครื่องมือแต่ละแบบ
ถูกออกแบบให้ใช้เฉพาะงานเท่านั้นไม่ควรนาไปใช้สับหน้าที่กันเพราะ               จะทาให้เกิดความเสียหายหรือเสื่อม
สมรรถภาพสาหรับงานนั้น ๆ เช่น ใช้ปลายแหลมของ วงเวียนไปเจาะรูสิ่งต่าง ๆ อาจเกิดความเสียหายกับปลาย
แหลมของวงเวียน ส่วนปลายเข็มวงเวียนคดงอ ทาให้เวลาเขียนวงกลมปลายเข็มจะไม่เกาะกระดาษ วงกลมที่เขียน
จะบิดเบี้ยว การใช้เครื่องมือจึงต้องมีความระมัดระวัง เข้าใจการใช้ และใช้ให้ถูกวิธี
          นอกจากการใช้เครื่องมือโดยถูกต้องตามวิธีการใช้แล้ว ผู้ใช้ต้องรู้จักบารุงรักษาเครื่องมืออย่างถูกต้อง และ
รักษาเครื่องมือให้สะอาดอ ยู่เสมอ เพราะเครื่องมือที่สกปรกจะทาให้งานเขียนแบบสกปรกไปด้วยควรทาความ
สะอาดเครื่องมือด้วยการล้างน้าบางครั้งอาจใช้น้ายาทาความสะอาดช่วย ในการใช้น้ายาต้องพิจารณาด้วยว่าวัสดุ
อะไรใช้น้ายาชนิดใด การทาความสะอาดอาจจะใช้เพียงน้าสบู่ก็เพียงพอถ้าเครื่องมือไม่สกปรกมาก หลังจากทา
ความสะอาดควรเช็ดเครื่องมือด้วยผ้าแห้ง หรือใช้เครื่องเป่าลมหรือเครื่องเป่าผม เป่าลมร้อนเบา ๆ ให้เครื่องมือ
แห้งสนิท และเก็บเครื่องมือลงกล่องให้เรียบร้อย โต๊ะเขียนแบบก็เช่นกันควรหมั่นทาความสะอาด ใช้แปรงปัดฝุ่น
ก่อนและหลังการเขียนแบบทุกครั้ง ในขณะเขียนแบบเมื่อใช้ยางลบจะมีขี้ยางลบเกิดขึ้น ให้ใช้แปรงปัดขี้ยางลบ
ออกจากโต๊ะทุกครั้งที่ใช้ยางลบ มิฉะนั้นขี้ยางลบจะอยู่บนโต๊ะเมื่อเลื่อนไม้ทีหรือไม้ฉากจะทาให้ขี้ยางลบติดบนแบบ
ทาให้แบบสกปรก
          หลังจากการเขียนแบบไม่ควรปล่อยงานเขียนแบบค้างไว้บนโต๊ะเขียนแบบโดยไม่มีสิ่งใดปิ ด ควรหาผ้าหรือ
กระดาษคลุมปิดงานไว้เพื่อป้องกันฝุ่นละอองลงจับผิวกระดาษเขียนแบบหรือแมลงสาปมากัดแทะกินแบบในเวลา
กลางคืน


นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                       หน้า 6
การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้

          การติดกระดาษเขียนแบบต้องติดให้ได้ฉาก และขนานกับขอบโต๊ะซึ่งมีวิธีดังนี้ คือ
                 - นาไม้ทีวางบนโต๊ะโดยหัวไม้ทีติดกับขอบโต๊ะเว้นระยะจากขอบโต๊ะด้านล่างประมาณ 2 - 3 เท่า
ความกว้างของไม้ที
                 - นากระดาษเขียนแบบสอดใต้หัวไม้ที ดันไม้ทีให้หัวไม้ทีติดขอบโต๊ะเลื่อนไม้ทีขึ้นเสมอขอบ
ด้านบนของกระดาษ และขอบกระดาษอยู่ในแนวเส้นตรงของขอบไม้ที
                 - เมื่อขอบกระดาษและไม้ทีอยู่ในแนวเดียวกันแล้ว ติดกระดาษเทปกาวลงบนของกระดาษทั้งสี่
มุมเพื่อยึดกระดาษไม่ให้กระดาษเคลื่อนที่

เส้นและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ
         1. เส้นในงานเขียนแบบ
         ในงานเขียนแบบ เส้นในแบบจะมีความหมายและเป็นสื่อแสดงลักษณะเฉพาะ จาเป็นที่ผู้ เขียนแบบ และ
ผู้อ่านแบบจะต้องเข้าใจในความหมายการใช้เส้นในตาแหน่งต่าง ๆ ได้ถูกกาหนดเป็นแบบแผนดังนี้
         1.1 เส้นเต็มรอบรูป(Visible Line) เส้นที่ลากติดต่อกันไปตลอดใช้แสดงส่วนของงานที่มองเห็น
         1.2 เส้นส่วนที่มองไม่เห็น หรือเส้นประ(Hidden Line or Dash Line) เส้นที่เขียนสั้น ๆ ต่อเนื่องกัน
ใช้แสดงส่วนของงานที่มองไม่เห็น แต่ละเส้นยาวประมาณ 1/8 นิ้ว และเว้นห่างกันประมาณ 1/32 นิ้ว
         1.3 เส้นแสดงภาพตัด (Section Line) เส้นแสดงภาพตัด ใช้แสดงส่วนที่ถูกตัดเพื่อที่จะได้บอกตาแหน่ง
ของส่วนที่ถูกตัดอยู่ ณ ตาแหน่งใด
         1.4 เส้นแนวกึ่งกลาง หรือเส้นแกน(Center Line) เส้นยาว และสั้นสลับกันไป เส้นยาวประมาณ 1 นิ้ว
เขียนสลับกับเส้นสั้นประมาณ 1/8 นิ้ว ใช้แสดงแนวกึ่งกลางของงานที่มีรูปแบบ
         1.5 เส้นต่อกากับ (Extension Line) เส้นที่ต่อจากแนวด้านของงานโดยเว้นระยะจาก ขอบงานประมาณ
1/8 นิ้ว ใช้แสดงระยะของด้าน
         1.6 เส้นมิติบอกขนาด(Dimension Line) เส้นที่มีหัวลูกศรทั้งสองด้าน มีตัวเลขแสดงขนาดอยู่ตรงกลาง
เส้น เพื่อแสดงมิติของงานให้ทราบว่ามีขนาดเท่าใด หัวลูกศรต้องสัมผัสกับเส้นต่อพอดี ขนาดของลูกศรยาว
ประมาณ 1/8 นิ้ว ความกว้างของหัวลูกศรประมาณ 1/3 ของความยาวลูกศร
         1.7 เส้นแสดงแนวตัด (Cutting Line) เส้นยาวสลับเส้นสั้นสองเส้นใช้แสดงตาแหน่งของส่วนที่ถูกตัดอยู่
บริเวณใด
         1.8 เส้นร่นระยะ(Break Line) เส้นตรงยาวมีระยะเส้นหยัก ใช้แสดงในส่วนที่หายไปเพื่อให้ทราบว่า
เนื้องานมีขนาดมากกว่าที่เห็นเป็นการลดความยาวของรูปแบบ             ลงไปเนื่องจากกระดาษเขียนแบบมีจากัด
ไม่สามารถเขียนเต็มรูปได้




                                                     รูปที่ 4.11 ตัวอย่างเส้นที่ใช้ในการเขียนแบบ

นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                 หน้า 7
การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้

       2. สัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ
       สัญลักษณ์ของวัตถุที่ใช้แสดงในภาพมีขึ้นเพื่อแสดงให้ทราบว่าวัตถุที่ใช้นั้นเป็นชนิดใดบ้าง เพราะต้องการ
ให้สะดวกและรวดเร็วในการทางาน จึงได้แยกสัญลักษณ์ดังต่อไปนี้




การเขียนภาพ 2 มิติ 3 มิติ และภาพฉาย
       1. ภาพ 2 มิติ




                                          รูปที่ 4.11 ภาพ 2 มิติ

นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                   หน้า 8
การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้



          งาน 2 มิติเราจะพบได้ในงานจิตรกรรมและงานภาพพิมพ์ เพราะเกิดจากการใช้เส้นและสีในการสร้างงาน
และมีระนาบ 2 ระนาบคือ กว้างและยาวเส้นรูปแบบต่างๆ คือเส้นตรง เส้นหยัก เส้นโค้ง เส้นแต่ละชนิดให้
ความรู้สึกแตกต่างกันไปรูปร่างหมายถึงการต่อกันของเส้นตั้งแต่ 2 เส้นขึ้นไป มักจะอยู่กับรูปทรงและใช้เรียก
ควบคู่กันไปการเพิ่มแสงเงาในรูปร่างที่เป็น 2 มิติ หรือใช้เส้นเพื่อสร้างเส้นนาสายตาจะช่วยเพิ่มความลึก มิติ
ให้กับรูปร่างนั้น
         2. ภาพ 3 มิติ
         การสร้างภาพเชิง 3 มิติ (อังกฤษ: three-dimensional imaging) คือ การหารูปร่างและขนาดของวัตถุ
ใน 3 มิติ โดย เทคนิคของการวัดรูปร่างนี้ จะมีเงื่อนไขจากัดอยู่ เนื่องจากสิ่งที่ต้องการวัดคือขนาดสัมบูรณ์ของวัตถุ
เพราะฉะนั้นขนาดของวัตถุที่วัด ได้ จะต้องไม่ขึ้นกับชนิดผิวและการสะท้อนของวัตถุ ระยะห่างจากอุปกรณ์เก็บภาพ
3 มิติ และ สภาพแสงและการส่องสว่าง
                  2.1 ความหมายของภาพ
                  ภาพสามมิติหมายถึง การเขียนภาพโดยการนาพื้นผิวแต่ละด้านของชิ้นงานมาเขียนประกอบกัน
เป็นรูป เดียว ทาให้สามารถมองเห็นลักษณะรูปร่าง พื้นผิว ได้ทั้งความกว้าง ความยาว และความหนาของชิ้นงาน
ทาให้ภาพสามมิติมีลักษณะคล้ายกับการมองชิ้นงานจริง ภาพสามมิติที่เขียนในงานเขียนแบบมีหลายประเภท
แต่ละประเภทก็มีความแตกต่างกันในการวางมุมการเขียน และขนาดของชิ้นงานจริง กับขนาดชิ้นงานในการเขียน
แบบซึ่งผู้เขียนแบบต้องศึกษาลักษณะของภาพสามมิติ แต่ละประเภทต่างๆ ให้เข้าใจ เพื่อสามารถปฏิบัติการเขียน
แบบได้อย่างถูกต้อง
                  2.2 ประเภทของภาพสามมิติ
                  - ภาพสามมิติแบบ TRIMETRIC เป็นภาพสามมิติที่มีความสวยงาม และลักษณะคล้ายของจริง
มากที่สุดและเป็นภาพที่ง่ายต่อการอ่านแบบเพราะเป็นภาพที่เขียนได้ยาก เนื่องจากมุมที่ใช้เขียนเอียง 12 องศา
และ 23 องศา และอัตราความยาวของแต่ละด้านไม่เท่ากัน




                                  รูปที่ 4.12 ลักษณะของภาพ TRIMETRIC

                - สามมิติแบบ DIMETRIC เป็นภาพสามมิติที่มีลักษณะคล้ายกับภาพถ่ายและง่ายต่อการอ่านแบบ
แต่ไม่ค่อยนิยมในการเขียนแบบเพราะเป็นภาพที่เขียนได้ยาก เนื่องจากมุมที่ใช้เขียน เอียง 7 องศา และ 42 องศา
และขนาดความหนาของภาพที่เขียนจะลดขนาดลงครึ่งหนึ่งของความหนาจริง


นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                       หน้า 9
การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้




           รูปที่ 4.12 ลักษณะของภาพ DIMETRIC              รูปที่ 4.13 ลักษณะของภาพ ISOMETRIC

                 - ภาพสามมิติแบบ ISOMETRIC เป็นภาพสามมิติที่นิยมเขียนมากเพราะภาพที่เขียนง่ายเนื่องจาก
ภาพมีมุมเอียง 30 องศา ทั้งสองข้างเท่ากัน และขนาดความยาวของภาพทุกด้านจะมีขนาดเท่าขนาดงานจริง ภาพ
ที่เขียนจะมีขนาดใหญ่มากทาให้เปลืองเนื้อที่กระดาษ
                 - ภาพสามมิติแบบ OBQIUEเป็นภาพสามมิติที่นิยมเขียนมาก สาหรับงานที่มีรูปร่างเป็นส่วนโค้ง
หรือรูกลมเพราะสามารถเขียนได้ง่ายและรวดเร็วเนื่องจากภาพ OBQIUE จะวางภาพด้านหนึ่งอยู่ในแนวระดับ
เอียงทามุมเพียงด้านเดียว โดยเขียนเป็นมุม 45 องศา สามารถเขียนเอียงได้ทั้งด้านซ้ายและขวาความหนาของงาน
ด้านเอียงขนาดลดลงครึ่ง หนึ่ง ภาพ OBQIUE มี 2 แบบ คือ แบบคาวาเลียร์ (CAVALIER) และแบบคาบิเนต
(CABINET)




                                 รูปที่ 4.14 ภาพสามมิติแบบ Cavalier




                                รูปที่ 4.15 ภาพสามมิติแบบ Cabinet
             - ภาพสามมิติแบบ PERSPECTIVE หรือ ภาพทัศนียภาพ เป็นภาพสามมิติที่มีมุมในลักษณะ
การมองไกล โดยจะเขียนภาพเข้าสู่จุดรวมของสายตา การเขียนภาพสามมิติชนิดนี้มีอยู่ด้วยกันหลายชนิด

นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                             หน้า 10
การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้




                                           รูปที่ 4.16 แบบ 1 จุด




                                           รูปที่ 4.17 แบบ 2 จุด




                                           รูปที่ 4.18 แบบ 3 จุด

                   2.3 การเขียนภาพสามมิติ
                   แกน ไอโซเมตริก (ISOMETRIC AXIS) เส้น XO, YO, ZO ทามุมระหว่างกัน 120 องศาเท่ากัน
ทั้งสามมุม เส้นทั้งสามนี้เรียกว่า แกนไอโซเมตริก ซึ่งแกนไอโซเมตริกนี้สามารถวางได้หลายทิศทางขึ้นอยู่กับรูปร่าง
ของชิ้นงานที่ต้องการแสดงรายละเอียด




                                  รูปที่ 4.19 แสดงการวางแกนไอโซเมตริก



นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                   หน้า 11
การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้

                 การเขียนภาพ ISOMETRIC ทุกภาพจะเริ่มจากการเขียนเส้นร่าง จากกล่องสี่เหลี่ยม โดยมีขนาด
ความกว้าง ความยาว และความสูง ซึ่งจะได้จากการกาหนดขนาดจากภาพฉาย จากนั้น เขียนรายละเอียดส่วน
ต่างๆ ของชิ้นงาน




