SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  5
Télécharger pour lire hors ligne
รหัสวิชา ว30245                                                                       วิชา ชีววิทยา 5
วันอังคารที่ 6 มีนาคม 2555                                                       เวลา 13.00-14.00 น.

ตอนที่ 1: แบบปรนัย 5 ตัวเลือก จานวน 18 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน รวม 18 คะแนน
        วิธีการตอบ ระบาย 1 คาตอบ ที่เป็นคาตอบที่ถูกที่สุดในแต่ละข้อ

1. ถ้าเซลล์สิ่งมีชีวิตพวกพารามีเซียมอยู่ในสภาพแวดล้อม ที่มีสภาพเป็นสารละลายแบบ hypotonic solution
   เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นกับเซลล์คือข้อใด
         1. น้้าจากสิ่งแวดล้อมไม่เข้าสู่เซลล์
         2. เซลล์จะสูญเสียน้้าให้กับสิ่งแวดล้อม
         3. เซลล์จะอยู่ใสภาพปกติ เพราะน้้าที่แพร่เข้าสู่เซลล์มีปริมาณเท่ากับน้้าที่แพร่ออกจากเซลล์
         4. ของเสียที่เกิดขึ้นจากการกระบวนการเมตาบอลิซึมไม่สามารถแพร่ออกจากเซลล์ได้
         5. น้้าจะออสโมซิสเข้าสู่เซลล์ และคอนแทรกไทล์แวคิลโอลของเซลล์ท้างานมากขึ้น

2. หลังจากคนปกติคนหนึ่งรับประทานสเต็กเนื้อชิ้นใหญ่เป็นอาหารกลางวัน คาดได้ว่าปัสสาวะของผู้นี้ควรมี
   ปริมาณสารต่าง ๆ ตามข้อใด
        1. ปริมาณยูเรียในน้้าปัสสาวะคงที่
        2. ปรืมาณยูเรียในปัสสาวะลดลง
        3. ปริมาณยูเรียในน้้าปัสสาวะเพิ่มมากขึ้น
        4. ปริมาณกรดอะมิโนในปัสสาวะลดลง
        5. ปริมาณกรดอะมิโนในปัสสาวะเพิ่มมากขึ้น

3. ข้อใดเป็นกลไกการท้าลายสิ่งแปลกปลอมแบบจ้าเพาะ
         1. การหลั่งไลโซไซม์จากต่อมน้้าตา
         2. การอักเสบของบาดแผลที่ติดเชื้อ
         3. การกินเชื้อโรคของแมคโครฟาจ
         4. การสร้างแอนติบอดีโดยลิมโฟไซต์
         5. การดักจับเชื้อโรคโดยการโบกพัดของซีเลียและเยื่อเมือก

4. จากการตรวจสุขภาพประจ้าปี พบว่ามีโปรตีนและเม็ดเลือดแดงปนมากับน้้าปัสสาวะ อวัยวะส่วนใด
   ของร่างกายท้างานผิดปกติ
         1. ท่อหน่วยไต
         2. โกลเมอรูลัส
         3. ไฮโพทาลามัส
         4. ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
         5. ต่อมใต้สมองส่วนหลัง
รหัสวิชา ว30245                                                                      วิชา ชีววิทยา 5
วันอังคารที่ 6 มีนาคม 2555                                                      เวลา 13.00-14.00 น.

5. เพดดิกรีของครอบครัวหนึ่งที่มีภาวะพร่องเอนไซม์ G-6-PD เป็นดังนี้
                  รุ่น I                     1                   2
                  รุ่น II               3                  4         5
                รุ่น III                                                         6
   บุคคลหมายเลข 1 และ 3 จะมีจีโนไทป์เป็นแบบใด ตามล้าดับ
       1. GG, Gg
       2. Gg. gg
       3. XGXG, XGY
       4. XGXg, XgY
       5. XgXg, XgY

6. กระบวนการในข้อใดไม่ก่อให้เกิดการแปรผันทางพันธุกรรม
       1. การโคลนยีน
       2. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
       3. การเกิดมิวเทชัน
       4. การเกิดเจเนติกดริฟท์
       5. การเกิดอัลโลพอลิพลอยด์

