SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  1
Télécharger pour lire hors ligne
จงแสดงวิธีทำและตอบคำถำมต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (10 คะแนน)
1. เมื่อต้นถั่วลันเตาต้นสูงพันธุ์แท้ (TT) ผสมกับต้นเตี้ย จงหา
           1.1 อัตราส่วนจีโนไทป์และฟีโนไทป์ในรุ่น F2
           1.2 โอกาสหรือความน่าจะเป็นที่จะเกิดต้นสูง heterozygous เมื่อนารุ่น F1 มาผสมกับต้นเตีย   ้
2. เมื่อนาถั่วลันเตาเมล็ดกลมสีเหลืองพันธุ์แท้ (RRYY) ผสมกับเมล็ดขรุขระสีเขียว จงหา
           2.1 อัตราส่วนฟีโนไทป์รุ่น F2
           2.2 ความน่าจะเป็นที่รุ่น F2 จะมีลักษณะเมล็ดกลมสีเขียวซึ่งมีจีโนไทป์เป็น Rryy
3. คุณพ่อไม่เป็น Hemophilia แต่เป็น Thalassemia กับคุณแม่เป็น Hemophilia และเป็นพาหะ
    Thalassemia จงหาโอกาสที่
           3.1 ลูกชายของทั้งคู่จะป่วยเป็นทั้งสองโรค 3.2 ลูกที่เกิดมาจะเป็นหญิงและเป็นพาหะของทั้งสองโรค
4. ถ้า A แทนยีนที่ควบคุมลักษณะปีกปกติ และ a แทนยีนที่ควบคุมลักษณะปีกสั้น ในการผสมพันธุ์แมลงหวี่
   ที่มีปีกปกติคู่หนึ่ง ปรากฏว่ารุ่นลูกจานวน 230 ตัว มีปีกปกติ 172 ตัว และปีกสั้น 58 ตัว
           4.1 จงเขียนจีโนไทป์ของแมลงหวี่ในรุ่นพ่อแม่
           4.2 เมื่อนาแมลงหวี่ปีกสั้นในรุ่นลูกผสมกับแมลงหวี่ปีกปกติในรุ่นพ่อแม่ จะได้ลูกมีลักษณะปีกเป็นอย่างไร
บ้าง และคิดเป็นอัตราส่วนเท่าใด
5. มะเขือเทศผลสีแดงเป็นลักษณะเด่น (R) ผลสีเหลืองเป็นลักษณะด้อย (r) และต้นสูงเป็นลักษณะเด่น (T)
   ต้นเตี้ยเป็นลักษณะด้อย (t) เมื่อผสมมะเขือเทศที่มีจีโนไทป์ RRTt กับต้นที่มีจีโนไทป์ rrTT จงหาจีโนไทป์
   และฟีโนไทป์ของรุ่นลูก (F1)
6. ผสมพันธุ์ระหว่างวัวพันธุ์แท้ขนสีดาเพศผู้กับวัวพันธุ์แท้ขนสีขาวเพศเมีย จะได้ลูกรุ่น F1 มีขนสีเทาทั้งหมด
   เมื่อให้รุ่น F1 ผสมกันเอง จงหาโอกาสของรุ่น F2 ที่มีขนเหมือนพ่อ
7. โรคความบกพร่องเอนไซม์ G6PD เป็นลักษณะด้อยบนโครโมโซม X ถ้าชายเป็นโรค G6PD แต่งงานกับหญิง
   ที่เป็นพาหะ จะมีจีโนไทป์และฟีโนไทป์เป็นอย่างไร อัตราส่วนของจีโนไทป์และฟีโนไทป์เป็นเท่าใด
   (กาหนดให้ G แทนยีนควบคุมลักษณะปกติ และ g แทนยีนควบคุมลักษณะบกพร่องเอนไซม์ G6PD)
8. หนูตัวหนึ่งสร้างสเปิร์มชนิด abCd ผสมกับเซลล์ไข่ชนิด aBCD จงหาจีโนไทป์ของลูกที่เกิดจากการปฏิสนธิ
    และลูกมีโอกาสสร้างเซลล์สืบพันธุ์ได้กี่ชนิด อะไรบ้าง
9. หญิงคนหนึ่งเป็นโรคตาบอดสี เมื่อแต่งงานกับชายตาปกติ
           9.1 ลูกชายจะมีโอกาสเป็นโรคตาบอดสีหรือไม่           9.2 ลูกสาวจะเป็นโรคตาบอดสีหรือเป็นพาหะ
10. จงนาข้อมูลที่ให้ เขียนเป็นแผนภาพพงศาวลี (โดยแทนสัญลักษณ์ที่ได้ศึกษามา กาหนดลักษณะ)
           ปู่ตาปกติ ย่าเป็นพาหะของโรคตาบอดสี แต่งงานกันมีลูก 3 คน ลูกคนแรกเป็นชายมีตาบอดสีแต่งงานกับ
หญิงตาบอดสี และมีลูกด้วยกัน 2 คน เป็นชายและหญิง ซึ่งมีตาบอดสีทั้งคู่ ลูกชายคนที่สองเป็นตาปกติ ลูกสาว
คนสุดท้องมีตาปกติแต่งงานกับชายตาบอดสีและมีลูกด้วยกัน 4 คน เป็นหญิงตาปกติและตาบอดสี ชายตาปกติและ
ชายตาบอดสี