                                รูปที่ 4.20 กาหนดส่วนต่างๆ ของชิ้นงาน




                                   ขั้นที่ 1                    ขั้นที่ 2                ขั้นที่ 3

                             รูปที่ 4.21 ขั้นตอนการเขียนภาพ ISOMETRIC

                การเขียนภาพ OBLIQUE ทุกภาพจะเริ่มจากการเขียนเส้นร่างจากกล่อง สี่เหลี่ยม โดยมีขนาด
ความยาว ความยาว และความสูงเท่ากับขนาดของชิ้นงานจริง ซึ่งจะได้จากการบอกขนาดในภาพฉาย ลากเส้นเอียง
45 องศา จากขอบงานด้านหน้าไปยังด้านหลัง โดยให้มีความยาวเท่ากับครึ่งหนึ่งกับความกว้างที่กาหนดให้จาก
ภาพฉายด้านข้าง ลากเส้นร่างเป็นรูปกล่องสี่เหลียม จากนั้น เริ่มเขียนส่วนต่างๆ ของชิ้นงาน ลบเส้นที่ไม่ใช้ออก
และลงเส้นหนักที่รูปงาน




                              รูปที่ 4.22 ขั้นตอนการเขียนภาพ OBLIQUE

นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                   หน้า 12
การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้

               การเขียนวงรีภาพสามมิติ
               - การเขียนวงรีแบบ ISOMETRIC
               ชิ้นงานที่มีลักษณะเป็นทรงกระบอก หรืองานที่มีหน้าตัดกลม เช่น รูปกลม ส่วนโค้ง เมื่อเขียน
เป็นภาพไอโซเมตริกแล้ว หน้าตัดของรูปทรงกระบอกหรือรูกลมนั้นจะเอียงเป็นมุม 30 องศา หรือทาให้มองเห็น
เป็นลักษณะวงรี




                                        รูปที่ 4.23 ลักษณะชิ้นงานรูกลม
                 - ขั้นตอนการเขียนวงรี ISOMETRIC ด้านหน้า
                 1. เขียนสี่เหลียมขนมเปียกปูน เอียงทามุม 30 องศา กับเส้นในแนวระดับ ดังรูปในช่องที่ 1
                 2. ลากเส้นแบ่งครึ่งทั้งสี่ด้าน ที่จุด 1-3 และ 2-4 ดังรูปในช่องที่ 2
                 3. ลากเส้นทะแยงมุมจากจุด D ไปยังจุดที่ 1 และ 2 ดังรูปในช่องที่ 3
                 4. ลากเส้นทะแยงมุมจากจุด B ไปยังจุดที่ 3 และ 4 จะได้เส้นตัดกันที่จุด E และจุด F ดังรูปใน
ช่องที่ 4
                 5. จุด E และ จุด F เป็นจุดศูนย์กลางของส่วนโค้งเล็ก กางวงเวียนออก รัศมี E-1 เขียนส่วนโค้งวง
เล็กจากจุดที่ 1 ไปจุดที่ 4 และใช้รัศมีเท่าเดิม เขียนส่วนโค้งโดยใช้จุด F เป็นจุดศูนย์กลาง เขียนส่วนโค้งเล็ก ดังรูป
ในช่องที่ 5
                 6. ที่จุด B กางวงเวียนรัศมี B-4 เขียนส่วนโค้งวงใหญ่จากจุดที่ 4 ไปจุดที่ 3 และที่จุด D เป็นจุด
ศูนย์กลาง รัศมีเท่าเดิม เขียนส่วนโค้งวงใหญ่ จะได้วงรีของภาพไอโซเมตริก ดังรูปในช่องที่ 6




นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                        หน้า 13
การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้

                 - ขั้นตอนการเขียนวงรี ISOMETRIC ด้านข้าง
                 1. เขียนสี่เหลียมขนมเปียกปูน เอียงทามุม 30 องศา กับเส้นในแนวระดับ ดังรูปในช่องที่ 1
                 2. ลากเส้นแบ่งครึ่งทั้งสี่ด้าน ที่จุด 1-3 และ 2-4 ดังรูปในช่องที่ 2
                 3. ลากเส้นทะแยงมุมจากจุด D ไปยังจุดที่ 1 และ 2 ดังรูปในช่องที่ 3
                 4. ลากเส้นทะแยงมุมจากจุด B ไปยังจุดที่ 3 และ 4 จะได้เส้นตัดกันที่จุด E และจุด F ดังรูปใน
ช่องที่ 4
                  5. จุด E และ จุด F เป็นจุดศูนย์กลางของส่วนโค้งเล็ก กางวงเวียนออก รัศมี E-1 เขียนส่วนโค้ง
วงเล็กจากจุดที่ 1 ไปจุดที่ 4 และใช้รัศมีเท่าเดิม เขียนส่วนโค้งโดยใช้จุด F เป็นจุดศูนย์กลาง เขียนส่วนโค้งเล็ก ดัง
รูปในช่องที่ 5
                 6. ที่จุด B กางวงเวียนรัศมี B-4 เขียนส่วนโค้งวงใหญ่จากจุดที่ 4 ไปจุดที่ 3 และที่จุด D เป็นจุด
ศูนย์กลาง รัศมีเท่าเดิม เขียนส่วนโค้งวงใหญ่ จะได้วงรีของภาพไอโซเมตริก ดังรูปในช่องที่ 6




นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                       หน้า 14
การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้

                  - ขั้นตอนการเขียนวงรี ISOMETRIC ด้านบน
                  1. เขียนสี่เหลียมขนมเปียกปูน เอียงทามุม 30 องศา กับเส้นในแนวระดับ ดังรูปในช่องที่ 1
                  2. ลากเส้นแบ่งครึ่งทั้งสี่ด้าน ที่จุด 1-3 และ 2-4 ดังรูปในช่องที่ 2
                  3. ที่จุด A ลากเส้นทะแยงมุมไปยังจุดที่ 2 และ 3 ดังรูปในช่องที่ 3
                  4. ลากเส้นทะแยงมุมจากจุด C ไปยังจุดที่ 4 ไปตัดกับเส้นตรงอีกเส้นหนึ่งที่จุด F และลากเส้น
จากจุด C ไปจุดที่ 1 ไปตัดกับเส้นตรงอีกเส้นหนึ่งที่จุด E ดังรูปในช่องที่ 4
                   5. ที่จุด E กางวงเวียน รัศมี E-1 เขียนส่วนโค้งวงเล็กจากจุดที่ 1 ไปจุดที่ 2 และที่จุด F จากจุด 3
ไปจุดที่ 4 ดังรูปในช่องที่ 5
                   6. ที่จุด A กางวงเวียนรัศมี A-3 เขียนส่วนโค้งวงใหญ่จากจุดที่ 3 ไปจุดที่ 2 และที่จุด Cจากจุด 4
ไปจุดที่ 1 จะได้วงรีแบบไอโซเมตริกด้านบน ดังรูปในช่องที่ 6




นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                        หน้า 15
การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้

               - การเขียนวงรีแบบ OBQIUE




                            รูปที่ 4.24 ตัวอย่างชิ้นงานเขียนแบบ OBQIUE
                 การวางภาพออบลิค ภาพด้านหน้าที่เห็นรายละเอียดชัดเจนที่สุดหรืองานที่เป็นรูปทรงกระบอก
ส่วน โค้ง หรือรูกลม ซึ่งจะทาให้งานเขียนแบบทาได้ง่าย เช่น ข้อต่อ ซึ่งมีวิธีเขียนดังนี้
                 1. ลากเส้น ABC และเส้น DE เอียง 45 องศา
                 2. จุด A เป็นวงกลมซ้อนกัน 2 วง จุด B และ C เขียนส่วนโค้ง
                 3. จุด D เขียนวงกลมและส่วนโค้ง
                 4. จุด E เขียนส่วนโค้ง
                 5. ลากเส้นตรงสัมผัสส่วนโค้ง




นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                            หน้า 16
การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้

         3. ภาพฉาย
         1. ลักษณะการฉายภาพ
         ภาพ ฉาย เป็นภาพลายเส้นที่บอกขนาดสัดส่วนต่างๆ ที่อ่านค่าแล้วเอามาทางานได้ ภาพฉายส่วนใหญ่จะ
เขียนหรืออ่านมาจากภาพไอโซเมตริกหรือภาพของจริง มองแต่ละด้านแล้วเขียนออกมาตามภาพที่มองเห็นนั้นๆ
ในแต่ละด้านของชิ้นงานตามปกติชิ้นงานจะมีทั้งหมด 6 ด้าน เหมือนลูกเต๋า แต่ภาพในการทางานจริงจะใช้เพียง
3 ด้านเท่านั้น ในส่วนที่มองไม่เห็นจะเขียนแสดง ด้วยเส้นประด้าน ของภาพที่ใช้งานจะเป็นด้านหน้า (Front View
: F) ด้านข้าง (Side View : S) และ ด้านบน (Top View : T) เท่านั้น




                             รูปที่ 4.25 ทิศทางการมองของภาพทั้ง 6 ด้าน

        การฉายภาพในปัจจุบันจะฉายภาพได้ 2 แบบ ตามความนิยม คืออุตสาหกรรมทางยุโรปและอุตสาหกรรม
ทางอเมริกา ดังนี้
        1. การฉายภาพมุมที่ 1 (FIRST ANGLE PROJECTION) เป็นการเขียนภาพฉายในครอดแลนด์ที่ 1 อาจ
เรียกการฉายภาพแบบ E-TYPE ใช้เขียนกันทางยุโรปซึ่งนิยมในทางปัจจุบัน
        2. การฉายภาพมุมที่ 3 (THIRD ANGLE PROJECTION) เป็นการเขียนภาพฉายในครอดแลนด์ที่ 3 อาจ
เรียกการฉายภาพแบบ A-TYPE เป็นที่นิยมในอเมริกา




                                  รูปที่ 4.26 ตาแหน่งระนาบที่วางภาพ

นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                              หน้า 17
การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้

        การมองภาพที่อยู่ในตาแหน่งมุมที่ 1 หรือมุมที่ 3 จะใช้สัญลักษณ์บอกลักษณะไว้ที่มุมขอบขวาของแบบ
ด้านใดด้านหนึ่ง ควรจาสัญลักษณ์ให้แม่นยาเพื่อจะได้ไม่สับสน




                       สัญลักษณ์ของมุมที่ 1                   สัญลักษณ์ของมุมที่ 2

                              รูปที่ 4.27 สัญลักษณ์ตาแหน่งการมองภาพ

       2. ตาแหน่งการมองภาพฉาย
       แสดงการมองภาพในตาแหน่งต่างๆ เพื่อจะเขียนภาพฉาย




                                 รูปที่ 4.28 การมองภาพด้านที่ใช้งาน

         การมองภาพฉาย เกิดจากดวงตามองไปยังวัตถุ ถ้าเอาจอไปรับภาพของวัตถุวางไว้ด้านหลัง แล้วใช้ไฟฉาย
ส่องไปยังวัตถุ แสงของไฟฉายผ่านวัตถุ ทาให้เกิดภาพบนจอ ในลักษณะของการขยายภาพให้โตขึ้น ซึ่งไม่ใช่ขนาด
ของภาพจริง แต่ในทางการเขียนแบบต้องการขนาดภาพเท่ากับของจริง (วัตถุที่นามามอง) ดังนั้นจึงต้องปรับเส้น
ในการฉายภาพให้เป็นภาพขนาน เพื่อจะให้ได้ขนาดตามความเป็นจริง โดยกาหนดให้เส้นการมองอยู่ในแนวระนาบ
พุ่งตรงจากวัตถุไปยังจอภาพ ภาพที่ปรากฏบนจอจะมีขนาดเท่ากับวัตถุนั้นๆ การฉายภาพในลักษณะเช่นนี้จัดเป็น
การฉายภาพในมุมที่หนึ่งข องหลักการมองภาพฉาย วัตถุจะอยู่หน้าจอรับภาพ ด้านที่นิยมได้แก่ ภาพด้านหน้า
ภาพด้านข้าง และภาพด้านบนที่ใช้ในการเขียนภาพฉาย ซึ่งช่วยให้อ่านภาพได้ง่ายขึ้น


นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                             หน้า 18
การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้




              การมองขยายโตกว่าของจริง                       การมองภาพเท่ากับของจริง

                            รูปที่ 4.29 แสดงการมองภาพบนจอรับภาพ
                                   ที่มา : ฉวีวรรณ รมยานนท์, 2541

      3. ภาพฉายมุมที่ 1
      การมองภาพฉายในตาแหน่งมุมที่ 1 ฉากรับภาพจะอยู่ด้านหลังของชิ้นงาน ทาการฉายภาพให้ไปปรากฏ
บนฉาก มองเห็นภาพอย่างไรภาพก็จะไปปรากฏบนฉากอย่างนั้นจากด้านที่มอง ซึ่งภาพในทางเขียนแบบจะใช้
เฉพาะภาพด้านหน้า ด้านข้าง และภาพด้านบนเท่านั้น




                            รูปที่ 4.30 วางชิ้นงานบนฉากรับภาพช่องที่ 1


นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                       หน้า 19
การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้

            ขั้นที่ 1 นามุมที่ 1ของฉากรับภาพออกมาพิจารณาจะสังเกตการมองได้ว่าจะมองเห็นชิ้นงานก่อน
ภาพจะปรากฏบนจอรับภาพด้านหลังของชิ้นงานด้านที่มอง




       มองภาพด้านหน้า                                               มองด้านข้าง




                                            มองด้านบน




       คลี่ฉากรับภาพตามลูกศร                                               ภาพฉายสามด้าน

                                     รูปที่ 4.30 ภาพฉายมุมที่ 1

นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                         หน้า 20
การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้

          4. ภาพฉายมุมที่ 3
          การมองภาพฉายในตาแหน่งมุมที่ 3 ฉากรับภาพจะอยู่ด้านหน้าของชิ้นงาน การฉายภาพ แสงส่องจะ
กระทบชิ้นงานแล้วสะท้อนมาปรากฎยังฉากรับภาพ จะได้ภาพตามที่มองชิ้น งานจะวางอยู่ในมุมที่ 3 จะสังเกตได้
ว่าเมื่อมองชิ้นงานตามทิศทางการมองภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง และภาพด้านบน ภาพจะสะท้อนกลับมาปรากฏ
บนฉากรับภาพ




                                     รูปที่ 4.31 ภาพฉายมุมที่ 3
นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                          หน้า 21
การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้

       การเปรียบเทียบภาพฉายมุมที่ 1 และภาพฉายมุมที่ 3




                                     รูปที่ 4.32 ภาพฉายมุมที่ 1
       หลักการเขียนภาพฉายมุมที่ 1
                   1. ภาพด้านหน้าเป็นภาพหลัก
                   2. ภาพด้านข้างมีความสูงเท่ากับด้านหน้า และวางอยู่ทางขวามือของ
                      ภาพด้านหน้า อยู่ในระนาบเดียวกันกับภาพด้านหน้า
                   3. มองด้านบน จะได้ภาพด้านบนอยู่ในแนวของด้านล่างของด้านหน้า
                   4. ด้านบนมีความกว้างเท่ากับด้านหน้า




