SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  8
Télécharger pour lire hors ligne
การสอนกระบวนการคิดด้วยโครงงาน
บทนา

       การสอนการคิดด้วยโครงงานเป็นการปรับเปลี่ยนการเรียนรู้ เป็น
การท้าทายให้ผเรียนสืบค้น และกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้รูปแบบการสอน
             ู้
ให้ผู้เรียนแสวงหาและค้นพบความรูด้วยตนเอง
                               ้                 ผู้เรียนใช้กระบวนการ
เรียนรู้ สร้างความรู้ของตนเอง เพื่อความสาเร็จในการเรียนรู้ ความสุขและ
ความภาคภูมใจในตนเอง
          ิ                  เป็นรูปแบบการสอนที่เน้นผูเรียนเป็นสาคัญ
                                                      ้
ส่งผลให้ผเรียนมีคุณภาพรอบด้าน เป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุขตาม
         ู้
เจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒

การจัดการเรียนรู้

โครงงานเป็นงานวิจัยเล็ก ๆ ของเด็ก ตอบสนองความกระหายใคร่รู้ ปลูกฝังนิสัยรักการเรียนรู้ รักการ
ทางาน มีค่านิยมในการสร้างผลผลิต มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์สูง ตังมั่นยึดความสาเร็จ และคุณค่า
                                                           ้
ประโยชน์เป็นเป้าหมาย ฝึกทักษะการคิด การทางานที่เป็นระบบ เป็นเหตุเป็นผล คานึงถึงความ
เชื่อมโยงความสัมพันธ์สิ่งต่าง ๆ ฝึกความพากเพียร อดทนพยายาม รวมทั้งความสานึกรับผิดชอบต่อ
ตนเองครอบครัวและสังคม
         การเรียนรู้ดวยโครงงาน เป็นการเรียนรู้แบบองค์รวม ที่เอาปัญหาความจาเป็นของชีวิต และ
                     ้
สังคมเป็นตัวตั้ง เชื่อมโยงบูรณาการหลาย ๆ สาระการเรียนรู้ และทักษะต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เรียนรู้จาก
ประสบการณ์ การเผชิญสถานการณ์ปัญหาจริง ลงมือปฏิบัติจริงในการปรับปรุงพัฒนา แก้ปัญหาของ
ตนเอง สังคมแวดล้อมรอบ ๆ ตัว เกิดการเรียนรู้พัฒนาทั้งความรู้ ความคิด คุณลักษณะและทักษะต่าง
ๆ รวมทั้งค้นพบความถนัดความสนใจของตนเอง มีความสุขภาคภูมใจในตนเอง
                                                      ิ
ขั้นนำ
                     ขั้นวำงแผน
                         (Plan)




ขั้นนำเสนอ   ขั้นตอนการสอนการคิดด้วยโครงงาน      ขั้น
   รำยงำน                                     ดำเนินกำร
                     รูปแบบการสอน
 (Action)                                       ( Do)




                        ขั้นเขียน
                        รำยงำน
                        (Check)
แผนการจัดการเรียนรู้ การทาโครงงานภาษาไทย

    วิชา วรรณกรรมท้องถิ่น ท 40281 จานวน 8 ชั่วโมง

          เรื่อง วรรณกรรมท้องถิ่นกับวิถีชุมชน

สาระสาคัญ

        วัฒนธรรมท้องถิ่นเป็นวิถีชีวิตของคนในแต่ละชุมชน ซึ่งเป็นมรดกสืบทอดต่อกันมา และทุกคน
ย่อมมีความภูมใจในการเป็นเจ้าของร่วมกัน ทาให้เกิดความรัก หวงแหนในท้องถิ่นของตน การศึกษา
             ิ
วัฒนธรรมท้องถิ่นในรูปแบบการทาโครงงานเป็นกระบวนการหนึ่งที่จะทาให้ผู้เรียนค้นพบความรู้ด้วย
ตนเอง โดยใช้กระบวนการกลุ่มในการร่วมมือกันทางาน สร้างความรูด้วยตนเอง ฝึกทักษะการคิด การ
                                                          ้
ทางานที่เป็นระบบ เพื่อให้เกิดความสาเร็จ และมีความสุขในการเรียนรูและภาคภูมิใจในผลงานของ
                                                                ้
ตนเอง