Contenu connexe

Tendances

2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0Preeyaporn Chamnan
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
พันธุศาสตร์
พันธุศาสตร์พันธุศาสตร์
พันธุศาสตร์zidane36
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0Nattarika Wonkumdang
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมสำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์bowing3925
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0neenpd11
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมฟลุ๊ค ลำพูน
 
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1kasidid20309
 
02ca74a77252a41d5905194b2213fd74
02ca74a77252a41d5905194b2213fd7402ca74a77252a41d5905194b2213fd74
02ca74a77252a41d5905194b2213fd74anewz
 
แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์
แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์
แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์Jinwara Sriwichai
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
ว ทยาศาสตร
ว ทยาศาสตร ว ทยาศาสตร
ว ทยาศาสตร Aoy Amm Mee
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมsupreechafkk
 

Tendances (19)

2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
พันธุศาสตร์
พันธุศาสตร์พันธุศาสตร์
พันธุศาสตร์
 
พันธูกรรม1
พันธูกรรม1พันธูกรรม1
พันธูกรรม1
 
Mitosis1 [compatibility mode]
Mitosis1 [compatibility mode]Mitosis1 [compatibility mode]
Mitosis1 [compatibility mode]
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
E portfollio
E portfollioE portfollio
E portfollio
 
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
 
02ca74a77252a41d5905194b2213fd74
02ca74a77252a41d5905194b2213fd7402ca74a77252a41d5905194b2213fd74
02ca74a77252a41d5905194b2213fd74
 
แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์
แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์
แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ว ทยาศาสตร
ว ทยาศาสตร ว ทยาศาสตร
ว ทยาศาสตร
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 

En vedette

บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อNattapong Boonpong
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6Nattapong Boonpong
 
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)Nattapong Boonpong
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5Nattapong Boonpong
 
คะแนนโอเน็ต ม.6 ปีการศึกษา 2554
คะแนนโอเน็ต ม.6 ปีการศึกษา 2554คะแนนโอเน็ต ม.6 ปีการศึกษา 2554
คะแนนโอเน็ต ม.6 ปีการศึกษา 2554Nattapong Boonpong
 
ฮอร์โมนและระบบต่อมไร้ท่อ
ฮอร์โมนและระบบต่อมไร้ท่อฮอร์โมนและระบบต่อมไร้ท่อ
ฮอร์โมนและระบบต่อมไร้ท่อNattapong Boonpong
 
ข้อสอบซ่อม ชีววิทยา 4 ม.6
ข้อสอบซ่อม ชีววิทยา 4 ม.6ข้อสอบซ่อม ชีววิทยา 4 ม.6
ข้อสอบซ่อม ชีววิทยา 4 ม.6Nattapong Boonpong
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวeakbordin
 