                                     รูปที่ 4.33 ภาพฉายมุมที่ 3

       หลักการเขียนภาพฉายมุมที่ 3
                   1. ภาพด้านหน้าเป็นภาพหลัก
                   2. ภาพด้านข้างมีความสูงเท่ากับด้านหน้า และวางอยู่ทางขวามือของ
                      ภาพด้านหน้า อยู่ในระนาบเดียวกันกับภาพด้านหน้า
                   3. มองด้านบน จะได้ภาพด้านบนอยู่ข้างบนของด้านล่างของด้านหน้า
                   4. ด้านบนมีความกว้างเท่ากับด้านหน้า

นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                        หน้า 22
การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้

การเข้าไม้
         การเข้าไม้ หมายถึง การนาไม้มาประกอบเข้าด้วยกัน ทาใ ห้เกิดเป็นมุมหรือรูปร่างต่าง ๆ เพื่อสนอง
ความต้องการในการใช้งานตามวัตถุประสงค์ ส่วนใหญ่จะได้แก่งานทาเครื่องเรือนต่าง ๆ ส่วนการต่อไม้ หมายถึง
การทาไม้ให้ยาวขึ้น เพื่อสนองความต้องการในการใช้งานเช่นกัน สาหรับการต่อไม้จะใช้มากกับงานก่อสร้าง
เช่นการต่อเสา คาน ตง อะเส และจันทัน
         การเข้าไม้ที่ใช้กันทั่วไปมีมากมายหลายแบบ ส่วนใหญ่ จะใช้วิธีการที่คล้ายคลึงกัน แต่แบบที่แตกต่างกัน
อย่างเห็นได้ชัดเจน และเป็นที่นิยมในปัจจุบัน ได้แก่การเพลาะไม้ (Edge Joint) การเข้าชน (Butt Joint)
การเข้าบ่า (Rabbet Joint) การเข้าลิ้น (Dado Joint) การเข้าปากกบ (Miter Joint) การเข้าทาบ (Lap
Joint) การเข้าเดือย (Mortise and Tenon Joint) การเข้าหางเหยี่ยว (Dovetail Joint)
         1. การเพลาะไม้
         การเพลาะไม้ คือการเอาแผ่นไม้มาวางเรียงแล้วอัดเข้าด้ว ยกันให้แผ่นใหญ่ขึ้น วิธีการอัดไม้มีอยู่หลายวิธี
เช่น การใช้กาวเป็นตัวยึดตรึงหรืออาจจะใช้กา วร่วมกับเดือยไม้ ตะปู หรือต ะปูเกลียว ก็จะทาให้การยึ ดตรึง
ระหว่างแผ่นไม้ดียิ่งขึ้น นอกจากนั้นการบังใบที่ขอบไม้ การเซา ะร่องหรือรางเพื่อใส่ลิ้น ก็จะทาให้เกิดความ
เรียบร้อย และแข็งแรงยิ่งขึ้น การเพลาะไม้นิยมใช้กับการทาพื้นโต๊ะ พื้นเก้าอี้ พื้นบ้าน หรือผนังเครื่องเรือน
ที่ต้องการพื้นที่กว้าง ๆ




        รูปที่ 4.34 การเพลาะไม้                                     รูปที่ 4.35 การเข้าชน

         2. การเข้าชน
         การเข้าชนเป็นการเข้าไม้ที่ง่ายที่สุด ด้วยการนาเอาปลายไม้ของ ไม้แผ่นหนึ่งชนเข้ากับหน้าไม้ หรือขอบ
ของไม้อีกแผ่นหนึ่ง แล้วจึงทาการยึดด้วยตะปูหรือตะปูเกลียว จะทาให้รอยต่อแข็งแรงดียิ่งขึ้น การเข้าไม้แบบนี้
นิยมใช้ในการทาเครื่องเรือนราคาถูก เช่น ทากล่อง หีบ ลิ้นชักโต๊ะ หรือตู้ เก้าอี้ หรือโครงเครื่องเรือน เป็นต้น
         ขั้นตอนการเข้าไม้แบบเข้าชนที่ถูกวิธี
          -         การร่างแบบ โดยการปรับไม้ให้ได้ขนาดที่ถูกต้อง ทั้งความกว้าง ความหนา และความยาว
ปลายไม้ที่ตัดต้องได้ฉากจริง ๆ วางด้านหัวของไม้ชิ้นที่หนึ่งลงบนหน้าไม้ด้านหัวของไม้อีกชิ้นหนึ่ง ให้ขอบนอก
เสมอกัน จากนั้นใช้ดินสอขีดไปตามขอบด้านในของไม้ชิ้ นบน
          -         การประกอบชิ้นงาน ให้ทากาวบริเวณหัวและหน้าไม้ ส่ วนที่จะประกอบเข้าด้วยกันบาง ๆ
วางหัวไม้ด้านที่ทากาวทบลงบนหน้าไม้ด้านที่ทากาวเช่นกัน จากนั้นจัดไม้ให้อยู่ในตาแหน่งเดิม โดยอาศัยรอย
ดินสอที่ขีดไว้จากการร่างแบบ เมื่อเข้าที่แล้วยึดให้แน่นด้วยตาปูหรือตาปูเกลียว


นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                   หน้า 23
การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้

          3. การเข้าบ่า
          การเข้าบ่าเป็นการเข้าไม้โดยการเอาปลายหรือหัวไม้ของไม้แผ่นหนึ่งลงไปในร่องที่ปลายหรือหัวไม้ซึ่งบาก
เอาไว้ของไม้อีกแผ่นหนึ่ง แล้วยึดตรึงด้วยตาปูหรือตาปูเกลียว รองที่บากควรจะลึกประมาณ 1 ใน 2 ถึง 2 ใน 3
ของความหนาของไม้ การเข้าไม้แบบนี้จะแข็งแรงกว่าการเข้าชน ในปัจจุบันนิยมใช้มากกับการเข้ามุมเครื่องเรือน
ต่าง ๆ ทาลิ้นชัดโต๊ะ และกล่องอย่างง่าย ๆ
          ขั้นตอนการเข้าบ่าไม้ที่ถูกวิธี
                  - การร่างแบบ โดยปรับไม้ให้ได้ขนาดที่ถูกต้องทั้งความกว้าง ความหนา ความยาว และปลายไม้
ที่ตัดต้องได้ฉาก วางด้านหัวของไม้ชิ้นที่หนึ่งลงบนหน้าไม้ด้านหัวของไม้อีกชิ้นให้ขอบเสมอกัน ใช้ดินสอขีดไปตาม
ขอบด้านในของไม้ชิ้นบน และใช้ฉากทาบเข้ากับหน้าไม้ แล้วขีดเส้นขวางกับขอบไม้ต่ อจากเส้นที่ขีดไว้ ให้ทา
ทั้ง 2 ข้างปรับขอขีดไม้ให้เท่ากับ 1 ใน 2 ถึง 2 ใน 3 ของความหนาของแผ่นไม้ ใช้ขอขีดไม้ทาบเข้าหาเนื้อไม้ แล้ว
ลากไปตามขอบหน้าไม้ จะได้เส้นแสดงระดับความลึกของบ่าตามต้องการ ให้ทาทั้ง 2 ข้าง
           -         การตัดบ่า ให้ใช้ปากกาหัวโต๊ะบีบ – จับไม้ที่ร่างแบบไว้ แล้วใช้เลื่อยตัดไปตามเส้นที่ร่างไว้
ตามความลึกที่กาหนด จากนั้นบีบจับชิ้นงานใหม่ในแนวตั้ง จากนั้นใช้เลื่อยรอตัดไปตามเส้นที่แสดง ความลึกที่
ร่างไว้ ไปบรรจบกับรอยแรก จะทาให้ไม้ส่วนที่ตัดหลุดออกไปได้บ่าตามต้องการ
           -        การทดสอบความพอดีของบ่า โดยทดลองวางหัวไม้ชิ้นที่ประกอบกันลงในบ่าที่ตัด แล้วตรวจ
ความเรียบร้อย หัวไม้ต้องเข้ากับบ่าที่ตัดได้อย่างสนิทเรียบเสมอกัน แต่ถ้ายังไม่เรียบร้อยก็ให้ใช้สิ่วแต่งที่บ่าจนพอดี
           -        การประกอบชิ้นงาน ให้ทากาวที่บ่าและที่หัวไม้ วางชิ้นไม้ที่จะใช้ประกอบเข้าที่บ่า เมื่อเข้า
ที่แล้วจับยึดให้แน่น จากนั้นใช้ตาปูหรือฝังตาปูเกลียว




                    รูปที่ 4.36 การเข้าบ่า                                รูปที่ 4.37 การเข้าลิ้น

        4. การเข้าลิ้น
        การเข้าไม้แบบนี้เหมาะที่สุดกับการทาชั้นวางของ บันได ตู้ใส่หนังสือ เนื่องจากมีความแน่นหนาและ
แข็งแรงดี โดยการนาเอาไม้แผ่นหนึ่งฝัง เข้าไปในร่องของไม้อีกแผ่นหนึ่ง ปลายของไม้ที่ฝั งเข้าไปอาจจะบา กหรือ
ไม่บากก็ได้ จากนั้นใช้ตาปูหรือตาปูเกลียวเป็นตัวยึดตรึง รองที่เซาะควรจะลึกประมาณ 1 ใน 2 ของความหนา
ของแผ่นไม้
        ขั้นตอนในการเข้าไม้แบบเข้าลิ้นที่ถูกวิธี
         -         การร่างแบบ โดยปรับไม้ให้ได้ขนาด เพื่อกาหนดแนวในการตัดร่องลิ้น ใช้ฉากวางทาบกับ
ขอบไม้ในตาแหน่งที่กาหนด แล้วใช้ดินสอขีดขวางกับเนื้อไม้ วางหัวไม้ชิ้ นที่จะประกอบเข้าด้วยกัน ให้ด้านหนึ่ง
ทาบกับเส้นที่ขีดไว้ แล้วใช้ดินสอขีดอีกด้านหนึ่ง จะได้ความ กว้างของร่องลิ้นตามต้องการ ใช้ฉากทาบกับหน้ าไม้
ขีดเส้น และปรับระดับขอขีดตามความลึกที่ต้องการ และขีดไปตามขอบไม้
นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                        หน้า 24
การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้

                  - การตัดร่องลิ้น ใช้ปากกาหัวโต๊ะบีบ – จับไม้ที่ร่างแบบไว้ ใช้เลื่อยรอตัดไปตามเส้นที่ร่างไว้
จนถึงความลึกที่กาหนด และใช้สิ่วในการบากร่องและตกแต่งร่อง
           -        การทดสอบความพอดี โดยกดหัวไม้ที่ใช้ประกอบเข้าด้วยกัน ลงไปในร่องลิ้นที่ทาไว้ร่องลิ้น
ที่พอดีจะต้องสามารถกดลงไปด้วยแรงกดจากมือ ถ้าฝืดเกิดไปให้ใช้สิ่วแต่งด้านข้างของร่องจนลิ้นพอดี
           -        การประกอบชิ้นงาน ให้ใช้กาวทาหรือใช้กาวร่วมกับตะปูหรือตะปูเกลียวในการเข้าลิ้น
          5.5 การเข้าปากกบ
          การเข้าไม้แบบปากกบเป็นการเข้าไม้เป็นมุมด้วยการตัดปลายไม้ที่ จะนามาต่อเข้าด้วยกันให้ได้มุม ที่เท่ากัน
เสียก่อน แล้วจึงนามาประกอบเข้าด้วยกัน และใช้ตาปู ตาปูเกลี ยว หรือสลักไม้ยึดตรึงให้เกิด ความแข็งแรง
การเข้าไม้แบบที่นิยมใช้กันมากที่สุดจะตัดปลายไม้เป็นมุม 45 องศาเมื่อประกอบเข้าด้วยกันแล้วจะได้มุม 90 องศา
พอดี การเข้าไม้แบบนี้นิยมใช้ทากรอบรูป ทากล่อง ทาวงกบประตู – หน้าต่างหรือทาโครงเครื่องเรือน เป็นต้น
          ขั้นตอนการเข้าไม้แบบเข้าปากกบที่ถูกวิธี คือ
           -        การร่างแบบ โดยกาหนดความยาวของไม้ที่จะตัด ทาเครื่องหม                ายไว้ที่ขอบไม้ด้านนอก
ใช้ฉากรวมด้านที่ทามุม 90 องศา ทาบเข้าไปแล้วขีดเส้นขวางกับไม้ด้านนอกแ ละหน้าไม้ทั้ง 2 ด้าน ที่เส้นมุม
ขอบไม้ด้านนอก ใช้การรวมด้านที่มุม 45 องศา ทาบไปแล้วขีดเส้ นก็จะได้เส้นที่ทามุมกับเส้นที่ขีดไว้เดิมเท่ากับ
45 องศา ให้ทาทัง 2 ข้าง
                  ้
           -        การตัดปากกบ ใช้ปากกาหัวโต๊ะบีบจับชิ้นงาน ใช้เลื่อยรอเลื่อยไปตามเส้นที่ได้ร่างไว้ ให้ตัด
ในเส้นด้านที่จะตัดทิ้ง พลิกดูรอยด้านตรงข้ามด้วย จะต้องให้อยู่ในตาแหน่งหรือแนวเดียวกัน
           -        การทดสอบความพอดีของปากกบ โดยวางไม้ทุกชิ้นลงบนพื้นราบ และทดลองประกอบไม้
ที่ตัดเข้าด้วยกัน จากนั้นใช้ฉากทดสอบการได้ฉากที่มุมของปากไม้ที่ประกอบเข้าด้ วยกัน ถ้ามุมยังไม่ได้ฉาก ก็ใช้
เลื่อยหรือกบไสตกแต่ง จนปากไม้เข้ากันได้สนิท
           -        การประกอบชิ้นงาน ให้ตอกต ะปูหรือฝังตะปูเกลียวที่ปลายไม้ด้านหนึ่ง ให้ปลายโผล่ออก มา
เล็กน้อย ทากาวบริเวณปากไม้ที่ ตัด ในชิ้นงานที่ยังไม่ได้ตอกต ะปู จับไม้ในแนวตั้งด้วยปากกาหัวโต๊ะ จากนั้น
ทาบปากไม้เข้าหากัน ให้ปากไม้ชิ้นที่ทาบลงไปยื่นเลยขอบของปากไม้ชิ้นที่จับด้วยปากกาขึ้ นไปเล็กน้อย เพื่อที่
เวลาตอกตะปูหรือฝังตะปูเกลียวเข้าไปแล้ว ปากไม้จะเลื่อนลงมาพอดี