7. ศึกษาองค์ประกอบของเซลล์สิ่งมีชีวิตต่อไปนี้ แล้วตอบค้าถาม
สิ่งมีชีวิต          ผนังเซลล์          แวคิวโอล                      สีเขียว             นิวเคลียส
     A      มี/เป็นสารเปปติโดไกลแคน       ไม่มี       มี/เป็นสารพวกแบคทีริโอคลอโรฟิลล์       ไม่มี
     B          มี/เป็นสารเซลลูโลส           มี                 มี/ไม่ได้ตรวจสอบ             ไม่มี
     C                   มี                  มี                         ไม่มี                 มี
     D          มี/เป็นสารเซลลูโลส           มี              มี/เป็นสารคลอโรฟิลล์             มี

  สิ่งมีชีวิตใดเป็นพวกเดียวกันกับแบคทีเรียและข้าวโพด ตามล้าดับ
          1. A และ B
          2. A และ D
          3. B และ C
          4. B และ D
          5. ข้อมูลไม่เพียงพอ
รหัสวิชา ว30245                                                                             วิชา ชีววิทยา 5
วันอังคารที่ 6 มีนาคม 2555                                                             เวลา 13.00-14.00 น.

8. กระบวนการในข้อใดทีไม่ได้น้าความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการด้ารงชีวิต
                        ่
   ของมนุษย์
       1. การสร้างสิ่งมีชีวิตจีเอ็มโอ
       2. การท้าแผนที่จีโนมมนุษย์
       3. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อข้าวทนเค็ม
       4. การท้าลายพิมพ์ดีเอ็นเอ
       5. การคัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์ปลาทับทิม

9. ต้นกล้วยที่ปอกเปลือกกินได้ในปัจจุบันมีหลากหลายสปีชีส์มาก ซึ่งต้นตระกูลของต้นกล้วยเหล่านี้
   มีวิวัฒนาการมาจากต้นกล้วยป่าที่แข็งจนไม่อาจกินเป็นผลไม้ ข้อความใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
          1. ต้นกล้วยป่ามีความหลากหลายทางพันธุกรรมจนเกิดลักษณะต่าง ๆ หลายสายพันธุ์
          2. บรรพบุรุษของต้นกล้วยมีโครงสร้างทางเคมีของผลที่ต่างกับลูกหลานของมัน
          3. ต้นกล้วยที่ปลูกอยู่ในปัจจุบันมีโครงสร้างที่เหมาะสมกับการอยู่รอดในธรรมชาติมากกว่าต้นกล้วยป่า
          4. ต้นกล้วยในแต่ละสปีชีส์อาจมีวิวัฒนาการปรับตัวตามสภาพแวดล้อม
          5. ต้นกล้วยที่มาจากต้นตระกูลเดียวกันน่าที่จะผสมพันธุ์กันได้

10. แม่น้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีระบบนิเวศอยู่ในสภาวะสมดุล ต่อมาได้เกิดเหตุการณ์เรือบรรทุก
    น้้าตาลล่ม จะพบสิ่งมีชีวิตใดเพิ่มขึ้นเป็นอันดับแรก
         1. แพลงค์ตอนพืช
         2. แพลงค์ตอนสัตว์
         3. ปลากินพืช
         4. กุ้งฝอย
         5. จุลินทรีย์

11. ให้นักเรียนพิจารณาสิ่งมีชีวิตสมมติ ที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ต่อไปนี้
                     ก. Bettaya splendens                              ข. Manourianus emys
                     ค. Empidonaxum minimus                            ง. Manourianus impressa
                     จ. Empidonaxum traili
     สิ่งมีชีวิตคู่ใด ถ้ามีโอกาสผสมพันธุ์กันและคลอดลูกที่มีชีวิตรอดได้แล้วอาจจะได้ลูกผสมที่เป็นหมัน
     เพราะพวกมันมีจ้านวนโครโมโซมไม่เท่ากัน
          1. ก กับ ข                                           2. ข กับ ค
          3. ก กับ ค                                           4. ข กับ จ
          5. ข กับ ง
รหัสวิชา ว30245                                                                          วิชา ชีววิทยา 5
วันอังคารที่ 6 มีนาคม 2555                                                          เวลา 13.00-14.00 น.