จุดประสงค์

   1. ผูเรียนเกิดการเรียนรู้จากการศึกษา ค้นคว้าด้วยตนเอง
        ้
   2. ผูเรียนสามารถรวบรวมข้อมูล นามาเขียนรายงาน และจัดทาเป็นโครงงานได้
        ้
   3. ผูเรียนสามารถนาเอาผลงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้ามานาเสนอแก่ผที่สนใจได้
        ้                                                        ู้

กิจกรรมการเรียนการสอน

ขั้นนา ( P )

   1. ครูและนักเรียนสนทนาเรื่องวัฒนธรรมท้องถิ่นซึ่งเป็นวิถีชีวตของคนในชุมชน
                                                              ิ
   2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเรื่อง การศึกษาวัฒนธรรมท้องถิ่นจากรูปแบบการทาโครงงาน
        กระบวนการทาโครงงาน ประโยชน์ที่ได้รับจากการทาโครงงาน ตลอดจนถึงการมีส่วนช่วยใน
        การอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่นในคงอยู่
ขั้นวางแผน (P )

   3. ให้นักเรียนรวมกลุ่มกัน กลุ่มละ 7 – 8 คน สมาชิกแต่ละกลุ่มต้องอาศัยอยู่ในพืนที่เดียวกันหรือ
                                                                               ้
      ชอบที่จะศึกษาวัฒนธรรมท้องถิ่นเดียวกัน
   4. ครูแจกรูปแบบการวางแผนในการทาโครงงาน นักเรียนแต่ละกลุ่มแบ่งงานกันทา ร่วมกันศึกษา
      และวางแผนการทางาน ตามขั้นตอนในแบบฟอร์มจากหัวข้อ วัฒนธรรมท้องถิ่น โดยครูคอยให้
      คาแนะนา เน้นความสนใจใฝ่รู้ที่จะร่วมกันศึกษาและรับผิดชอบการทางาน
   5. ครูตรวจสอบและให้คาแนะนาการวางแผนงานก่อนที่จะนาไปดาเนินการ

ขั้นดาเนินการ ( D )

   6. (ให้เวลาในการศึกษา ค้นคว้า รวบรวมข้อมูล 2 สัปดาห์ ) ในระยะนีครูคอยกระตุ้น ให้
                                                                  ้
      คาปรึกษาและให้กาลังใจในการทางาน

ขั้นการเขียนรายงาน ( C )

   7. ครูและนักเรียนสนทนาซักถามถึงข้อมูลการศึกษา ค้นคว้า และรวบรวมเพื่อทารายงาน
   8. นักเรียนศึกษาใบความรูเรื่องการเขียนรายงาน
                           ้
   9. นักเรียนนาข้อมูลที่ได้มาเขียนเป็นรายงานตามรูปแบบที่กาหนด
   10. นักเรียนตรวจทานความถูกต้อง ครูให้คาแนะนาในการเขียนรายงานในส่วนที่ตองไปเพิ่มเติม
                                                                         ้

ขั้นนาเสนอผลงาน ( A )

   11. ครูอธิบายวิธีการ ขั้นตอนในการนาเสนอผลงาน โดยให้นักเรียนเตรียม แผงโครงงาน ป้ายนิเทศ
      รายงานการทาโครงงาน แบบประเมิน และเตรียมตัวในการนาเสนอ
   12. นักเรียนทุกกลุ่มจัดแสดงผลงานการศึกษา อธิบายขั้นตอนการทาโครงงาน และความ
      ภาคภูมิใจในการศึกษาโครงงาน แลกเปลี่ยนความรูกับผูสนใจ และให้ผเข้าชมทาแบบประเมิน
                                                 ้ ้              ู้
   13. หลังจากที่ทุกกลุ่มนาเสนอผลงานแล้ว ร่วมกันสรุปความสาเร็จ และข้อบกพร่องของการทา
      โครงงานเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการทางานในโอกาสต่อไป
สื่อการสอน

1. ใบความรูเรื่อง การเขียนโครงงานภาษาไทย
           ้
2. ใบความรูเรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่น
           ้



การวัดและประเมินผล

1. สังเกตจากความสนใจเรียน
2. สังเกตการทางานกลุ่ม
3. สังเกตจากการนาเสนอผลงาน
4. ตรวจผลงานการเขียนรายงาน
การสอนกระบวนการคิดด้วยโครงงาน




           ครูณัฐญา กาลันสีมา
               ครูชานาญการ
           โรงเรียนถ้าปินวิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36
ครูณัฐญา กาลันสีมา