                รูปที่ 4.38 การเข้าปากกบ                                รูปที่ 4.39 การเข้าทาบ

         6. การเข้าทาบ
         การเข้าไม้แบบนี้ใช้เมื่อต้องการประกอบไม้สองตัวขวางกันเป็ นมุมฉากหรือเป็นรูปกากบาท โดยบากไม้
ลงไปครึ่งหนึ่งของความหนาของเนื้อไม้ทั้งสองตัว แล้วนาไม้สองตัวอัดเข้าด้วยกัน จากนั้น ยึดตรึงด้วยโลหะยึดตรึง
หรือสลักไม้ เพื่อให้เกิดความแข็งแรง การเข้า ไม้แบบนี้ใช้สาหรับการประกอบ ขาโต๊ะ เก้าอี้ ทาวงกบ ประตู -
หน้าต่าง หรือใช้ประกอบเคร่าทั้งแนวตั้งและแนวนอนของโครงอาคาร เพื่อให้เกิดความแข็งแรง
นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                    หน้า 25
การปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงาน

Contenu connexe

Tendances

แบบฝึกเขียน Clothes
แบบฝึกเขียน  Clothesแบบฝึกเขียน  Clothes
แบบฝึกเขียน Clothesjomthab
 
ฝึกอ่านคำศัพท์
ฝึกอ่านคำศัพท์ฝึกอ่านคำศัพท์
ฝึกอ่านคำศัพท์kunkrukularb
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศmungmat
 
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการการใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการyahapop
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญneeranuch wongkom
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdfToponeKsh
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1KruKaiNui
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...Prachoom Rangkasikorn
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ รร โนนสะอาดพิทยา 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ รร โนนสะอาดพิทยา 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ รร โนนสะอาดพิทยา 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ รร โนนสะอาดพิทยา 1KruKaiNui
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าufonon
 
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกรแผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกรkruuni
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 

Tendances (20)

แบบฝึกเขียน Clothes
แบบฝึกเขียน  Clothesแบบฝึกเขียน  Clothes
แบบฝึกเขียน Clothes
 
ใบความรู้ ASEAN
ใบความรู้ ASEANใบความรู้ ASEAN
ใบความรู้ ASEAN
 
ฝึกอ่านคำศัพท์
ฝึกอ่านคำศัพท์ฝึกอ่านคำศัพท์
ฝึกอ่านคำศัพท์
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศ
 
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการการใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
การใช้ a/an/some/any
การใช้ a/an/some/any การใช้ a/an/some/any
การใช้ a/an/some/any
 
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ รร โนนสะอาดพิทยา 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ รร โนนสะอาดพิทยา 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ รร โนนสะอาดพิทยา 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ รร โนนสะอาดพิทยา 1
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกรแผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 

En vedette

Storyboard kpd 3026
Storyboard kpd 3026Storyboard kpd 3026
Storyboard kpd 3026Awg Stu
 
веселые старты
веселые стартывеселые старты
веселые стартыmsikanov
 
презентация футбол кузьмичев в.в.
презентация футбол кузьмичев в.в.презентация футбол кузьмичев в.в.
презентация футбол кузьмичев в.в.msikanov
 
Rebranding on field of fast food machines
Rebranding on field of fast food machinesRebranding on field of fast food machines
Rebranding on field of fast food machinesMichalx
 
новогодняя выставка
новогодняя выставкановогодняя выставка
новогодняя выставкаmsikanov
 
торжественное мероприятие, посвящённое 70 летию великой победы
торжественное мероприятие, посвящённое 70 летию великой победыторжественное мероприятие, посвящённое 70 летию великой победы
торжественное мероприятие, посвящённое 70 летию великой победыmsikanov
 
мастер класс моя москва-
мастер класс моя москва-мастер класс моя москва-
мастер класс моя москва-msikanov
 
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1อำนาจ ศรีทิม
 
Call of duty saga
Call of duty sagaCall of duty saga
Call of duty sagaSniper10xz
 
выставка игрушек ссср
выставка игрушек сссрвыставка игрушек ссср
выставка игрушек сссрmsikanov
 
Aos#2 aust. history
Aos#2 aust. historyAos#2 aust. history
Aos#2 aust. history08695554
 
арт студия
арт студияарт студия
арт студияmsikanov
 
бумажная пластика
бумажная пластикабумажная пластика
бумажная пластикаmsikanov
 

En vedette (20)

Storyboard kpd 3026
Storyboard kpd 3026Storyboard kpd 3026
Storyboard kpd 3026
 
веселые старты
веселые стартывеселые старты
веселые старты
 
презентация футбол кузьмичев в.в.
презентация футбол кузьмичев в.в.презентация футбол кузьмичев в.в.
презентация футбол кузьмичев в.в.
 
Rebranding on field of fast food machines
Rebranding on field of fast food machinesRebranding on field of fast food machines
Rebranding on field of fast food machines
 
новогодняя выставка
новогодняя выставкановогодняя выставка
новогодняя выставка
 
торжественное мероприятие, посвящённое 70 летию великой победы
торжественное мероприятие, посвящённое 70 летию великой победыторжественное мероприятие, посвящённое 70 летию великой победы
торжественное мероприятие, посвящённое 70 летию великой победы
 
мастер класс моя москва-
мастер класс моя москва-мастер класс моя москва-
мастер класс моя москва-
 
Reizen met de trein
Reizen met de treinReizen met de trein
Reizen met de trein
 
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
 
Call of duty saga
Call of duty sagaCall of duty saga
Call of duty saga
 
001.safetymanagement v3
001.safetymanagement v3001.safetymanagement v3
001.safetymanagement v3
 
007.safetymanagement v3
007.safetymanagement v3007.safetymanagement v3
007.safetymanagement v3
 
การป้องกันอุบัติเหตุ
การป้องกันอุบัติเหตุการป้องกันอุบัติเหตุ
การป้องกันอุบัติเหตุ
 
выставка игрушек ссср
выставка игрушек сссрвыставка игрушек ссср
выставка игрушек ссср
 
Aos#2 aust. history
Aos#2 aust. historyAos#2 aust. history
Aos#2 aust. history
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
008.safetymanagement v3
008.safetymanagement v3008.safetymanagement v3
008.safetymanagement v3
 
арт студия
арт студияарт студия
арт студия
 
Desayuno "Emision de tarjetas instantáneas"
Desayuno "Emision de tarjetas instantáneas"Desayuno "Emision de tarjetas instantáneas"
Desayuno "Emision de tarjetas instantáneas"
 
бумажная пластика
бумажная пластикабумажная пластика
бумажная пластика
 

Similaire à การปฏิบัติงาน

W1 printing45
W1 printing45W1 printing45
W1 printing45Kris Kizt
 
ตอนที่4 การชิ้นงาน
ตอนที่4 การชิ้นงานตอนที่4 การชิ้นงาน
ตอนที่4 การชิ้นงานKriangx Ch
 
การเขียนภาพแผ่นคลี่
การเขียนภาพแผ่นคลี่การเขียนภาพแผ่นคลี่
การเขียนภาพแผ่นคลี่prasong singthom
 
Desing
DesingDesing
Desinghalato
 
(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ
(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ
(วัสดุกราฟฟิค)สื่อSuwichaPanyakhai
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการaispretty
 
การใช้เครื่องใช้สำนักงาน
การใช้เครื่องใช้สำนักงานการใช้เครื่องใช้สำนักงาน
การใช้เครื่องใช้สำนักงานPrapisee Nilawongse
 
Ict300_7_edit
Ict300_7_editIct300_7_edit
Ict300_7_editNicemooon
 
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานsa_jaimun
 
Aibkhwaamruueruueng phaaphraang
Aibkhwaamruueruueng phaaphraangAibkhwaamruueruueng phaaphraang
Aibkhwaamruueruueng phaaphraangssuser9ce327
 
Aibkhwaamruueruueng phaaphraang
Aibkhwaamruueruueng phaaphraangAibkhwaamruueruueng phaaphraang
Aibkhwaamruueruueng phaaphraangssuser618f82
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Net'Net Zii
 
บทที่ 5 ตัวอักษรและรูปแบบตัวอักษร
บทที่ 5 ตัวอักษรและรูปแบบตัวอักษรบทที่ 5 ตัวอักษรและรูปแบบตัวอักษร
บทที่ 5 ตัวอักษรและรูปแบบตัวอักษรsomdetpittayakom school
 

Similaire à การปฏิบัติงาน (20)

Design
DesignDesign
Design
 
เครื่องมือ3
เครื่องมือ3เครื่องมือ3
เครื่องมือ3
 
W1 printing45
W1 printing45W1 printing45
W1 printing45
 
ตอนที่4 การชิ้นงาน
ตอนที่4 การชิ้นงานตอนที่4 การชิ้นงาน
ตอนที่4 การชิ้นงาน
 
การเขียนภาพแผ่นคลี่
การเขียนภาพแผ่นคลี่การเขียนภาพแผ่นคลี่
การเขียนภาพแผ่นคลี่
 
Desing
DesingDesing
Desing
 
Caption4
Caption4Caption4
Caption4
 
104
104104
104
 
(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ
(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ
(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการ
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
ออกแบบนิเทศศิลป์
ออกแบบนิเทศศิลป์ออกแบบนิเทศศิลป์
ออกแบบนิเทศศิลป์
 
การใช้เครื่องใช้สำนักงาน
การใช้เครื่องใช้สำนักงานการใช้เครื่องใช้สำนักงาน
การใช้เครื่องใช้สำนักงาน
 
Ict300_7_edit
Ict300_7_editIct300_7_edit
Ict300_7_edit
 
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
 
Aibkhwaamruueruueng phaaphraang
Aibkhwaamruueruueng phaaphraangAibkhwaamruueruueng phaaphraang
Aibkhwaamruueruueng phaaphraang
 
Aibkhwaamruueruueng phaaphraang
Aibkhwaamruueruueng phaaphraangAibkhwaamruueruueng phaaphraang
Aibkhwaamruueruueng phaaphraang
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
บทที่ 5 ตัวอักษรและรูปแบบตัวอักษร
บทที่ 5 ตัวอักษรและรูปแบบตัวอักษรบทที่ 5 ตัวอักษรและรูปแบบตัวอักษร
บทที่ 5 ตัวอักษรและรูปแบบตัวอักษร
 

Plus de อำนาจ ศรีทิม

องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4 อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6อำนาจ ศรีทิม
 
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบอำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์อำนาจ ศรีทิม
 
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินอำนาจ ศรีทิม
 

Plus de อำนาจ ศรีทิม (20)

ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56
 
วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56
 
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
 
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
 
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
 
บทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัยบทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัย
 
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
 
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
 
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
 
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
 
Picasa[1]
Picasa[1]Picasa[1]
Picasa[1]
 
Google docs[1]
Google docs[1]Google docs[1]
Google docs[1]
 