ชีวะพื้นฐาน ม.4 เทอม 1
ชีวะพื้นฐาน ม.4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐาน ม.4 เทอม 1
ชีวะพื้นฐาน ม.4 เทอม 1 Fay Wanida
 
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐานPasit Suwanichkul
 

En vedette (19)

บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
Tour of Cell
Tour of CellTour of Cell
Tour of Cell
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
 
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
 
คะแนนโอเน็ต ม.6 ปีการศึกษา 2554
คะแนนโอเน็ต ม.6 ปีการศึกษา 2554คะแนนโอเน็ต ม.6 ปีการศึกษา 2554
คะแนนโอเน็ต ม.6 ปีการศึกษา 2554
 
Taxonomy test
Taxonomy testTaxonomy test
Taxonomy test
 
ฮอร์โมนและระบบต่อมไร้ท่อ
ฮอร์โมนและระบบต่อมไร้ท่อฮอร์โมนและระบบต่อมไร้ท่อ
ฮอร์โมนและระบบต่อมไร้ท่อ
 
Monera
MoneraMonera
Monera
 
Dichotomous key
Dichotomous keyDichotomous key
Dichotomous key
 
Law
LawLaw
Law
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
Kingdom Protista
Kingdom ProtistaKingdom Protista
Kingdom Protista
 
ข้อสอบซ่อม ชีววิทยา 4 ม.6
ข้อสอบซ่อม ชีววิทยา 4 ม.6ข้อสอบซ่อม ชีววิทยา 4 ม.6
ข้อสอบซ่อม ชีววิทยา 4 ม.6
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ชีวะพื้นฐาน ม.4 เทอม 1
ชีวะพื้นฐาน ม.4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐาน ม.4 เทอม 1
ชีวะพื้นฐาน ม.4 เทอม 1
 
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 

Plus de Nattapong Boonpong (11)

Infographic
InfographicInfographic
Infographic
 
VDO Training
VDO TrainingVDO Training
VDO Training
 
Admiss
AdmissAdmiss
Admiss
 
หลักการเทียบภาษาไทยเป้นภาษาอังกฤษ
หลักการเทียบภาษาไทยเป้นภาษาอังกฤษหลักการเทียบภาษาไทยเป้นภาษาอังกฤษ
หลักการเทียบภาษาไทยเป้นภาษาอังกฤษ
 
10 bangkok192
10 bangkok19210 bangkok192
10 bangkok192
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
Heart
HeartHeart
Heart
 