12. ข้อใดมีการเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบทุติยภูมิ
        1. มอสขึ้นบนก้อนหิน                               2. ตะไคร่ขึ้นในน้้าดื่ม
        3. เฟิร์นขึ้นตามร่องน้้า                          4. ไลเคนขึ้นบนหินที่เกิดจากลาวา
        5. หญ้าขึ้นในป่าไผ่ที่โดนอัคคีภัย

13. เพรียงหินบนกระดองเต่า มีความสัมพันธ์กันในลักษณะเดียวกับสิ่งมีชีวิตคู่ใด
        1. ไรโซเบียมในปมรากถั่ว                       2. มดด้ากับเพลี้ย
        3. กาฝากบนต้นไม้                              4. นกท้ารังบนต้นไม้
        5. นกกินหนอน

14. สายใยอาหารในระบบนิเวศแห่งหนึ่ง ถ้า D ถูกล่าจนหมดจากระบบนิเวศ หลังจากนั้นช่วงระยะเวลาหนึ่ง
    จะพบการเปลี่ยนแปลงในข้อใดที่เป็นไปได้มากที่สุด




        1. A เพิ่มขึ้น                                    2. B และ C เพิ่มขึ้น
        3. C เพิ่มขึ้น                                    4. E มีน้อยที่สุด
        5. A, B และ G ลดลง

15. ข้อใดไม่ใช่ผลที่เกิดจากภาวะโลกร้อน
        1. พายุรุนแรง                                     2. ผลผลิตทางการเกษตรตกต่้า
        3. ระดับน้้าทะเลสูงขึ้น                           4. แผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิด
        5. กระทบต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์

16. ข้อใดที่ส่งเสริมการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมได้สอดคล้องกับวิธีการ recycle มากที่สุด
        1. การแยกขยะก่อนทิ้ง                              2. การใช้จักรยาน
        3. ผลิตปุ๋ยชีวภาพ                                 4. ผลิตแก๊สชีวภาพ
        5. ใช้น้ามันแก๊สโซฮอล์
รหัสวิชา ว30245                                                                                วิชา ชีววิทยา 5
วันอังคารที่ 6 มีนาคม 2555                                                                เวลา 13.00-14.00 น.

17. น้้าทิ้งจากชุมชน ท้าให้เกิดการปนเปื้อนของสารใดในแหล่งน้้ามากที่สุด
         1. ไนเตรทและฟอสเฟต                             2. ก้ามะถันและคาร์บอน
         3. ไนเตรทและก้ามะถัน                           4. คาร์บอนและฟอสเฟต
         5. ไนเตรทและคาร์บอน

18. น้้าเสียจากแหล่งน้้าข้อใดที่สามารถบ้าบัดให้เป็นน้้าดีที่จะใช้เลี้ยงปลาได้ โดยใช้วิธีพ่นอากาศลงในน้้า
           แหล่งนา ค่า BOD (mg/l) ค่า DO (mg/l)                        pH       ปริมาณปรอท (mg/l)
              A                  5                  3                  7.5                 20
              B                  8                  1                  10                  26
              C                  4                  2                   1                   9
              D                  6                  1                  6.5                  0
              E                  7                  2                   7                   0

        1. แหล่งน้้า A และ B                                 2. แหล่งน้้า B และ C
        3. แหล่งน้้า C และ D                                 4. แหล่งน้้า D และ E
        5. แหล่งน้้า A, B และ C

Contenu connexe

En vedette

Ig biology bio1
Ig biology bio1Ig biology bio1
Ig biology bio1
Bios Logos
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
ฟลุ๊ค ลำพูน
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่า
Jiraporn
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
yangclang22
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
krupornpana55
 
ข้อสอบสังคม
ข้อสอบสังคม ข้อสอบสังคม
ข้อสอบสังคม
suwitpps
 
ข้อสอบสังคม
ข้อสอบสังคมข้อสอบสังคม
ข้อสอบสังคม
fahsudarrat
 

En vedette (20)

Tour of Cell
Tour of CellTour of Cell
Tour of Cell
 
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
 
คะแนนโอเน็ต ม.6 ปีการศึกษา 2554
คะแนนโอเน็ต ม.6 ปีการศึกษา 2554คะแนนโอเน็ต ม.6 ปีการศึกษา 2554
คะแนนโอเน็ต ม.6 ปีการศึกษา 2554
 
ฮอร์โมนและระบบต่อมไร้ท่อ
ฮอร์โมนและระบบต่อมไร้ท่อฮอร์โมนและระบบต่อมไร้ท่อ
ฮอร์โมนและระบบต่อมไร้ท่อ
 
Monera
MoneraMonera
Monera
 
Dichotomous key
Dichotomous keyDichotomous key
Dichotomous key
 
Law
LawLaw
Law
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
ข้อสอบซ่อม ชีววิทยา 4 ม.6
ข้อสอบซ่อม ชีววิทยา 4 ม.6ข้อสอบซ่อม ชีววิทยา 4 ม.6
ข้อสอบซ่อม ชีววิทยา 4 ม.6
 