การปฏิบัติงาน

  • 1. การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจัดจาหน่ายได้ การเขียนแบบเป็นการถ่ายทอดความคิดของผู้ออกแบบลงบนกระดาษอย่างเป็นระเบียบ แบบแผน เพื่อให้ บุคคลได้เข้าใจโดยไม่จากัดระยะเวลาในการศึกษาทาความเข้าใจ การเขียนแบบเป็นภาษาอย่างหนึ่งที่ใช้กันในงาน ช่างหรืองานอุตสาหกรรม เป็นภาษาที่ถ่ายทอดความคิดหรือความต้องการของผู้ออกแบบไปให้ผู้อื่นได้ทราบและ เข้าใจได้อย่างถูกต้องไม่คลาดเคลื่อน โดยแบบที่เขียนขึ้นจะเป็นสื่อกลางที่จะนาความคิดไปสร้างได้อย่าง ถูกต้อง อันจะเป็นการประหยัดและได้งานที่มีคุณภาพตรงตามความต้องการ อย่างไรก็ตามเพื่อให้ได้ความเข้าใจ ที่ตรงกันการเขียนแบบจะต้องเป็นภาษาสากล โดยเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์และรูปแบบต่าง ๆ จะต้องเข้าใจ ได้ง่าย ในงานช่าง “แบบงาน” เป็นหัวใจสาคัญหรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นภาษาสากลที่ใช้แสดงหรือสื่อความหมาย ของงานที่จะสร้างหรือต้องการผลิตขึ้นมา ภาพหรือรูปร่างที่เรียกว่าแบบงานนั้น เขียนขึ้นโดยใช้เส้นชนิดต่าง ๆ สัญลักษณ์และเครื่องหมายเฉพาะอื่น ๆ เมื่อประกอบกันขึ้นมาเป็นรูปทรง สามารถใช้สื่อความหมายให้ผู้เกี่ยวข้อง ได้เห็ นรูปร่าง ขนาด ลักษณะของผิวงานชนิดของวัสดุ เข้าใจวิธีการและขั้นตอนในการสร้างหรือการผลิต นอกจากนี้ผู้เกี่ยวข้องยังสามารถนาแบบงานมาคานวณหาปริมาณของวัสดุ ประมาณราคาและระยะเวลา ในการสร้างหรือผลิตงานนั้นได้ เป็นการยากที่จะระบุว่าอาชีพใดที่ไม่ต้องการ ความสามารถในการอ่านแบบและ เข้าใจแบบ การที่จะสร้างอาคารที่พักอาศัย โต๊ะ เก้าอี้ ฯลฯ หรือของอื่นใดที่ผลิตขึ้น ต้องอาศัยการออกแบบ และเขียนแบบขึ้นมาก่อน การเขียนแบบจะแสดงให้เห็นภาพซึ่งเป็นต้นแบบของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ การเขียนแบบและอ่านแบบ การออกแบบ หมายถึง การทาต้นแบบ การทาแผนผังของแบบเพื่อสนองความคิดและความต้องการของ ผู้ออกแบบในรูปแบบของ ความคิดสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ โดยคานึงถึงความสวยงามประโยชน์การใช้สอย ประเภท ของการออกแบบยังรวมถึงการปรับปรุงแก้ไขสิ่งต่าง ๆ ที่มีอยู่แล้วให้เกิดความเหมาะสม กับสภาพความเป็นจริง ขณะนั้น องค์ประกอบในการออกแบบเบื้องต้น มีดังนี้ 1. เส้น (Line) คือ สิ่งที่เชื่อมโยงระหว่างจุดสองจุดหรือจุดที่ต่อเนื่องกัน ทาให้เกิดรูปร่าง รูปทรง และ โครงสร้าง เส้นที่ใช้ในการออกแบบ เช่น เส้นตรง เส้นนอน เส้นตั้ง เส้นทแยง และเส้นโค้ง เป็นต้น 2. รูปร่าง (shape) คือ รูป 2 มิติ ที่มีความกว้าง ความยาว โดยมีเส้นเป็นส่วนประกอบ มีทั้งรูปร่าง เรขาคณิต และรูปร่างอิสระ 3. รูปทรง (Form) คือ รูปลักษณะด้านสามด้าน หรือรูปสามมิติ ที่มีความกว้าง ความยาว และความ สูง มีเนื้อที่ภายในขอบเขต เช่น รูปทรงเรขาคณิต รูปทรงอิสระ เป็นต้น 4. สัดส่วน (Proportion)คือ ความสัมพันธ์ระหว่างความกว้าง ความยาว และความสูง ความสัมพันธ์ ระหว่างส่วนต่าง ๆ เป็นสัดส่วนต่อกันช่วยให้ส่วนประกอบของรูปทรงมีความสัมพันธ์กันในลักษณะกลม กลืนกัน หรือขัดแย้งกัน 5. วัสดุและพื้นผิว (Material and Texture)คือ วัตถุดิบที่จะนามาใช้ในการออกแบบ มีลักษณะของ พื้นผิวที่แตกต่างกัน สามารถรับรู้ได้จากการมองเห็นหรือการสัมผัส เพื่อที่จะนามาใช้ในการออกแบบได้อย่าง ถูกต้อง 6. สี (Color) สีที่ให้ความรู้สึกที่ปรากฏให้เห็นด้วยคลื่นแสง สีช่วยทาให้งานออกแบบมีความรู้สึกและได้ อารมณ์มากยิ่งขึ้น นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 1
  • 2. การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้ การนาเอาหลักการทั้งหมดขององค์ประกอบในการออกแบบมาสร้างหรือผลิตชิ้นงานทางช่าง ขึ้นอยู่กับ ความเหมาะสมและความต้องการของผู้ออกแบบ ที่จะจัดองค์ประกอบต่าง ๆ ผสมผสานกัน จนเป็นผลงานที่มี ความสมบูรณ์ออกมา การเขียนแบบ หมายถึง การนาเอาความคิดสร้างสร รค์มาเขียนหรือแสดงออกเป็นรูปแบบ โดยการใช้เส้น รูปภาพ หรือสัญลักษณ์ พร้อมรายการประกอบแบบ เป็นการแสดงให้เห็นรูปลักษณะที่เหมือนของจริง สามารถ นาไปใช้สร้างหรือผลิตชิ้นงานได้จริง เป็นการแสดงโครงสร้าง รูปด้าน รูปลักษณะภายในของสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ซึ่งแบบที่ใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่ รูปแปลน (Plan) รูปด้าน (Elevation) รูปตัด (Section) และรูปขยาย (Detail) โดยปกติทั่วไป สามารถมองเห็นว่าวัตถุทั้งหลายล้วนประกอบด้วยด้าน 6 ด้าน คือ ด้านบ น ด้านล่าง ด้านหน้า ด้านหลัง ด้านซ้าย และด้านขวา แต่ในวิชาเขียนแบบ วัตถุที่นาไปเขียนจะ ประกอบด้วย รูปแปลน รูปด้านหน้า รูปด้านข้าง และรูปด้านหลัง ซึงแต่ละรูปมีความหมายดังนี้ ่ 1. รูปแปลน (Plan) หมายถึง รูปที่มองเห็นจากด้านบนลงมา ประกอบด้วยส่วนกว้าง ส่วนยาว 2. รูปด้านหน้า (Front Elevation) หมายถึงรูปที่มองเห็นจากด้านหน้าเข้าไป ซึ่งประกอบด้วยส่วนกว้าง และส่วนยาว 3. รูปด้านข้าง(Side Elevation) หมายถึงรูปที่มองเห็นจากด้านซ้ายหรือด้านขวาไปประกอบด้วยส่วนยาว และส่วนสูง 4. รูปด้านหลัง (Rear Elevation) หมายถึง รูปที่มองเห็นจากส่วนด้านหลังเข้ามา ประกอบด้วยส่วนกว้าง และส่วนสูง 5. รูปตัด (Section) เป็นการตัดสิ่งที่ต้องการทราบในส่วนที่มองไม่เห็นหรืออยู่ภายใน ซึ่งไม่สามารถแสดง ให้เห็นได้อย่างชัดเจน ดังนั้นจึงต้องมีการเขียน ภาพตัดเพื่อแสดงรายละเอียดของส่ว นสาคัญต่าง ๆใ ห้เข้าใจและ นาไปใช้งานได้ ภาพตัดจะมีการเติมสัญลักษณ์การตัด แสดงขอบเขต ตาแหน่งและทิศทางที่ถูกตัดพร้อมมีอักษร กากับไว้ เพื่อให้สะดวกแก่การทาความเข้าใจ 6. รูปขยาย (Detail) เป็นการเขียนแบบส่วนรายละเอียดของชิ้นงานเฉพาะจุดให้ชัดเจนด้วยการขยาย มาตรา ส่วนให้ใหญ่ขนกว่าเดิม เช่น 2 : 1 หรือ 5 :1 เป็นต้น ึ้ เครื่องมือและอุปกรณ์ในการเขียนแบบ เครื่องมือและอุปกรณ์ในการเขียนแบบ เป็นสิ่งจาเป็นสาหรับงานเขียนแบบซึ่งจะทาให้งานเขียนแบบมี มาตรฐาน และมีคุณภาพ ประหยัดเวลาในการทางาน จาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีความรู้ความเข้าใจในเครื่องมือ และ อุปกรณ์ในการเขียนแบบซึ่งมีหลายชนิดให้เลือกแต่ละชนิดจะมีลักษณะการใช้ที่แตกต่างกัน และมีลักษณะการใช้ เฉพาะอย่าง เช่น ไม้ที ใช้สาหรับการตีเส้นโดยเฉพาะ ถ้าหากนาไปใช้ร่วมกับมีดตัดกระดาษใบมีดอาจตัดเอา เนื้อไม้ที เมื่อนาไปขีดเส้นตรงก็จะไม่ได้เส้นตรงตามต้องการ เครื่องมือเขียนแบบที่จาเป็นมีดังนี้ 1. ชนิดของเครื่องมือและอุปกรณ์เขียนแบบ เครื่องมือมีส่วนที่จะช่วยให้งานเขียนแบบมีคุณภาพได้มาตรฐาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการเขียน แบบพื้นฐานประกอบด้วย - โต๊ะเขียนแบบและกระดานเขียนแบบ การเขียนแบบจะใช้โต๊ะเขียนแบบซึ่งมีโครงสร้างแตกต่างกันไปแล้วแต่บริษัทผู้ออกแบบ แต่ โดยทั่วไปจะมีความสูงเป็นมาตรฐานเดียวกัน หรือบางชนิดอาจปรับความสูงให้เหมาะสมกับการใช้งานได้ พื้นโต๊ะ จะเรียบเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขอบด้านข้างตรงและได้ฉาก มีขนาดต่างกัน ที่นิยมใช้มากที่สุดคือ 500 x 600 มม. นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 2
  • 3. การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้ รูปที่ 4.1 โต๊ะเขียนแบบ 2. อุปกรณ์ที่ใช้ขีดเส้น อุปกรณ์ที่ใช้ในการขีดเส้น ได้แก่ ไม้ที บรรทัดสามเหลี่ยม และบรรทัดสเกล - ไม้ที เป็นเครื่องมือที่สาคัญในการเขียนแบบ ไม้ที มีส่วนประกอบ 2 ส่วน คือส่วนหัวและส่วนใบ ทาจากไม้เนื้อแข็ง หรือ พลาสติกใส ทั้ง 2 ส่วน จะยึดตั้งฉากกัน ไม้ทใช้สาหรับขีดเส้นในแนวนอน และใช้ประกอบ ี กับฉากสามเหลี่ยม ขีดเส้นในแนวตั้งฉาก และขีดเส้นเอียงทามุมต่างๆ รูปที่ 4.2 ไม้ทีรูปที่ 4.3 บรรทัดสามเหลี่ยม - บรรทัดสามเหลี่ยม โดยทั่วไปทาจากพลาสติกใส เพื่อจะได้มองเห็นส่วนอื่นๆ ของแบบได้อย่าง ชัดเจน บรรทัดสามเหลี่ยมใช้สาหรับขีดเส้นดิ่งและเส้นเอนทามุมต่างๆ ปกติจะใช้คู่กับ ไม้ที มี 2 แบบ คือ แบบ ตายตัว ซึ่งมีค่ามุม 45-90-45 องศา กับค่ามุม 30-90-60 องศา และแบบปรับมุมต่างๆ ได้ - บรรทัดมาตราส่วน ใช้วัดขนาด มีความยาวต่างกัน ตั้งแต่ 150, 300, 400, และ 600 มิลลิเมตร มีมาตราส่วนต่างๆ เพื่อใช้เขียนรูปได้หลายขนาด คือ - มาตราส่วนขนาดเท่าของจริง 1 : 1 - มาตราส่วนย่อ 1 : 2, 1 : 5, 1 : 10, 1 : 100, 1 : 1000 เป็นต้น - มาตราส่วนขยาย 2 : 1, 5 : 1, 10 : 1, 100 : 1, 1000 : 1 เป็นต้น มาตราส่วนเท่าของจริง, มาตราส่วนย่อ, หรือมาตราส่านขยาย จะนาไปใช้งานในแต่ละประเภท ไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับลักษณะงาน 3. อุปกรณ์เขียนส่วนโค้ง อุปกรณ์ที่ใช้ในการเขียนส่วนโค้ง มีหลายแบบขึ้นอยู่กับลักษณะงานและการนาไปใช้ เช่น วงเวียน แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ วงเวียนที่ใช้เขียนส่วนโค้ง และวงเวียนที่ใช้ถ่ายขนาด เป็นต้น - วงเวียน เป็นอุปกรณ์สาหรับเขียนวงกลม หรือส่วนโค้ง ควรเลือกใช้ให้เหมาะสม นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 3
  • 4. การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้ - วงเวียนถ่ายขนาด เป็นวงเวียนที่มีปลายแหลม 2 ข้าง วงเวียนชนิดนี้ใช้สาหรับถ่ายขนาดที่วัด ขนาดจากฟุตเหล็ก หรือฉากสามเหลี่ยม แล้วนาไปถ่ายลงบนแบบทาให้สามารถแบ่งเส้นตรง แบ่งวงกลมให้มีขนาด เท่าๆ กันได้สะดวกและรวดเร็วง่ายต่อการเขียนแบบ - บรรทัดเขียนส่วนโค้ง(Curves) เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยในการเขียนส่วนโค้งชนิดหนึ่ง การใช้บรรทัด ส่วนโค้งจะต้องใช้ส่วนโค้งของบรรทัดสัมผัสจุด อย่างน้อย 3 จุด เพื่อให้ได้ส่วนโค้งที่ดี มีความต่อเนื่อง ซึงต่างกับ ่ การใช้วงเวียนที่มีระยะรัศมีเท่ากันทุกจุดของเส้นโค้งนั้นๆ แผ่นโค้งนี้ให้ความสะดวกในการทางานสูง ซึ่งผู้ใช้เอง ก็ต้องระมัดระวังในการใช้งานให้ดี หมุนปรับให้ได้ตาแหน่ง รูปที่ 4.4 วงเวียน รูปที่ 4.5 บรรทัดเขียนส่วนโค้ง 4. กระดาษเขียนแบบ กระดาษเขียนแบบที่นิยมใช้ในปัจจุบัน แบ่งออกเป็น 2 ระบบ คือ ระบบนิ้ว และระบบมิลลิเมตร ต่อมาได้ ปรับปรุงให้เป็นระบบสากล โดยใช้ระบบ ISO ซึ่งยอมรับทั้งระบบอเมริกันและยุโรป นอกจากนั้น ประเทศไทย ยังได้ผลิตมาตรฐานเป็น (มอก.) โดยการเขียนแบบทั่วไปทางเครื่องกลซึ่งมีลักษณะเช่นเดียวกับมาตรฐาน ISO ซึง ่ มาตรฐานของกระดาษในระบบต่างๆ ได้แสดงไว้ในตาราง ตารางที่ 4.1 แสดงมาตรฐานของกระดาษมาตรฐาน ISO นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 4