           เทคนิคการสอนด้วยโครงงานภาษาไทยเป็นนวัตกรรมที่ใช้ใน
การสอนเพื่อให้เกิดกระบวนการคิดและนาไปสูการพัฒนาทักษะการคิด
                                       ่
กระบวนการทางานกลุ่มของนักเรียน โดยใช้กระบวนการคิดด้วยการทา
โครงงาน เป็นการสอนกระบวนการคิด คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิด
ประเมินค่าและการนาไปใช้ ซึ่งเป็นทักษะการคิดขั้นสูง และเป็นความตังใจของผู้สอนที่ให้
                                                                ้
นักเรียนใช้เทคนิคการทางานด้วยวงจร P-D-C-A

           เริ่มจากการตังคาถาม
                        ้          แล้วจึงเกิดกระบวนการคิดแก้ปัญหา      สูการวางแผน
                                                                          ่
(Plan) เสาะแสวงหาความรู้       (Do)   จากภูมปัญญาท้องถิ่น
                                            ิ
ทัศนคติ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชีวต ความเชื่อ ตานาน คา
                            ี ิ
บอกเล่า แล้วจึงนามาคิดวิเคราะห์ แยกแยะ (Check) เป็น
หมวดหมู่ เรียบเรียง รวบรวมอภิปรายแสดงความคิดเห็นกันใน
หมู่คณะ      นามาสู่การสรุปผลการศึกษาโครงงาน        (Action)
จากนั้นจึงมีการนาเสนอโครงงานตามหลักการนาเสนอโดยยึด
หลัก 3P คือ 1.วางแผน(planning) 2.การเตรียมการ(preparation)            3. การนาเสนอ
(presentation)

       ในยุคสังคมที่เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ จาเป็นต้องมีองค์ความรู้อย่างแท้จริง รวมไป
ถึงในการพัฒนานักเรียนให้มีความรู้แบบยั่งยืน การสอนคิดด้วยโครงงานจึงสนองแนวคิดได้
อย่างสมบูรณ์และเน้นนักเรียนเป็นสาคัญอย่างแท้จริง
“...นอกจากจะได้รับความรู้เรื่องความเชื่อ
  และตานานในอดีตแล้ว พวกเรายังรู้สึก
  สนุกกับการทาโครงงาน รู้จักมีความคิด
  ริเริ่มสร้างสรรค์ เกิดความสามัคคีในหมู่
  คณะและพัฒนาตัวเองให้ก้าวหน้าขึ้น ...”

          กลุ่มตานานผ้าขาวเป็ง ม.6/2




“...กลุ่มกระผมมีความสนใจที่จะศึกษาโครงงานเรื่อง            “ข้าว”     จากการทางาน
กลุ่มกระผมได้รับความรู้เรื่องสานวนสุภาษิตเกี่ยวกับข้าว             ข้าวกับวิถีชีวิตและ
ความเชื่อเกี่ยวกับข้าว     นอกจากนั้นยังได้คิดร่วมกัน        รู้จักวิธีการทางานเป็น
ขั้นตอน     เกิดความสามัคคีและตรงต่อเวลา             สิ่งที่ภาคภูมิใจคือการเผยแพร่
โครงงานในงานชมพูขาวนิทรรศ์             ได้นาความรู้มอบให้ผู้อื่น     ถึงแม้วาจะเหน็ด
                                                                            ่
เหนือย เราก็ได้รับความสนุกสนานและมีความสุข...”
    ่

Contenu connexe

Tendances

แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
Kobwit Piriyawat
 
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพโทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
Kobwit Piriyawat
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
สุชาติ องค์มิ้น
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
thkitiya
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
mos44854
 
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือนโครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
Chonlada078
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
Blade HurthurtHurt
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
Kobwit Piriyawat
 

Tendances (17)

แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
 
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพโทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
Learning21
Learning21Learning21
Learning21
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงาน
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงานเอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงาน
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงาน
 
project
projectproject
project
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
 
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
 
lertlah
lertlahlertlah
lertlah
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือนโครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
ประเมินครูผู้ช่วย องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติงาน (ประเมินครั้งที่ 7)
ประเมินครูผู้ช่วย องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติงาน (ประเมินครั้งที่ 7)ประเมินครูผู้ช่วย องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติงาน (ประเมินครั้งที่ 7)
ประเมินครูผู้ช่วย องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติงาน (ประเมินครั้งที่ 7)
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอน
 