Kingdom Protista
Kingdom ProtistaKingdom Protista
Kingdom Protista
 
Ig biology bio1
Ig biology bio1Ig biology bio1
Ig biology bio1
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่า
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ประชากร1
ประชากร1ประชากร1
ประชากร1
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
ข้อสอบสังคม
ข้อสอบสังคม ข้อสอบสังคม
ข้อสอบสังคม
 
PBL มัธยมต้น 2556_1
PBL มัธยมต้น 2556_1PBL มัธยมต้น 2556_1
PBL มัธยมต้น 2556_1
 
ข้อสอบสังคม
ข้อสอบสังคมข้อสอบสังคม
ข้อสอบสังคม
 
แบบทดสอบสังคม
แบบทดสอบสังคมแบบทดสอบสังคม
แบบทดสอบสังคม
 

Plus de Nattapong Boonpong

Plus de Nattapong Boonpong (11)

Infographic
InfographicInfographic
Infographic
 
VDO Training
VDO TrainingVDO Training
VDO Training
 
Admiss
AdmissAdmiss
Admiss
 
หลักการเทียบภาษาไทยเป้นภาษาอังกฤษ
หลักการเทียบภาษาไทยเป้นภาษาอังกฤษหลักการเทียบภาษาไทยเป้นภาษาอังกฤษ
หลักการเทียบภาษาไทยเป้นภาษาอังกฤษ
 
10 bangkok192
10 bangkok19210 bangkok192
10 bangkok192
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
Heart
HeartHeart
Heart
 