  • 5. การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้ 5. ดินสอเขียนแบบ เป็นเครื่องมือที่ใช้ขีดเส้นบนกระดาษเขียนแบบ เพื่อแสดงรูปร่างต่างๆ ให้เป็นแบบที่ใช้งาน ดินสอเขียน แบบสามารถแบ่งได้เป็นหลายชนิดคือ - ดินสอชนิดเปลือกไม้ - ดินสอชนิดเปลี่ยนไส้ได้ จะเป็นดินสอที่มีโครงด้ามเป็นโลหะ หรือพลาสติก และใส่ไส้ดินสออยู่ข้าง ใน ดินสอชนิดนี้จะมีการออกแบบมาใช้งานไว้มากมายหลายชนิด เกรดไส้ดินสอ แบ่งออกเป็น 3 เกรด คือ ดินสอที่มีไส้แข็งมาก (Hard) ดินสอที่มีไส้แข็งปานกลาง (Medium) และดินสอแบบไส้อ่อน (Soft) แล้วจึงแบ่งย่อย ตามลาดับความแข็งอ่อนของแต่ละกลุ่ม โดยใช้วิธีให้ตัวเลขเป็นตัวกาหนดร่วมกับตัวอักษร ดังนี้ - ดินสอที่มีไส้แข็งมาก (Hard) มีตั้งแต่ เบอร์ 9H-4H ใช้สาหรับขีดเส้นร่างรูป เส้นที่ใช้ เขียนต้องเป็นเส้นบาง เช่น ร่างรูป เส้นบอกขนาด และเส้นช่วยบอกขนาด - ดินสอที่มีไส้แข็งปานกลาง (Medium) มีตั้งแต่ เบอร์ 3H-B ใช้สาหรับใช้สาหรับงาน เขียนแบบงานสาเร็จรูป เช่น เส้นขอบชิ้นงาน เส้นแสดงแนวตัด และสัญลักษณ์แนวเชื่อม - ดินสอแบบไส้อ่อน (Soft) มีตั้งแต่ เบอร์ 2B-7B ใช้ในงายศิลปะวาดภาพแรเงา ไม่เหมาะที่จะนามาใช้ในการเขียนแบบ รูปที่ 4.6 ดินสอชนิดเปลี่ยนไส้ได้ แบบไส้แข็งมาก ไส้แข็งปานกลาง และแบบไส้อ่อน 6. ปากกาเขียนแบบ ปากกาเขียนแบบในปัจจุบันนิยมใช้ปากกา เขียนแบบหมึกซึม ขนาดความโตของปากกาเขียนแบบจะมี ขนาดเท่าขนาดของเส้นมาตรฐานสากลที่ใช้ในงาน เขียนแบบ รูปที่ 4.7 ปากกาเขียนแบบ รูปที่ 4.8 แปรงปัด นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 5
  • 6. การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้ 7. อุปกรณ์ทาความสะอาด แบบงานที่มีคุณภาพนั้น นอกจากเขียนได้ถูกต้อง สมบูรณ์ ได้มาตรฐานแล้วนั้น แบบงานจะต้องสะอาด ดังนั้นอุปกรณ์ทาความสะอาดจึงมีความจาเป็นมาก เช่น - แปรงปัด เป็นแปรงขนอ่อนใช้สาหรับปัดฝุ่นบนกระดาษเขียนแบบ และปัดเศษยางลบ - ยางลบ ใช้สาหรับลบงาน มีลักษณะเป็นยางอ่อนซึ่งจะไม่ทาให้กระดาษเป็นขุยหรือเป็นรอย - แผ่นกันลบ ทาจากโลหะบางเบา เจาะรูไว้หลายลักษณะ ใช้กันลบตรงบริเวณที่ขีดเส้นผิดพลาด รูปที่ 4.9 ยางลบ รูปที่ 4.10 แผ่นกันลบ 8. การใช้และบารุงรักษาเครื่องมือเขียนแบบ การใช้และบารุงรักษาเครื่องมือเขียนแบบเป็นสิ่งที่นักเขียนแบบ จะต้องให้ความสาคัญเป็นอย่างมาก เครื่องมือที่ดีย่อมทาให้การเขียนแบบมีความสะดวกรวดเร็ว และเขียนงานได้อย่างมีคุณภาพ เครื่องมือแต่ละแบบ ถูกออกแบบให้ใช้เฉพาะงานเท่านั้นไม่ควรนาไปใช้สับหน้าที่กันเพราะ จะทาให้เกิดความเสียหายหรือเสื่อม สมรรถภาพสาหรับงานนั้น ๆ เช่น ใช้ปลายแหลมของ วงเวียนไปเจาะรูสิ่งต่าง ๆ อาจเกิดความเสียหายกับปลาย แหลมของวงเวียน ส่วนปลายเข็มวงเวียนคดงอ ทาให้เวลาเขียนวงกลมปลายเข็มจะไม่เกาะกระดาษ วงกลมที่เขียน จะบิดเบี้ยว การใช้เครื่องมือจึงต้องมีความระมัดระวัง เข้าใจการใช้ และใช้ให้ถูกวิธี นอกจากการใช้เครื่องมือโดยถูกต้องตามวิธีการใช้แล้ว ผู้ใช้ต้องรู้จักบารุงรักษาเครื่องมืออย่างถูกต้อง และ รักษาเครื่องมือให้สะอาดอ ยู่เสมอ เพราะเครื่องมือที่สกปรกจะทาให้งานเขียนแบบสกปรกไปด้วยควรทาความ สะอาดเครื่องมือด้วยการล้างน้าบางครั้งอาจใช้น้ายาทาความสะอาดช่วย ในการใช้น้ายาต้องพิจารณาด้วยว่าวัสดุ อะไรใช้น้ายาชนิดใด การทาความสะอาดอาจจะใช้เพียงน้าสบู่ก็เพียงพอถ้าเครื่องมือไม่สกปรกมาก หลังจากทา ความสะอาดควรเช็ดเครื่องมือด้วยผ้าแห้ง หรือใช้เครื่องเป่าลมหรือเครื่องเป่าผม เป่าลมร้อนเบา ๆ ให้เครื่องมือ แห้งสนิท และเก็บเครื่องมือลงกล่องให้เรียบร้อย โต๊ะเขียนแบบก็เช่นกันควรหมั่นทาความสะอาด ใช้แปรงปัดฝุ่น ก่อนและหลังการเขียนแบบทุกครั้ง ในขณะเขียนแบบเมื่อใช้ยางลบจะมีขี้ยางลบเกิดขึ้น ให้ใช้แปรงปัดขี้ยางลบ ออกจากโต๊ะทุกครั้งที่ใช้ยางลบ มิฉะนั้นขี้ยางลบจะอยู่บนโต๊ะเมื่อเลื่อนไม้ทีหรือไม้ฉากจะทาให้ขี้ยางลบติดบนแบบ ทาให้แบบสกปรก หลังจากการเขียนแบบไม่ควรปล่อยงานเขียนแบบค้างไว้บนโต๊ะเขียนแบบโดยไม่มีสิ่งใดปิ ด ควรหาผ้าหรือ กระดาษคลุมปิดงานไว้เพื่อป้องกันฝุ่นละอองลงจับผิวกระดาษเขียนแบบหรือแมลงสาปมากัดแทะกินแบบในเวลา กลางคืน นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 6
  • 7. การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้ การติดกระดาษเขียนแบบต้องติดให้ได้ฉาก และขนานกับขอบโต๊ะซึ่งมีวิธีดังนี้ คือ - นาไม้ทีวางบนโต๊ะโดยหัวไม้ทีติดกับขอบโต๊ะเว้นระยะจากขอบโต๊ะด้านล่างประมาณ 2 - 3 เท่า ความกว้างของไม้ที - นากระดาษเขียนแบบสอดใต้หัวไม้ที ดันไม้ทีให้หัวไม้ทีติดขอบโต๊ะเลื่อนไม้ทีขึ้นเสมอขอบ ด้านบนของกระดาษ และขอบกระดาษอยู่ในแนวเส้นตรงของขอบไม้ที - เมื่อขอบกระดาษและไม้ทีอยู่ในแนวเดียวกันแล้ว ติดกระดาษเทปกาวลงบนของกระดาษทั้งสี่ มุมเพื่อยึดกระดาษไม่ให้กระดาษเคลื่อนที่ เส้นและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ 1. เส้นในงานเขียนแบบ ในงานเขียนแบบ เส้นในแบบจะมีความหมายและเป็นสื่อแสดงลักษณะเฉพาะ จาเป็นที่ผู้ เขียนแบบ และ ผู้อ่านแบบจะต้องเข้าใจในความหมายการใช้เส้นในตาแหน่งต่าง ๆ ได้ถูกกาหนดเป็นแบบแผนดังนี้ 1.1 เส้นเต็มรอบรูป(Visible Line) เส้นที่ลากติดต่อกันไปตลอดใช้แสดงส่วนของงานที่มองเห็น 1.2 เส้นส่วนที่มองไม่เห็น หรือเส้นประ(Hidden Line or Dash Line) เส้นที่เขียนสั้น ๆ ต่อเนื่องกัน ใช้แสดงส่วนของงานที่มองไม่เห็น แต่ละเส้นยาวประมาณ 1/8 นิ้ว และเว้นห่างกันประมาณ 1/32 นิ้ว 1.3 เส้นแสดงภาพตัด (Section Line) เส้นแสดงภาพตัด ใช้แสดงส่วนที่ถูกตัดเพื่อที่จะได้บอกตาแหน่ง ของส่วนที่ถูกตัดอยู่ ณ ตาแหน่งใด 1.4 เส้นแนวกึ่งกลาง หรือเส้นแกน(Center Line) เส้นยาว และสั้นสลับกันไป เส้นยาวประมาณ 1 นิ้ว เขียนสลับกับเส้นสั้นประมาณ 1/8 นิ้ว ใช้แสดงแนวกึ่งกลางของงานที่มีรูปแบบ 1.5 เส้นต่อกากับ (Extension Line) เส้นที่ต่อจากแนวด้านของงานโดยเว้นระยะจาก ขอบงานประมาณ 1/8 นิ้ว ใช้แสดงระยะของด้าน 1.6 เส้นมิติบอกขนาด(Dimension Line) เส้นที่มีหัวลูกศรทั้งสองด้าน มีตัวเลขแสดงขนาดอยู่ตรงกลาง เส้น เพื่อแสดงมิติของงานให้ทราบว่ามีขนาดเท่าใด หัวลูกศรต้องสัมผัสกับเส้นต่อพอดี ขนาดของลูกศรยาว ประมาณ 1/8 นิ้ว ความกว้างของหัวลูกศรประมาณ 1/3 ของความยาวลูกศร 1.7 เส้นแสดงแนวตัด (Cutting Line) เส้นยาวสลับเส้นสั้นสองเส้นใช้แสดงตาแหน่งของส่วนที่ถูกตัดอยู่ บริเวณใด 1.8 เส้นร่นระยะ(Break Line) เส้นตรงยาวมีระยะเส้นหยัก ใช้แสดงในส่วนที่หายไปเพื่อให้ทราบว่า เนื้องานมีขนาดมากกว่าที่เห็นเป็นการลดความยาวของรูปแบบ ลงไปเนื่องจากกระดาษเขียนแบบมีจากัด ไม่สามารถเขียนเต็มรูปได้ รูปที่ 4.11 ตัวอย่างเส้นที่ใช้ในการเขียนแบบ นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 7
  • 8. การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้ 2. สัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ สัญลักษณ์ของวัตถุที่ใช้แสดงในภาพมีขึ้นเพื่อแสดงให้ทราบว่าวัตถุที่ใช้นั้นเป็นชนิดใดบ้าง เพราะต้องการ ให้สะดวกและรวดเร็วในการทางาน จึงได้แยกสัญลักษณ์ดังต่อไปนี้ การเขียนภาพ 2 มิติ 3 มิติ และภาพฉาย 1. ภาพ 2 มิติ รูปที่ 4.11 ภาพ 2 มิติ นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 8
  • 9. การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้ งาน 2 มิติเราจะพบได้ในงานจิตรกรรมและงานภาพพิมพ์ เพราะเกิดจากการใช้เส้นและสีในการสร้างงาน และมีระนาบ 2 ระนาบคือ กว้างและยาวเส้นรูปแบบต่างๆ คือเส้นตรง เส้นหยัก เส้นโค้ง เส้นแต่ละชนิดให้ ความรู้สึกแตกต่างกันไปรูปร่างหมายถึงการต่อกันของเส้นตั้งแต่ 2 เส้นขึ้นไป มักจะอยู่กับรูปทรงและใช้เรียก ควบคู่กันไปการเพิ่มแสงเงาในรูปร่างที่เป็น 2 มิติ หรือใช้เส้นเพื่อสร้างเส้นนาสายตาจะช่วยเพิ่มความลึก มิติ ให้กับรูปร่างนั้น 2. ภาพ 3 มิติ การสร้างภาพเชิง 3 มิติ (อังกฤษ: three-dimensional imaging) คือ การหารูปร่างและขนาดของวัตถุ ใน 3 มิติ โดย เทคนิคของการวัดรูปร่างนี้ จะมีเงื่อนไขจากัดอยู่ เนื่องจากสิ่งที่ต้องการวัดคือขนาดสัมบูรณ์ของวัตถุ เพราะฉะนั้นขนาดของวัตถุที่วัด ได้ จะต้องไม่ขึ้นกับชนิดผิวและการสะท้อนของวัตถุ ระยะห่างจากอุปกรณ์เก็บภาพ 3 มิติ และ สภาพแสงและการส่องสว่าง 2.1 ความหมายของภาพ ภาพสามมิติหมายถึง การเขียนภาพโดยการนาพื้นผิวแต่ละด้านของชิ้นงานมาเขียนประกอบกัน เป็นรูป เดียว ทาให้สามารถมองเห็นลักษณะรูปร่าง พื้นผิว ได้ทั้งความกว้าง ความยาว และความหนาของชิ้นงาน ทาให้ภาพสามมิติมีลักษณะคล้ายกับการมองชิ้นงานจริง ภาพสามมิติที่เขียนในงานเขียนแบบมีหลายประเภท แต่ละประเภทก็มีความแตกต่างกันในการวางมุมการเขียน และขนาดของชิ้นงานจริง กับขนาดชิ้นงานในการเขียน แบบซึ่งผู้เขียนแบบต้องศึกษาลักษณะของภาพสามมิติ แต่ละประเภทต่างๆ ให้เข้าใจ เพื่อสามารถปฏิบัติการเขียน แบบได้อย่างถูกต้อง 2.2 ประเภทของภาพสามมิติ - ภาพสามมิติแบบ TRIMETRIC เป็นภาพสามมิติที่มีความสวยงาม และลักษณะคล้ายของจริง มากที่สุดและเป็นภาพที่ง่ายต่อการอ่านแบบเพราะเป็นภาพที่เขียนได้ยาก เนื่องจากมุมที่ใช้เขียนเอียง 12 องศา และ 23 องศา และอัตราความยาวของแต่ละด้านไม่เท่ากัน รูปที่ 4.12 ลักษณะของภาพ TRIMETRIC - สามมิติแบบ DIMETRIC เป็นภาพสามมิติที่มีลักษณะคล้ายกับภาพถ่ายและง่ายต่อการอ่านแบบ แต่ไม่ค่อยนิยมในการเขียนแบบเพราะเป็นภาพที่เขียนได้ยาก เนื่องจากมุมที่ใช้เขียน เอียง 7 องศา และ 42 องศา และขนาดความหนาของภาพที่เขียนจะลดขนาดลงครึ่งหนึ่งของความหนาจริง นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 9