Similaire à Learning by project

Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
paewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
paewwaew
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
Vachii Ra
 
ใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะ
Piyamas Songtronge
 
ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1
Piyamas Songtronge
 
ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)
suparada
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
tyehh
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
Pamkritsaya3147
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
She's Kukkik Kanokporn
 

Similaire à Learning by project (20)

Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
ใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะ
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1
 
งาน2
งาน2งาน2
งาน2
 
ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1
 
คอม01.doc
คอม01.docคอม01.doc
คอม01.doc
 
ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 

Plus de โก๋แก่ มันทุกเม็ด (7)

การใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทยการใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทย
 
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
ย้ายคืนถิ่นครูณัฐญาใหม่
ย้ายคืนถิ่นครูณัฐญาใหม่ย้ายคืนถิ่นครูณัฐญาใหม่
ย้ายคืนถิ่นครูณัฐญาใหม่
 
ย้ายคืนถิ่นครูณัฐญา2
ย้ายคืนถิ่นครูณัฐญา2ย้ายคืนถิ่นครูณัฐญา2
ย้ายคืนถิ่นครูณัฐญา2
 
การสร้างงาน Adobe flash cs3
การสร้างงาน Adobe flash cs3การสร้างงาน Adobe flash cs3
การสร้างงาน Adobe flash cs3
 