Kingdom Protista
Kingdom ProtistaKingdom Protista
Kingdom Protista
 
Kingdom Monera
Kingdom MoneraKingdom Monera
Kingdom Monera
 
Kingdom Monera
Kingdom MoneraKingdom Monera
Kingdom Monera
 
Bio Final
Bio FinalBio Final
Bio Final
 

ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 ม.6

  • 1. รหัสวิชา ว30245 วิชา ชีววิทยา 5 วันอังคารที่ 6 มีนาคม 2555 เวลา 13.00-14.00 น. ตอนที่ 1: แบบปรนัย 5 ตัวเลือก จานวน 18 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน รวม 18 คะแนน วิธีการตอบ ระบาย 1 คาตอบ ที่เป็นคาตอบที่ถูกที่สุดในแต่ละข้อ 1. ถ้าเซลล์สิ่งมีชีวิตพวกพารามีเซียมอยู่ในสภาพแวดล้อม ที่มีสภาพเป็นสารละลายแบบ hypotonic solution เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นกับเซลล์คือข้อใด 1. น้้าจากสิ่งแวดล้อมไม่เข้าสู่เซลล์ 2. เซลล์จะสูญเสียน้้าให้กับสิ่งแวดล้อม 3. เซลล์จะอยู่ใสภาพปกติ เพราะน้้าที่แพร่เข้าสู่เซลล์มีปริมาณเท่ากับน้้าที่แพร่ออกจากเซลล์ 4. ของเสียที่เกิดขึ้นจากการกระบวนการเมตาบอลิซึมไม่สามารถแพร่ออกจากเซลล์ได้ 5. น้้าจะออสโมซิสเข้าสู่เซลล์ และคอนแทรกไทล์แวคิลโอลของเซลล์ท้างานมากขึ้น 2. หลังจากคนปกติคนหนึ่งรับประทานสเต็กเนื้อชิ้นใหญ่เป็นอาหารกลางวัน คาดได้ว่าปัสสาวะของผู้นี้ควรมี ปริมาณสารต่าง ๆ ตามข้อใด 1. ปริมาณยูเรียในน้้าปัสสาวะคงที่ 2. ปรืมาณยูเรียในปัสสาวะลดลง 3. ปริมาณยูเรียในน้้าปัสสาวะเพิ่มมากขึ้น 4. ปริมาณกรดอะมิโนในปัสสาวะลดลง 5. ปริมาณกรดอะมิโนในปัสสาวะเพิ่มมากขึ้น 3. ข้อใดเป็นกลไกการท้าลายสิ่งแปลกปลอมแบบจ้าเพาะ 1. การหลั่งไลโซไซม์จากต่อมน้้าตา 2. การอักเสบของบาดแผลที่ติดเชื้อ 3. การกินเชื้อโรคของแมคโครฟาจ 4. การสร้างแอนติบอดีโดยลิมโฟไซต์ 5. การดักจับเชื้อโรคโดยการโบกพัดของซีเลียและเยื่อเมือก 4. จากการตรวจสุขภาพประจ้าปี พบว่ามีโปรตีนและเม็ดเลือดแดงปนมากับน้้าปัสสาวะ อวัยวะส่วนใด ของร่างกายท้างานผิดปกติ 1. ท่อหน่วยไต 2. โกลเมอรูลัส 3. ไฮโพทาลามัส 4. ต่อมใต้สมองส่วนหน้า 5. ต่อมใต้สมองส่วนหลัง
  • 2. รหัสวิชา ว30245 วิชา ชีววิทยา 5 วันอังคารที่ 6 มีนาคม 2555 เวลา 13.00-14.00 น. 5. เพดดิกรีของครอบครัวหนึ่งที่มีภาวะพร่องเอนไซม์ G-6-PD เป็นดังนี้ รุ่น I 1 2 รุ่น II 3 4 5 รุ่น III 6 บุคคลหมายเลข 1 และ 3 จะมีจีโนไทป์เป็นแบบใด ตามล้าดับ 1. GG, Gg 2. Gg. gg 3. XGXG, XGY 4. XGXg, XgY 5. XgXg, XgY 6. กระบวนการในข้อใดไม่ก่อให้เกิดการแปรผันทางพันธุกรรม 1. การโคลนยีน 2. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ 3. การเกิดมิวเทชัน 4. การเกิดเจเนติกดริฟท์ 5. การเกิดอัลโลพอลิพลอยด์ 7. ศึกษาองค์ประกอบของเซลล์สิ่งมีชีวิตต่อไปนี้ แล้วตอบค้าถาม สิ่งมีชีวิต ผนังเซลล์ แวคิวโอล สีเขียว นิวเคลียส A มี/เป็นสารเปปติโดไกลแคน ไม่มี มี/เป็นสารพวกแบคทีริโอคลอโรฟิลล์ ไม่มี B มี/เป็นสารเซลลูโลส มี มี/ไม่ได้ตรวจสอบ ไม่มี C มี มี ไม่มี มี D มี/เป็นสารเซลลูโลส มี มี/เป็นสารคลอโรฟิลล์ มี สิ่งมีชีวิตใดเป็นพวกเดียวกันกับแบคทีเรียและข้าวโพด ตามล้าดับ 1. A และ B 2. A และ D 3. B และ C 4. B และ D 5. ข้อมูลไม่เพียงพอ