  • 10. การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้ รูปที่ 4.12 ลักษณะของภาพ DIMETRIC รูปที่ 4.13 ลักษณะของภาพ ISOMETRIC - ภาพสามมิติแบบ ISOMETRIC เป็นภาพสามมิติที่นิยมเขียนมากเพราะภาพที่เขียนง่ายเนื่องจาก ภาพมีมุมเอียง 30 องศา ทั้งสองข้างเท่ากัน และขนาดความยาวของภาพทุกด้านจะมีขนาดเท่าขนาดงานจริง ภาพ ที่เขียนจะมีขนาดใหญ่มากทาให้เปลืองเนื้อที่กระดาษ - ภาพสามมิติแบบ OBQIUEเป็นภาพสามมิติที่นิยมเขียนมาก สาหรับงานที่มีรูปร่างเป็นส่วนโค้ง หรือรูกลมเพราะสามารถเขียนได้ง่ายและรวดเร็วเนื่องจากภาพ OBQIUE จะวางภาพด้านหนึ่งอยู่ในแนวระดับ เอียงทามุมเพียงด้านเดียว โดยเขียนเป็นมุม 45 องศา สามารถเขียนเอียงได้ทั้งด้านซ้ายและขวาความหนาของงาน ด้านเอียงขนาดลดลงครึ่ง หนึ่ง ภาพ OBQIUE มี 2 แบบ คือ แบบคาวาเลียร์ (CAVALIER) และแบบคาบิเนต (CABINET) รูปที่ 4.14 ภาพสามมิติแบบ Cavalier รูปที่ 4.15 ภาพสามมิติแบบ Cabinet - ภาพสามมิติแบบ PERSPECTIVE หรือ ภาพทัศนียภาพ เป็นภาพสามมิติที่มีมุมในลักษณะ การมองไกล โดยจะเขียนภาพเข้าสู่จุดรวมของสายตา การเขียนภาพสามมิติชนิดนี้มีอยู่ด้วยกันหลายชนิด นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 10
  • 11. การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้ รูปที่ 4.16 แบบ 1 จุด รูปที่ 4.17 แบบ 2 จุด รูปที่ 4.18 แบบ 3 จุด 2.3 การเขียนภาพสามมิติ แกน ไอโซเมตริก (ISOMETRIC AXIS) เส้น XO, YO, ZO ทามุมระหว่างกัน 120 องศาเท่ากัน ทั้งสามมุม เส้นทั้งสามนี้เรียกว่า แกนไอโซเมตริก ซึ่งแกนไอโซเมตริกนี้สามารถวางได้หลายทิศทางขึ้นอยู่กับรูปร่าง ของชิ้นงานที่ต้องการแสดงรายละเอียด รูปที่ 4.19 แสดงการวางแกนไอโซเมตริก นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 11
  • 12. การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้ การเขียนภาพ ISOMETRIC ทุกภาพจะเริ่มจากการเขียนเส้นร่าง จากกล่องสี่เหลี่ยม โดยมีขนาด ความกว้าง ความยาว และความสูง ซึ่งจะได้จากการกาหนดขนาดจากภาพฉาย จากนั้น เขียนรายละเอียดส่วน ต่างๆ ของชิ้นงาน รูปที่ 4.20 กาหนดส่วนต่างๆ ของชิ้นงาน ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3 รูปที่ 4.21 ขั้นตอนการเขียนภาพ ISOMETRIC การเขียนภาพ OBLIQUE ทุกภาพจะเริ่มจากการเขียนเส้นร่างจากกล่อง สี่เหลี่ยม โดยมีขนาด ความยาว ความยาว และความสูงเท่ากับขนาดของชิ้นงานจริง ซึ่งจะได้จากการบอกขนาดในภาพฉาย ลากเส้นเอียง 45 องศา จากขอบงานด้านหน้าไปยังด้านหลัง โดยให้มีความยาวเท่ากับครึ่งหนึ่งกับความกว้างที่กาหนดให้จาก ภาพฉายด้านข้าง ลากเส้นร่างเป็นรูปกล่องสี่เหลียม จากนั้น เริ่มเขียนส่วนต่างๆ ของชิ้นงาน ลบเส้นที่ไม่ใช้ออก และลงเส้นหนักที่รูปงาน รูปที่ 4.22 ขั้นตอนการเขียนภาพ OBLIQUE นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 12
  • 13. การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้ การเขียนวงรีภาพสามมิติ - การเขียนวงรีแบบ ISOMETRIC ชิ้นงานที่มีลักษณะเป็นทรงกระบอก หรืองานที่มีหน้าตัดกลม เช่น รูปกลม ส่วนโค้ง เมื่อเขียน เป็นภาพไอโซเมตริกแล้ว หน้าตัดของรูปทรงกระบอกหรือรูกลมนั้นจะเอียงเป็นมุม 30 องศา หรือทาให้มองเห็น เป็นลักษณะวงรี รูปที่ 4.23 ลักษณะชิ้นงานรูกลม - ขั้นตอนการเขียนวงรี ISOMETRIC ด้านหน้า 1. เขียนสี่เหลียมขนมเปียกปูน เอียงทามุม 30 องศา กับเส้นในแนวระดับ ดังรูปในช่องที่ 1 2. ลากเส้นแบ่งครึ่งทั้งสี่ด้าน ที่จุด 1-3 และ 2-4 ดังรูปในช่องที่ 2 3. ลากเส้นทะแยงมุมจากจุด D ไปยังจุดที่ 1 และ 2 ดังรูปในช่องที่ 3 4. ลากเส้นทะแยงมุมจากจุด B ไปยังจุดที่ 3 และ 4 จะได้เส้นตัดกันที่จุด E และจุด F ดังรูปใน ช่องที่ 4 5. จุด E และ จุด F เป็นจุดศูนย์กลางของส่วนโค้งเล็ก กางวงเวียนออก รัศมี E-1 เขียนส่วนโค้งวง เล็กจากจุดที่ 1 ไปจุดที่ 4 และใช้รัศมีเท่าเดิม เขียนส่วนโค้งโดยใช้จุด F เป็นจุดศูนย์กลาง เขียนส่วนโค้งเล็ก ดังรูป ในช่องที่ 5 6. ที่จุด B กางวงเวียนรัศมี B-4 เขียนส่วนโค้งวงใหญ่จากจุดที่ 4 ไปจุดที่ 3 และที่จุด D เป็นจุด ศูนย์กลาง รัศมีเท่าเดิม เขียนส่วนโค้งวงใหญ่ จะได้วงรีของภาพไอโซเมตริก ดังรูปในช่องที่ 6 นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 13
  • 14. การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้ - ขั้นตอนการเขียนวงรี ISOMETRIC ด้านข้าง 1. เขียนสี่เหลียมขนมเปียกปูน เอียงทามุม 30 องศา กับเส้นในแนวระดับ ดังรูปในช่องที่ 1 2. ลากเส้นแบ่งครึ่งทั้งสี่ด้าน ที่จุด 1-3 และ 2-4 ดังรูปในช่องที่ 2 3. ลากเส้นทะแยงมุมจากจุด D ไปยังจุดที่ 1 และ 2 ดังรูปในช่องที่ 3 4. ลากเส้นทะแยงมุมจากจุด B ไปยังจุดที่ 3 และ 4 จะได้เส้นตัดกันที่จุด E และจุด F ดังรูปใน ช่องที่ 4 5. จุด E และ จุด F เป็นจุดศูนย์กลางของส่วนโค้งเล็ก กางวงเวียนออก รัศมี E-1 เขียนส่วนโค้ง วงเล็กจากจุดที่ 1 ไปจุดที่ 4 และใช้รัศมีเท่าเดิม เขียนส่วนโค้งโดยใช้จุด F เป็นจุดศูนย์กลาง เขียนส่วนโค้งเล็ก ดัง รูปในช่องที่ 5 6. ที่จุด B กางวงเวียนรัศมี B-4 เขียนส่วนโค้งวงใหญ่จากจุดที่ 4 ไปจุดที่ 3 และที่จุด D เป็นจุด ศูนย์กลาง รัศมีเท่าเดิม เขียนส่วนโค้งวงใหญ่ จะได้วงรีของภาพไอโซเมตริก ดังรูปในช่องที่ 6 นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 14
  • 15. การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้ - ขั้นตอนการเขียนวงรี ISOMETRIC ด้านบน 1. เขียนสี่เหลียมขนมเปียกปูน เอียงทามุม 30 องศา กับเส้นในแนวระดับ ดังรูปในช่องที่ 1 2. ลากเส้นแบ่งครึ่งทั้งสี่ด้าน ที่จุด 1-3 และ 2-4 ดังรูปในช่องที่ 2 3. ที่จุด A ลากเส้นทะแยงมุมไปยังจุดที่ 2 และ 3 ดังรูปในช่องที่ 3 4. ลากเส้นทะแยงมุมจากจุด C ไปยังจุดที่ 4 ไปตัดกับเส้นตรงอีกเส้นหนึ่งที่จุด F และลากเส้น จากจุด C ไปจุดที่ 1 ไปตัดกับเส้นตรงอีกเส้นหนึ่งที่จุด E ดังรูปในช่องที่ 4 5. ที่จุด E กางวงเวียน รัศมี E-1 เขียนส่วนโค้งวงเล็กจากจุดที่ 1 ไปจุดที่ 2 และที่จุด F จากจุด 3 ไปจุดที่ 4 ดังรูปในช่องที่ 5 6. ที่จุด A กางวงเวียนรัศมี A-3 เขียนส่วนโค้งวงใหญ่จากจุดที่ 3 ไปจุดที่ 2 และที่จุด Cจากจุด 4 ไปจุดที่ 1 จะได้วงรีแบบไอโซเมตริกด้านบน ดังรูปในช่องที่ 6 นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 15
  • 16. การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้ - การเขียนวงรีแบบ OBQIUE รูปที่ 4.24 ตัวอย่างชิ้นงานเขียนแบบ OBQIUE การวางภาพออบลิค ภาพด้านหน้าที่เห็นรายละเอียดชัดเจนที่สุดหรืองานที่เป็นรูปทรงกระบอก ส่วน โค้ง หรือรูกลม ซึ่งจะทาให้งานเขียนแบบทาได้ง่าย เช่น ข้อต่อ ซึ่งมีวิธีเขียนดังนี้ 1. ลากเส้น ABC และเส้น DE เอียง 45 องศา 2. จุด A เป็นวงกลมซ้อนกัน 2 วง จุด B และ C เขียนส่วนโค้ง 3. จุด D เขียนวงกลมและส่วนโค้ง 4. จุด E เขียนส่วนโค้ง 5. ลากเส้นตรงสัมผัสส่วนโค้ง นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 16
  • 17. การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้ 3. ภาพฉาย 1. ลักษณะการฉายภาพ ภาพ ฉาย เป็นภาพลายเส้นที่บอกขนาดสัดส่วนต่างๆ ที่อ่านค่าแล้วเอามาทางานได้ ภาพฉายส่วนใหญ่จะ เขียนหรืออ่านมาจากภาพไอโซเมตริกหรือภาพของจริง มองแต่ละด้านแล้วเขียนออกมาตามภาพที่มองเห็นนั้นๆ ในแต่ละด้านของชิ้นงานตามปกติชิ้นงานจะมีทั้งหมด 6 ด้าน เหมือนลูกเต๋า แต่ภาพในการทางานจริงจะใช้เพียง 3 ด้านเท่านั้น ในส่วนที่มองไม่เห็นจะเขียนแสดง ด้วยเส้นประด้าน ของภาพที่ใช้งานจะเป็นด้านหน้า (Front View : F) ด้านข้าง (Side View : S) และ ด้านบน (Top View : T) เท่านั้น รูปที่ 4.25 ทิศทางการมองของภาพทั้ง 6 ด้าน การฉายภาพในปัจจุบันจะฉายภาพได้ 2 แบบ ตามความนิยม คืออุตสาหกรรมทางยุโรปและอุตสาหกรรม ทางอเมริกา ดังนี้ 1. การฉายภาพมุมที่ 1 (FIRST ANGLE PROJECTION) เป็นการเขียนภาพฉายในครอดแลนด์ที่ 1 อาจ เรียกการฉายภาพแบบ E-TYPE ใช้เขียนกันทางยุโรปซึ่งนิยมในทางปัจจุบัน 2. การฉายภาพมุมที่ 3 (THIRD ANGLE PROJECTION) เป็นการเขียนภาพฉายในครอดแลนด์ที่ 3 อาจ เรียกการฉายภาพแบบ A-TYPE เป็นที่นิยมในอเมริกา รูปที่ 4.26 ตาแหน่งระนาบที่วางภาพ นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 17
  • 18. การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้ การมองภาพที่อยู่ในตาแหน่งมุมที่ 1 หรือมุมที่ 3 จะใช้สัญลักษณ์บอกลักษณะไว้ที่มุมขอบขวาของแบบ ด้านใดด้านหนึ่ง ควรจาสัญลักษณ์ให้แม่นยาเพื่อจะได้ไม่สับสน สัญลักษณ์ของมุมที่ 1 สัญลักษณ์ของมุมที่ 2 รูปที่ 4.27 สัญลักษณ์ตาแหน่งการมองภาพ 2. ตาแหน่งการมองภาพฉาย แสดงการมองภาพในตาแหน่งต่างๆ เพื่อจะเขียนภาพฉาย รูปที่ 4.28 การมองภาพด้านที่ใช้งาน การมองภาพฉาย เกิดจากดวงตามองไปยังวัตถุ ถ้าเอาจอไปรับภาพของวัตถุวางไว้ด้านหลัง แล้วใช้ไฟฉาย ส่องไปยังวัตถุ แสงของไฟฉายผ่านวัตถุ ทาให้เกิดภาพบนจอ ในลักษณะของการขยายภาพให้โตขึ้น ซึ่งไม่ใช่ขนาด ของภาพจริง แต่ในทางการเขียนแบบต้องการขนาดภาพเท่ากับของจริง (วัตถุที่นามามอง) ดังนั้นจึงต้องปรับเส้น ในการฉายภาพให้เป็นภาพขนาน เพื่อจะให้ได้ขนาดตามความเป็นจริง โดยกาหนดให้เส้นการมองอยู่ในแนวระนาบ พุ่งตรงจากวัตถุไปยังจอภาพ ภาพที่ปรากฏบนจอจะมีขนาดเท่ากับวัตถุนั้นๆ การฉายภาพในลักษณะเช่นนี้จัดเป็น การฉายภาพในมุมที่หนึ่งข องหลักการมองภาพฉาย วัตถุจะอยู่หน้าจอรับภาพ ด้านที่นิยมได้แก่ ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง และภาพด้านบนที่ใช้ในการเขียนภาพฉาย ซึ่งช่วยให้อ่านภาพได้ง่ายขึ้น นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 18
  • 19. การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้ การมองขยายโตกว่าของจริง การมองภาพเท่ากับของจริง รูปที่ 4.29 แสดงการมองภาพบนจอรับภาพ ที่มา : ฉวีวรรณ รมยานนท์, 2541 3. ภาพฉายมุมที่ 1 การมองภาพฉายในตาแหน่งมุมที่ 1 ฉากรับภาพจะอยู่ด้านหลังของชิ้นงาน ทาการฉายภาพให้ไปปรากฏ บนฉาก มองเห็นภาพอย่างไรภาพก็จะไปปรากฏบนฉากอย่างนั้นจากด้านที่มอง ซึ่งภาพในทางเขียนแบบจะใช้ เฉพาะภาพด้านหน้า ด้านข้าง และภาพด้านบนเท่านั้น รูปที่ 4.30 วางชิ้นงานบนฉากรับภาพช่องที่ 1 นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 19