Kingdom Protista
Kingdom ProtistaKingdom Protista
Kingdom Protista
 
Kingdom Monera
Kingdom MoneraKingdom Monera
Kingdom Monera
 
Kingdom Monera
Kingdom MoneraKingdom Monera
Kingdom Monera
 
Bio Final
Bio FinalBio Final
Bio Final
 

Genetics

  • 1. จงแสดงวิธีทำและตอบคำถำมต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (10 คะแนน) 1. เมื่อต้นถั่วลันเตาต้นสูงพันธุ์แท้ (TT) ผสมกับต้นเตี้ย จงหา 1.1 อัตราส่วนจีโนไทป์และฟีโนไทป์ในรุ่น F2 1.2 โอกาสหรือความน่าจะเป็นที่จะเกิดต้นสูง heterozygous เมื่อนารุ่น F1 มาผสมกับต้นเตีย ้ 2. เมื่อนาถั่วลันเตาเมล็ดกลมสีเหลืองพันธุ์แท้ (RRYY) ผสมกับเมล็ดขรุขระสีเขียว จงหา 2.1 อัตราส่วนฟีโนไทป์รุ่น F2 2.2 ความน่าจะเป็นที่รุ่น F2 จะมีลักษณะเมล็ดกลมสีเขียวซึ่งมีจีโนไทป์เป็น Rryy 3. คุณพ่อไม่เป็น Hemophilia แต่เป็น Thalassemia กับคุณแม่เป็น Hemophilia และเป็นพาหะ Thalassemia จงหาโอกาสที่ 3.1 ลูกชายของทั้งคู่จะป่วยเป็นทั้งสองโรค 3.2 ลูกที่เกิดมาจะเป็นหญิงและเป็นพาหะของทั้งสองโรค 4. ถ้า A แทนยีนที่ควบคุมลักษณะปีกปกติ และ a แทนยีนที่ควบคุมลักษณะปีกสั้น ในการผสมพันธุ์แมลงหวี่ ที่มีปีกปกติคู่หนึ่ง ปรากฏว่ารุ่นลูกจานวน 230 ตัว มีปีกปกติ 172 ตัว และปีกสั้น 58 ตัว 4.1 จงเขียนจีโนไทป์ของแมลงหวี่ในรุ่นพ่อแม่ 4.2 เมื่อนาแมลงหวี่ปีกสั้นในรุ่นลูกผสมกับแมลงหวี่ปีกปกติในรุ่นพ่อแม่ จะได้ลูกมีลักษณะปีกเป็นอย่างไร บ้าง และคิดเป็นอัตราส่วนเท่าใด 5. มะเขือเทศผลสีแดงเป็นลักษณะเด่น (R) ผลสีเหลืองเป็นลักษณะด้อย (r) และต้นสูงเป็นลักษณะเด่น (T) ต้นเตี้ยเป็นลักษณะด้อย (t) เมื่อผสมมะเขือเทศที่มีจีโนไทป์ RRTt กับต้นที่มีจีโนไทป์ rrTT จงหาจีโนไทป์ และฟีโนไทป์ของรุ่นลูก (F1) 6. ผสมพันธุ์ระหว่างวัวพันธุ์แท้ขนสีดาเพศผู้กับวัวพันธุ์แท้ขนสีขาวเพศเมีย จะได้ลูกรุ่น F1 มีขนสีเทาทั้งหมด เมื่อให้รุ่น F1 ผสมกันเอง จงหาโอกาสของรุ่น F2 ที่มีขนเหมือนพ่อ 7. โรคความบกพร่องเอนไซม์ G6PD เป็นลักษณะด้อยบนโครโมโซม X ถ้าชายเป็นโรค G6PD แต่งงานกับหญิง ที่เป็นพาหะ จะมีจีโนไทป์และฟีโนไทป์เป็นอย่างไร อัตราส่วนของจีโนไทป์และฟีโนไทป์เป็นเท่าใด (กาหนดให้ G แทนยีนควบคุมลักษณะปกติ และ g แทนยีนควบคุมลักษณะบกพร่องเอนไซม์ G6PD) 8. หนูตัวหนึ่งสร้างสเปิร์มชนิด abCd ผสมกับเซลล์ไข่ชนิด aBCD จงหาจีโนไทป์ของลูกที่เกิดจากการปฏิสนธิ และลูกมีโอกาสสร้างเซลล์สืบพันธุ์ได้กี่ชนิด อะไรบ้าง 9. หญิงคนหนึ่งเป็นโรคตาบอดสี เมื่อแต่งงานกับชายตาปกติ 9.1 ลูกชายจะมีโอกาสเป็นโรคตาบอดสีหรือไม่ 9.2 ลูกสาวจะเป็นโรคตาบอดสีหรือเป็นพาหะ 10. จงนาข้อมูลที่ให้ เขียนเป็นแผนภาพพงศาวลี (โดยแทนสัญลักษณ์ที่ได้ศึกษามา กาหนดลักษณะ) ปู่ตาปกติ ย่าเป็นพาหะของโรคตาบอดสี แต่งงานกันมีลูก 3 คน ลูกคนแรกเป็นชายมีตาบอดสีแต่งงานกับ หญิงตาบอดสี และมีลูกด้วยกัน 2 คน เป็นชายและหญิง ซึ่งมีตาบอดสีทั้งคู่ ลูกชายคนที่สองเป็นตาปกติ ลูกสาว คนสุดท้องมีตาปกติแต่งงานกับชายตาบอดสีและมีลูกด้วยกัน 4 คน เป็นหญิงตาปกติและตาบอดสี ชายตาปกติและ ชายตาบอดสี