Obec Award
Obec AwardObec Award
Obec Award
 

Learning by project

  • 1. การสอนกระบวนการคิดด้วยโครงงาน บทนา การสอนการคิดด้วยโครงงานเป็นการปรับเปลี่ยนการเรียนรู้ เป็น การท้าทายให้ผเรียนสืบค้น และกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้รูปแบบการสอน ู้ ให้ผู้เรียนแสวงหาและค้นพบความรูด้วยตนเอง ้ ผู้เรียนใช้กระบวนการ เรียนรู้ สร้างความรู้ของตนเอง เพื่อความสาเร็จในการเรียนรู้ ความสุขและ ความภาคภูมใจในตนเอง ิ เป็นรูปแบบการสอนที่เน้นผูเรียนเป็นสาคัญ ้ ส่งผลให้ผเรียนมีคุณภาพรอบด้าน เป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุขตาม ู้ เจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ การจัดการเรียนรู้ โครงงานเป็นงานวิจัยเล็ก ๆ ของเด็ก ตอบสนองความกระหายใคร่รู้ ปลูกฝังนิสัยรักการเรียนรู้ รักการ ทางาน มีค่านิยมในการสร้างผลผลิต มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์สูง ตังมั่นยึดความสาเร็จ และคุณค่า ้ ประโยชน์เป็นเป้าหมาย ฝึกทักษะการคิด การทางานที่เป็นระบบ เป็นเหตุเป็นผล คานึงถึงความ เชื่อมโยงความสัมพันธ์สิ่งต่าง ๆ ฝึกความพากเพียร อดทนพยายาม รวมทั้งความสานึกรับผิดชอบต่อ ตนเองครอบครัวและสังคม การเรียนรู้ดวยโครงงาน เป็นการเรียนรู้แบบองค์รวม ที่เอาปัญหาความจาเป็นของชีวิต และ ้ สังคมเป็นตัวตั้ง เชื่อมโยงบูรณาการหลาย ๆ สาระการเรียนรู้ และทักษะต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เรียนรู้จาก ประสบการณ์ การเผชิญสถานการณ์ปัญหาจริง ลงมือปฏิบัติจริงในการปรับปรุงพัฒนา แก้ปัญหาของ ตนเอง สังคมแวดล้อมรอบ ๆ ตัว เกิดการเรียนรู้พัฒนาทั้งความรู้ ความคิด คุณลักษณะและทักษะต่าง ๆ รวมทั้งค้นพบความถนัดความสนใจของตนเอง มีความสุขภาคภูมใจในตนเอง ิ
  • 2. ขั้นนำ ขั้นวำงแผน (Plan) ขั้นนำเสนอ ขั้นตอนการสอนการคิดด้วยโครงงาน ขั้น รำยงำน ดำเนินกำร รูปแบบการสอน (Action) ( Do) ขั้นเขียน รำยงำน (Check)
  • 3. แผนการจัดการเรียนรู้ การทาโครงงานภาษาไทย วิชา วรรณกรรมท้องถิ่น ท 40281 จานวน 8 ชั่วโมง เรื่อง วรรณกรรมท้องถิ่นกับวิถีชุมชน สาระสาคัญ วัฒนธรรมท้องถิ่นเป็นวิถีชีวิตของคนในแต่ละชุมชน ซึ่งเป็นมรดกสืบทอดต่อกันมา และทุกคน ย่อมมีความภูมใจในการเป็นเจ้าของร่วมกัน ทาให้เกิดความรัก หวงแหนในท้องถิ่นของตน การศึกษา ิ วัฒนธรรมท้องถิ่นในรูปแบบการทาโครงงานเป็นกระบวนการหนึ่งที่จะทาให้ผู้เรียนค้นพบความรู้ด้วย ตนเอง โดยใช้กระบวนการกลุ่มในการร่วมมือกันทางาน สร้างความรูด้วยตนเอง ฝึกทักษะการคิด การ ้ ทางานที่เป็นระบบ เพื่อให้เกิดความสาเร็จ และมีความสุขในการเรียนรูและภาคภูมิใจในผลงานของ ้ ตนเอง จุดประสงค์ 1. ผูเรียนเกิดการเรียนรู้จากการศึกษา ค้นคว้าด้วยตนเอง ้ 2. ผูเรียนสามารถรวบรวมข้อมูล นามาเขียนรายงาน และจัดทาเป็นโครงงานได้ ้ 3. ผูเรียนสามารถนาเอาผลงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้ามานาเสนอแก่ผที่สนใจได้ ้ ู้ กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นนา ( P ) 1. ครูและนักเรียนสนทนาเรื่องวัฒนธรรมท้องถิ่นซึ่งเป็นวิถีชีวตของคนในชุมชน ิ 2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเรื่อง การศึกษาวัฒนธรรมท้องถิ่นจากรูปแบบการทาโครงงาน กระบวนการทาโครงงาน ประโยชน์ที่ได้รับจากการทาโครงงาน ตลอดจนถึงการมีส่วนช่วยใน การอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่นในคงอยู่