  • 20. การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้ ขั้นที่ 1 นามุมที่ 1ของฉากรับภาพออกมาพิจารณาจะสังเกตการมองได้ว่าจะมองเห็นชิ้นงานก่อน ภาพจะปรากฏบนจอรับภาพด้านหลังของชิ้นงานด้านที่มอง มองภาพด้านหน้า มองด้านข้าง มองด้านบน คลี่ฉากรับภาพตามลูกศร ภาพฉายสามด้าน รูปที่ 4.30 ภาพฉายมุมที่ 1 นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 20
  • 21. การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้ 4. ภาพฉายมุมที่ 3 การมองภาพฉายในตาแหน่งมุมที่ 3 ฉากรับภาพจะอยู่ด้านหน้าของชิ้นงาน การฉายภาพ แสงส่องจะ กระทบชิ้นงานแล้วสะท้อนมาปรากฎยังฉากรับภาพ จะได้ภาพตามที่มองชิ้น งานจะวางอยู่ในมุมที่ 3 จะสังเกตได้ ว่าเมื่อมองชิ้นงานตามทิศทางการมองภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง และภาพด้านบน ภาพจะสะท้อนกลับมาปรากฏ บนฉากรับภาพ รูปที่ 4.31 ภาพฉายมุมที่ 3 นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 21
  • 22. การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้ การเปรียบเทียบภาพฉายมุมที่ 1 และภาพฉายมุมที่ 3 รูปที่ 4.32 ภาพฉายมุมที่ 1 หลักการเขียนภาพฉายมุมที่ 1 1. ภาพด้านหน้าเป็นภาพหลัก 2. ภาพด้านข้างมีความสูงเท่ากับด้านหน้า และวางอยู่ทางขวามือของ ภาพด้านหน้า อยู่ในระนาบเดียวกันกับภาพด้านหน้า 3. มองด้านบน จะได้ภาพด้านบนอยู่ในแนวของด้านล่างของด้านหน้า 4. ด้านบนมีความกว้างเท่ากับด้านหน้า รูปที่ 4.33 ภาพฉายมุมที่ 3 หลักการเขียนภาพฉายมุมที่ 3 1. ภาพด้านหน้าเป็นภาพหลัก 2. ภาพด้านข้างมีความสูงเท่ากับด้านหน้า และวางอยู่ทางขวามือของ ภาพด้านหน้า อยู่ในระนาบเดียวกันกับภาพด้านหน้า 3. มองด้านบน จะได้ภาพด้านบนอยู่ข้างบนของด้านล่างของด้านหน้า 4. ด้านบนมีความกว้างเท่ากับด้านหน้า นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 22
  • 23. การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้ การเข้าไม้ การเข้าไม้ หมายถึง การนาไม้มาประกอบเข้าด้วยกัน ทาใ ห้เกิดเป็นมุมหรือรูปร่างต่าง ๆ เพื่อสนอง ความต้องการในการใช้งานตามวัตถุประสงค์ ส่วนใหญ่จะได้แก่งานทาเครื่องเรือนต่าง ๆ ส่วนการต่อไม้ หมายถึง การทาไม้ให้ยาวขึ้น เพื่อสนองความต้องการในการใช้งานเช่นกัน สาหรับการต่อไม้จะใช้มากกับงานก่อสร้าง เช่นการต่อเสา คาน ตง อะเส และจันทัน การเข้าไม้ที่ใช้กันทั่วไปมีมากมายหลายแบบ ส่วนใหญ่ จะใช้วิธีการที่คล้ายคลึงกัน แต่แบบที่แตกต่างกัน อย่างเห็นได้ชัดเจน และเป็นที่นิยมในปัจจุบัน ได้แก่การเพลาะไม้ (Edge Joint) การเข้าชน (Butt Joint) การเข้าบ่า (Rabbet Joint) การเข้าลิ้น (Dado Joint) การเข้าปากกบ (Miter Joint) การเข้าทาบ (Lap Joint) การเข้าเดือย (Mortise and Tenon Joint) การเข้าหางเหยี่ยว (Dovetail Joint) 1. การเพลาะไม้ การเพลาะไม้ คือการเอาแผ่นไม้มาวางเรียงแล้วอัดเข้าด้ว ยกันให้แผ่นใหญ่ขึ้น วิธีการอัดไม้มีอยู่หลายวิธี เช่น การใช้กาวเป็นตัวยึดตรึงหรืออาจจะใช้กา วร่วมกับเดือยไม้ ตะปู หรือต ะปูเกลียว ก็จะทาให้การยึ ดตรึง ระหว่างแผ่นไม้ดียิ่งขึ้น นอกจากนั้นการบังใบที่ขอบไม้ การเซา ะร่องหรือรางเพื่อใส่ลิ้น ก็จะทาให้เกิดความ เรียบร้อย และแข็งแรงยิ่งขึ้น การเพลาะไม้นิยมใช้กับการทาพื้นโต๊ะ พื้นเก้าอี้ พื้นบ้าน หรือผนังเครื่องเรือน ที่ต้องการพื้นที่กว้าง ๆ รูปที่ 4.34 การเพลาะไม้ รูปที่ 4.35 การเข้าชน 2. การเข้าชน การเข้าชนเป็นการเข้าไม้ที่ง่ายที่สุด ด้วยการนาเอาปลายไม้ของ ไม้แผ่นหนึ่งชนเข้ากับหน้าไม้ หรือขอบ ของไม้อีกแผ่นหนึ่ง แล้วจึงทาการยึดด้วยตะปูหรือตะปูเกลียว จะทาให้รอยต่อแข็งแรงดียิ่งขึ้น การเข้าไม้แบบนี้ นิยมใช้ในการทาเครื่องเรือนราคาถูก เช่น ทากล่อง หีบ ลิ้นชักโต๊ะ หรือตู้ เก้าอี้ หรือโครงเครื่องเรือน เป็นต้น ขั้นตอนการเข้าไม้แบบเข้าชนที่ถูกวิธี - การร่างแบบ โดยการปรับไม้ให้ได้ขนาดที่ถูกต้อง ทั้งความกว้าง ความหนา และความยาว ปลายไม้ที่ตัดต้องได้ฉากจริง ๆ วางด้านหัวของไม้ชิ้นที่หนึ่งลงบนหน้าไม้ด้านหัวของไม้อีกชิ้นหนึ่ง ให้ขอบนอก เสมอกัน จากนั้นใช้ดินสอขีดไปตามขอบด้านในของไม้ชิ้ นบน - การประกอบชิ้นงาน ให้ทากาวบริเวณหัวและหน้าไม้ ส่ วนที่จะประกอบเข้าด้วยกันบาง ๆ วางหัวไม้ด้านที่ทากาวทบลงบนหน้าไม้ด้านที่ทากาวเช่นกัน จากนั้นจัดไม้ให้อยู่ในตาแหน่งเดิม โดยอาศัยรอย ดินสอที่ขีดไว้จากการร่างแบบ เมื่อเข้าที่แล้วยึดให้แน่นด้วยตาปูหรือตาปูเกลียว นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 23
  • 24. การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้ 3. การเข้าบ่า การเข้าบ่าเป็นการเข้าไม้โดยการเอาปลายหรือหัวไม้ของไม้แผ่นหนึ่งลงไปในร่องที่ปลายหรือหัวไม้ซึ่งบาก เอาไว้ของไม้อีกแผ่นหนึ่ง แล้วยึดตรึงด้วยตาปูหรือตาปูเกลียว รองที่บากควรจะลึกประมาณ 1 ใน 2 ถึง 2 ใน 3 ของความหนาของไม้ การเข้าไม้แบบนี้จะแข็งแรงกว่าการเข้าชน ในปัจจุบันนิยมใช้มากกับการเข้ามุมเครื่องเรือน ต่าง ๆ ทาลิ้นชัดโต๊ะ และกล่องอย่างง่าย ๆ ขั้นตอนการเข้าบ่าไม้ที่ถูกวิธี - การร่างแบบ โดยปรับไม้ให้ได้ขนาดที่ถูกต้องทั้งความกว้าง ความหนา ความยาว และปลายไม้ ที่ตัดต้องได้ฉาก วางด้านหัวของไม้ชิ้นที่หนึ่งลงบนหน้าไม้ด้านหัวของไม้อีกชิ้นให้ขอบเสมอกัน ใช้ดินสอขีดไปตาม ขอบด้านในของไม้ชิ้นบน และใช้ฉากทาบเข้ากับหน้าไม้ แล้วขีดเส้นขวางกับขอบไม้ต่ อจากเส้นที่ขีดไว้ ให้ทา ทั้ง 2 ข้างปรับขอขีดไม้ให้เท่ากับ 1 ใน 2 ถึง 2 ใน 3 ของความหนาของแผ่นไม้ ใช้ขอขีดไม้ทาบเข้าหาเนื้อไม้ แล้ว ลากไปตามขอบหน้าไม้ จะได้เส้นแสดงระดับความลึกของบ่าตามต้องการ ให้ทาทั้ง 2 ข้าง - การตัดบ่า ให้ใช้ปากกาหัวโต๊ะบีบ – จับไม้ที่ร่างแบบไว้ แล้วใช้เลื่อยตัดไปตามเส้นที่ร่างไว้ ตามความลึกที่กาหนด จากนั้นบีบจับชิ้นงานใหม่ในแนวตั้ง จากนั้นใช้เลื่อยรอตัดไปตามเส้นที่แสดง ความลึกที่ ร่างไว้ ไปบรรจบกับรอยแรก จะทาให้ไม้ส่วนที่ตัดหลุดออกไปได้บ่าตามต้องการ - การทดสอบความพอดีของบ่า โดยทดลองวางหัวไม้ชิ้นที่ประกอบกันลงในบ่าที่ตัด แล้วตรวจ ความเรียบร้อย หัวไม้ต้องเข้ากับบ่าที่ตัดได้อย่างสนิทเรียบเสมอกัน แต่ถ้ายังไม่เรียบร้อยก็ให้ใช้สิ่วแต่งที่บ่าจนพอดี - การประกอบชิ้นงาน ให้ทากาวที่บ่าและที่หัวไม้ วางชิ้นไม้ที่จะใช้ประกอบเข้าที่บ่า เมื่อเข้า ที่แล้วจับยึดให้แน่น จากนั้นใช้ตาปูหรือฝังตาปูเกลียว รูปที่ 4.36 การเข้าบ่า รูปที่ 4.37 การเข้าลิ้น 4. การเข้าลิ้น การเข้าไม้แบบนี้เหมาะที่สุดกับการทาชั้นวางของ บันได ตู้ใส่หนังสือ เนื่องจากมีความแน่นหนาและ แข็งแรงดี โดยการนาเอาไม้แผ่นหนึ่งฝัง เข้าไปในร่องของไม้อีกแผ่นหนึ่ง ปลายของไม้ที่ฝั งเข้าไปอาจจะบา กหรือ ไม่บากก็ได้ จากนั้นใช้ตาปูหรือตาปูเกลียวเป็นตัวยึดตรึง รองที่เซาะควรจะลึกประมาณ 1 ใน 2 ของความหนา ของแผ่นไม้ ขั้นตอนในการเข้าไม้แบบเข้าลิ้นที่ถูกวิธี - การร่างแบบ โดยปรับไม้ให้ได้ขนาด เพื่อกาหนดแนวในการตัดร่องลิ้น ใช้ฉากวางทาบกับ ขอบไม้ในตาแหน่งที่กาหนด แล้วใช้ดินสอขีดขวางกับเนื้อไม้ วางหัวไม้ชิ้ นที่จะประกอบเข้าด้วยกัน ให้ด้านหนึ่ง ทาบกับเส้นที่ขีดไว้ แล้วใช้ดินสอขีดอีกด้านหนึ่ง จะได้ความ กว้างของร่องลิ้นตามต้องการ ใช้ฉากทาบกับหน้ าไม้ ขีดเส้น และปรับระดับขอขีดตามความลึกที่ต้องการ และขีดไปตามขอบไม้ นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 24
  • 25. การปฏิบัติงานไม้ครุภัณฑ์ตามแบบและจาหน่ายได้ - การตัดร่องลิ้น ใช้ปากกาหัวโต๊ะบีบ – จับไม้ที่ร่างแบบไว้ ใช้เลื่อยรอตัดไปตามเส้นที่ร่างไว้ จนถึงความลึกที่กาหนด และใช้สิ่วในการบากร่องและตกแต่งร่อง - การทดสอบความพอดี โดยกดหัวไม้ที่ใช้ประกอบเข้าด้วยกัน ลงไปในร่องลิ้นที่ทาไว้ร่องลิ้น ที่พอดีจะต้องสามารถกดลงไปด้วยแรงกดจากมือ ถ้าฝืดเกิดไปให้ใช้สิ่วแต่งด้านข้างของร่องจนลิ้นพอดี - การประกอบชิ้นงาน ให้ใช้กาวทาหรือใช้กาวร่วมกับตะปูหรือตะปูเกลียวในการเข้าลิ้น 5.5 การเข้าปากกบ การเข้าไม้แบบปากกบเป็นการเข้าไม้เป็นมุมด้วยการตัดปลายไม้ที่ จะนามาต่อเข้าด้วยกันให้ได้มุม ที่เท่ากัน เสียก่อน แล้วจึงนามาประกอบเข้าด้วยกัน และใช้ตาปู ตาปูเกลี ยว หรือสลักไม้ยึดตรึงให้เกิด ความแข็งแรง การเข้าไม้แบบที่นิยมใช้กันมากที่สุดจะตัดปลายไม้เป็นมุม 45 องศาเมื่อประกอบเข้าด้วยกันแล้วจะได้มุม 90 องศา พอดี การเข้าไม้แบบนี้นิยมใช้ทากรอบรูป ทากล่อง ทาวงกบประตู – หน้าต่างหรือทาโครงเครื่องเรือน เป็นต้น ขั้นตอนการเข้าไม้แบบเข้าปากกบที่ถูกวิธี คือ - การร่างแบบ โดยกาหนดความยาวของไม้ที่จะตัด ทาเครื่องหม ายไว้ที่ขอบไม้ด้านนอก ใช้ฉากรวมด้านที่ทามุม 90 องศา ทาบเข้าไปแล้วขีดเส้นขวางกับไม้ด้านนอกแ ละหน้าไม้ทั้ง 2 ด้าน ที่เส้นมุม ขอบไม้ด้านนอก ใช้การรวมด้านที่มุม 45 องศา ทาบไปแล้วขีดเส้ นก็จะได้เส้นที่ทามุมกับเส้นที่ขีดไว้เดิมเท่ากับ 45 องศา ให้ทาทัง 2 ข้าง ้ - การตัดปากกบ ใช้ปากกาหัวโต๊ะบีบจับชิ้นงาน ใช้เลื่อยรอเลื่อยไปตามเส้นที่ได้ร่างไว้ ให้ตัด ในเส้นด้านที่จะตัดทิ้ง พลิกดูรอยด้านตรงข้ามด้วย จะต้องให้อยู่ในตาแหน่งหรือแนวเดียวกัน - การทดสอบความพอดีของปากกบ โดยวางไม้ทุกชิ้นลงบนพื้นราบ และทดลองประกอบไม้ ที่ตัดเข้าด้วยกัน จากนั้นใช้ฉากทดสอบการได้ฉากที่มุมของปากไม้ที่ประกอบเข้าด้ วยกัน ถ้ามุมยังไม่ได้ฉาก ก็ใช้ เลื่อยหรือกบไสตกแต่ง จนปากไม้เข้ากันได้สนิท - การประกอบชิ้นงาน ให้ตอกต ะปูหรือฝังตะปูเกลียวที่ปลายไม้ด้านหนึ่ง ให้ปลายโผล่ออก มา เล็กน้อย ทากาวบริเวณปากไม้ที่ ตัด ในชิ้นงานที่ยังไม่ได้ตอกต ะปู จับไม้ในแนวตั้งด้วยปากกาหัวโต๊ะ จากนั้น ทาบปากไม้เข้าหากัน ให้ปากไม้ชิ้นที่ทาบลงไปยื่นเลยขอบของปากไม้ชิ้นที่จับด้วยปากกาขึ้ นไปเล็กน้อย เพื่อที่ เวลาตอกตะปูหรือฝังตะปูเกลียวเข้าไปแล้ว ปากไม้จะเลื่อนลงมาพอดี รูปที่ 4.38 การเข้าปากกบ รูปที่ 4.39 การเข้าทาบ 6. การเข้าทาบ การเข้าไม้แบบนี้ใช้เมื่อต้องการประกอบไม้สองตัวขวางกันเป็ นมุมฉากหรือเป็นรูปกากบาท โดยบากไม้ ลงไปครึ่งหนึ่งของความหนาของเนื้อไม้ทั้งสองตัว แล้วนาไม้สองตัวอัดเข้าด้วยกัน จากนั้น ยึดตรึงด้วยโลหะยึดตรึง หรือสลักไม้ เพื่อให้เกิดความแข็งแรง การเข้า ไม้แบบนี้ใช้สาหรับการประกอบ ขาโต๊ะ เก้าอี้ ทาวงกบ ประตู - หน้าต่าง หรือใช้ประกอบเคร่าทั้งแนวตั้งและแนวนอนของโครงอาคาร เพื่อให้เกิดความแข็งแรง นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 25