  • 3. รหัสวิชา ว30245 วิชา ชีววิทยา 5 วันอังคารที่ 6 มีนาคม 2555 เวลา 13.00-14.00 น. 8. กระบวนการในข้อใดทีไม่ได้น้าความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการด้ารงชีวิต ่ ของมนุษย์ 1. การสร้างสิ่งมีชีวิตจีเอ็มโอ 2. การท้าแผนที่จีโนมมนุษย์ 3. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อข้าวทนเค็ม 4. การท้าลายพิมพ์ดีเอ็นเอ 5. การคัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์ปลาทับทิม 9. ต้นกล้วยที่ปอกเปลือกกินได้ในปัจจุบันมีหลากหลายสปีชีส์มาก ซึ่งต้นตระกูลของต้นกล้วยเหล่านี้ มีวิวัฒนาการมาจากต้นกล้วยป่าที่แข็งจนไม่อาจกินเป็นผลไม้ ข้อความใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง 1. ต้นกล้วยป่ามีความหลากหลายทางพันธุกรรมจนเกิดลักษณะต่าง ๆ หลายสายพันธุ์ 2. บรรพบุรุษของต้นกล้วยมีโครงสร้างทางเคมีของผลที่ต่างกับลูกหลานของมัน 3. ต้นกล้วยที่ปลูกอยู่ในปัจจุบันมีโครงสร้างที่เหมาะสมกับการอยู่รอดในธรรมชาติมากกว่าต้นกล้วยป่า 4. ต้นกล้วยในแต่ละสปีชีส์อาจมีวิวัฒนาการปรับตัวตามสภาพแวดล้อม 5. ต้นกล้วยที่มาจากต้นตระกูลเดียวกันน่าที่จะผสมพันธุ์กันได้ 10. แม่น้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีระบบนิเวศอยู่ในสภาวะสมดุล ต่อมาได้เกิดเหตุการณ์เรือบรรทุก น้้าตาลล่ม จะพบสิ่งมีชีวิตใดเพิ่มขึ้นเป็นอันดับแรก 1. แพลงค์ตอนพืช 2. แพลงค์ตอนสัตว์ 3. ปลากินพืช 4. กุ้งฝอย 5. จุลินทรีย์ 11. ให้นักเรียนพิจารณาสิ่งมีชีวิตสมมติ ที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ต่อไปนี้ ก. Bettaya splendens ข. Manourianus emys ค. Empidonaxum minimus ง. Manourianus impressa จ. Empidonaxum traili สิ่งมีชีวิตคู่ใด ถ้ามีโอกาสผสมพันธุ์กันและคลอดลูกที่มีชีวิตรอดได้แล้วอาจจะได้ลูกผสมที่เป็นหมัน เพราะพวกมันมีจ้านวนโครโมโซมไม่เท่ากัน 1. ก กับ ข 2. ข กับ ค 3. ก กับ ค 4. ข กับ จ 5. ข กับ ง
  • 4. รหัสวิชา ว30245 วิชา ชีววิทยา 5 วันอังคารที่ 6 มีนาคม 2555 เวลา 13.00-14.00 น. 12. ข้อใดมีการเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบทุติยภูมิ 1. มอสขึ้นบนก้อนหิน 2. ตะไคร่ขึ้นในน้้าดื่ม 3. เฟิร์นขึ้นตามร่องน้้า 4. ไลเคนขึ้นบนหินที่เกิดจากลาวา 5. หญ้าขึ้นในป่าไผ่ที่โดนอัคคีภัย 13. เพรียงหินบนกระดองเต่า มีความสัมพันธ์กันในลักษณะเดียวกับสิ่งมีชีวิตคู่ใด 1. ไรโซเบียมในปมรากถั่ว 2. มดด้ากับเพลี้ย 3. กาฝากบนต้นไม้ 4. นกท้ารังบนต้นไม้ 5. นกกินหนอน 14. สายใยอาหารในระบบนิเวศแห่งหนึ่ง ถ้า D ถูกล่าจนหมดจากระบบนิเวศ หลังจากนั้นช่วงระยะเวลาหนึ่ง จะพบการเปลี่ยนแปลงในข้อใดที่เป็นไปได้มากที่สุด 1. A เพิ่มขึ้น 2. B และ C เพิ่มขึ้น 3. C เพิ่มขึ้น 4. E มีน้อยที่สุด 5. A, B และ G ลดลง 15. ข้อใดไม่ใช่ผลที่เกิดจากภาวะโลกร้อน 1. พายุรุนแรง 2. ผลผลิตทางการเกษตรตกต่้า 3. ระดับน้้าทะเลสูงขึ้น 4. แผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิด 5. กระทบต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์ 16. ข้อใดที่ส่งเสริมการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมได้สอดคล้องกับวิธีการ recycle มากที่สุด 1. การแยกขยะก่อนทิ้ง 2. การใช้จักรยาน 3. ผลิตปุ๋ยชีวภาพ 4. ผลิตแก๊สชีวภาพ 5. ใช้น้ามันแก๊สโซฮอล์
  • 5. รหัสวิชา ว30245 วิชา ชีววิทยา 5 วันอังคารที่ 6 มีนาคม 2555 เวลา 13.00-14.00 น. 17. น้้าทิ้งจากชุมชน ท้าให้เกิดการปนเปื้อนของสารใดในแหล่งน้้ามากที่สุด 1. ไนเตรทและฟอสเฟต 2. ก้ามะถันและคาร์บอน 3. ไนเตรทและก้ามะถัน 4. คาร์บอนและฟอสเฟต 5. ไนเตรทและคาร์บอน 18. น้้าเสียจากแหล่งน้้าข้อใดที่สามารถบ้าบัดให้เป็นน้้าดีที่จะใช้เลี้ยงปลาได้ โดยใช้วิธีพ่นอากาศลงในน้้า แหล่งนา ค่า BOD (mg/l) ค่า DO (mg/l) pH ปริมาณปรอท (mg/l) A 5 3 7.5 20 B 8 1 10 26 C 4 2 1 9 D 6 1 6.5 0 E 7 2 7 0 1. แหล่งน้้า A และ B 2. แหล่งน้้า B และ C 3. แหล่งน้้า C และ D 4. แหล่งน้้า D และ E 5. แหล่งน้้า A, B และ C