  • 4. ขั้นวางแผน (P ) 3. ให้นักเรียนรวมกลุ่มกัน กลุ่มละ 7 – 8 คน สมาชิกแต่ละกลุ่มต้องอาศัยอยู่ในพืนที่เดียวกันหรือ ้ ชอบที่จะศึกษาวัฒนธรรมท้องถิ่นเดียวกัน 4. ครูแจกรูปแบบการวางแผนในการทาโครงงาน นักเรียนแต่ละกลุ่มแบ่งงานกันทา ร่วมกันศึกษา และวางแผนการทางาน ตามขั้นตอนในแบบฟอร์มจากหัวข้อ วัฒนธรรมท้องถิ่น โดยครูคอยให้ คาแนะนา เน้นความสนใจใฝ่รู้ที่จะร่วมกันศึกษาและรับผิดชอบการทางาน 5. ครูตรวจสอบและให้คาแนะนาการวางแผนงานก่อนที่จะนาไปดาเนินการ ขั้นดาเนินการ ( D ) 6. (ให้เวลาในการศึกษา ค้นคว้า รวบรวมข้อมูล 2 สัปดาห์ ) ในระยะนีครูคอยกระตุ้น ให้ ้ คาปรึกษาและให้กาลังใจในการทางาน ขั้นการเขียนรายงาน ( C ) 7. ครูและนักเรียนสนทนาซักถามถึงข้อมูลการศึกษา ค้นคว้า และรวบรวมเพื่อทารายงาน 8. นักเรียนศึกษาใบความรูเรื่องการเขียนรายงาน ้ 9. นักเรียนนาข้อมูลที่ได้มาเขียนเป็นรายงานตามรูปแบบที่กาหนด 10. นักเรียนตรวจทานความถูกต้อง ครูให้คาแนะนาในการเขียนรายงานในส่วนที่ตองไปเพิ่มเติม ้ ขั้นนาเสนอผลงาน ( A ) 11. ครูอธิบายวิธีการ ขั้นตอนในการนาเสนอผลงาน โดยให้นักเรียนเตรียม แผงโครงงาน ป้ายนิเทศ รายงานการทาโครงงาน แบบประเมิน และเตรียมตัวในการนาเสนอ 12. นักเรียนทุกกลุ่มจัดแสดงผลงานการศึกษา อธิบายขั้นตอนการทาโครงงาน และความ ภาคภูมิใจในการศึกษาโครงงาน แลกเปลี่ยนความรูกับผูสนใจ และให้ผเข้าชมทาแบบประเมิน ้ ้ ู้ 13. หลังจากที่ทุกกลุ่มนาเสนอผลงานแล้ว ร่วมกันสรุปความสาเร็จ และข้อบกพร่องของการทา โครงงานเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการทางานในโอกาสต่อไป
  • 5. สื่อการสอน 1. ใบความรูเรื่อง การเขียนโครงงานภาษาไทย ้ 2. ใบความรูเรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่น ้ การวัดและประเมินผล 1. สังเกตจากความสนใจเรียน 2. สังเกตการทางานกลุ่ม 3. สังเกตจากการนาเสนอผลงาน 4. ตรวจผลงานการเขียนรายงาน
  • 6. การสอนกระบวนการคิดด้วยโครงงาน ครูณัฐญา กาลันสีมา ครูชานาญการ โรงเรียนถ้าปินวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36
  • 7. ครูณัฐญา กาลันสีมา เทคนิคการสอนด้วยโครงงานภาษาไทยเป็นนวัตกรรมที่ใช้ใน การสอนเพื่อให้เกิดกระบวนการคิดและนาไปสูการพัฒนาทักษะการคิด ่ กระบวนการทางานกลุ่มของนักเรียน โดยใช้กระบวนการคิดด้วยการทา โครงงาน เป็นการสอนกระบวนการคิด คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิด ประเมินค่าและการนาไปใช้ ซึ่งเป็นทักษะการคิดขั้นสูง และเป็นความตังใจของผู้สอนที่ให้ ้ นักเรียนใช้เทคนิคการทางานด้วยวงจร P-D-C-A เริ่มจากการตังคาถาม ้ แล้วจึงเกิดกระบวนการคิดแก้ปัญหา สูการวางแผน ่ (Plan) เสาะแสวงหาความรู้ (Do) จากภูมปัญญาท้องถิ่น ิ ทัศนคติ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชีวต ความเชื่อ ตานาน คา ี ิ บอกเล่า แล้วจึงนามาคิดวิเคราะห์ แยกแยะ (Check) เป็น หมวดหมู่ เรียบเรียง รวบรวมอภิปรายแสดงความคิดเห็นกันใน หมู่คณะ นามาสู่การสรุปผลการศึกษาโครงงาน (Action) จากนั้นจึงมีการนาเสนอโครงงานตามหลักการนาเสนอโดยยึด หลัก 3P คือ 1.วางแผน(planning) 2.การเตรียมการ(preparation) 3. การนาเสนอ (presentation) ในยุคสังคมที่เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ จาเป็นต้องมีองค์ความรู้อย่างแท้จริง รวมไป ถึงในการพัฒนานักเรียนให้มีความรู้แบบยั่งยืน การสอนคิดด้วยโครงงานจึงสนองแนวคิดได้ อย่างสมบูรณ์และเน้นนักเรียนเป็นสาคัญอย่างแท้จริง
  • 8. “...นอกจากจะได้รับความรู้เรื่องความเชื่อ และตานานในอดีตแล้ว พวกเรายังรู้สึก สนุกกับการทาโครงงาน รู้จักมีความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ เกิดความสามัคคีในหมู่ คณะและพัฒนาตัวเองให้ก้าวหน้าขึ้น ...” กลุ่มตานานผ้าขาวเป็ง ม.6/2 “...กลุ่มกระผมมีความสนใจที่จะศึกษาโครงงานเรื่อง “ข้าว” จากการทางาน กลุ่มกระผมได้รับความรู้เรื่องสานวนสุภาษิตเกี่ยวกับข้าว ข้าวกับวิถีชีวิตและ ความเชื่อเกี่ยวกับข้าว นอกจากนั้นยังได้คิดร่วมกัน รู้จักวิธีการทางานเป็น ขั้นตอน เกิดความสามัคคีและตรงต่อเวลา สิ่งที่ภาคภูมิใจคือการเผยแพร่ โครงงานในงานชมพูขาวนิทรรศ์ ได้นาความรู้มอบให้ผู้อื่น ถึงแม้วาจะเหน็ด ่ เหนือย เราก็ได้รับความสนุกสนานและมีความสุข...” ่