SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  7
Télécharger pour lire hors ligne
โครงสรางหลักสูตรตามตัวชี้วัดแกนกลางกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรระดับชั้น ม.3
รายวิชาวิทยาศาสตร 6 ภาคเรียนที่ 2
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง
สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต
มาตรฐาน ว 1.2 เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใชเทคโนโลยีชีวภาพที่มี
ผลกระทบตอมนุษยและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยา
ศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชประโยชน
ที่ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
1 สังเกตและอธิบายลักษณะของโครโมโซมที่
มีหนวยพันธุกรรมหรือยีนในนิวเคลียส
- เมื่อมองเซลลผานกลองจุลทรรศนจะเห็นเสน
ใยเล็กๆ พันกันอยูในนิวเคลียส เมื่อเกิดการ
แบง เซลล เสนใยเหลานี้จะขดสั้นเขาจนมี
ลักษณะเปนทอนสั้น เรียกวา โครโมโซม
- โครโมโซมประกอบดวยดีเอ็นเอและโปรตีน
- ยีนหรือหนวยพันธุกรรมเปนสวนหนึ่งที่อยูบน
ดีเอ็นเอ
2 อธิบายความสําคัญของสารพันธุกรรมหรือดี
เอ็นเอ และกระบวนการถายทอด
ลักษณะทางพันธุกรรม
- เซลลหรือสิ่งมีชีวิต มีสารพันธุกรรมหรือ ดี
เอ็นเอที่ควบคุมลักษณะของการแสดงออก
- ลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมดวยยีนจาก
พอและแมสามารถถายทอดสูลูกผานทาง
เซลลสืบพันธุและการปฏิสนธิ
3 อภิปรายโรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความ
ผิดปกติของยีนและโครโมโซมและนํา
ความรูไปใชประโยชน
- โรคธาลัสซีเมีย ตาบอดสี เปนโรคทางพันธุกรรม
ที่เกิดจากความผิดปกติของยีน
- กลุมอาการดาวนเปนความผิดปกติของรางกาย
ซึ่งเกิดจากการที่มีจํานวนโครโมโซมเกินมา
- ความรูเกี่ยวกับโรคทางพันธุกรรมสามารถ
นําไปใชในการปองกันโรค ดูแลผูปวยและ
วางแผนครอบครัว
2
ที่ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
4 สํารวจและอธิบายความหลากหลายทาง
ชีวภาพในทองถิ่นที่ทําใหสิ่งมีชีวิตดํารงชีวิต
อยูไดอยางสมดุล
- ความหลากหลายทางชีวภาพที่ทําใหสิ่งมีชีวิต
อยูอยางสมดุล ขึ้นอยูกับความหลากหลายของ
ระบบนิเวศ ความหลากหลายของชนิด
สิ่งมีชีวิต และความหลากหลายทางพันธุกรรม
5 อธิบายผลของความหลากหลายทาง
ชีวภาพที่มีตอมนุษย สัตว พืช และ
สิ่งแวดลอม
- การตัดไมทําลายปาเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกิด
การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่ง
สงผลกระทบตอการดํารงชีวิตของมนุษย สัตว
พืชและสิ่งแวดลอม
- การใชสารเคมีในการกําจัดศัตรูพืชและสัตว
สงผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตทั้งมนุษย สัตวและพืชทําให
เกิดการเปลี่ยนแปลงความหลากหลายทาง
ชีวภาพและสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม
6 อภิปรายผลของเทคโนโลยี ชีวภาพตอการ
ดํารงชีวิตของมนุษยและสิ่งแวดลอม
- ผลของเทคโนโลยีชีวภาพ มีประโยชนตอมนุษย
ทั้งดานการแพทย การเกษตรและอุตสาหกรรม
สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดลอม
มาตรฐาน ว 2.1 เขาใจสิ่งแวดลอมในทองถิ่น ความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมกับสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะ
หาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน
ที่ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
1 สํารวจระบบนิเวศตางๆในทองถิ่นและ
อธิบาย ความสัมพันธขององคประกอบ
ภายในระบบนิเวศ
- ระบบนิเวศในแตละทองถิ่นประกอบดวย
องคประกอบทางกายภาพและองคประกอบ
ทางชีวภาพเฉพาะถิ่น ซึ่งมีความเกี่ยวของ
สัมพันธกัน
2 วิเคราะหและอธิบายความสัมพันธของการ
ถายทอดพลังงานของสิ่งมีชีวิตในรูปของโซ
อาหารและสายใยอาหาร
- สิ่งมีชีวิตมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน โดยมี
การถายทอดพลังงานในรูปของโซอาหารและ
สายใยอาหาร
3
ที่ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
3 อธิบายวัฏจักรน้ํา วัฏจักรคารบอน และ
ความสําคัญที่มีตอระบบนิเวศ
- น้ําและคารบอนเปนองคประกอบในสิ่งมีชีวิต
และสิ่งไมมีชีวิต
- น้ําและคารบอนจะมีการหมุนเวียนเปน วัฏ
จักรในระบบนิเวศ ทําใหสิ่งมีชีวิตในระบบ
นิเวศนําไปใชประโยชนได
อธิบายปจจัยที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลง
ขนาดของประชากรในระบบนิเวศ
- อัตราการเกิด อัตราการตาย อัตราการ
อพยพเขา และอัตราการอพยพออกของ
สิ่งมีชีวิต มีผลตอ การเปลี่ยนแปลงขนาดของ
ประชากรในระบบ นิเวศ
สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดลอม
มาตรฐาน ว 2.2 เขาใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใชทรัพยากรธรรมชาติในระดับทองถิ่น
ประเทศ และโลกนําความรูไปใชในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และ
สิ่งแวดลอมในทองถิ่นอยางยั่งยืน
ที่ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
1 วิเคราะหสภาพปญหาสิ่งแวดลอม
ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น และ
เสนอแนวทางในการแกไขปญหา
- สภาพปญหาสิ่งแวดลอมและ
ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น เกิดจากการกระทํา
ของธรรมชาติและ มนุษย
- ปญหาสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติที่
เกิดขึ้น ควรมีแนวทางในการดูแลรักษาและ
ปองกัน
2 อธิบายแนวทางการรักษาสมดุลของ
ระบบนิเวศ
- ระบบนิเวศจะสมดุลไดจะตองมีการควบคุม
จํานวนผูผลิต ผูบริโภค ผูสลายสารอินทรีย
ใหมีปริมาณ สัดสวน และการกระจายที่
เหมาะสม
- การใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืนและการ
ดูแลรักษาสภาพแวดลอม เปนการรักษา
สมดุลของระบบนิเวศ
4
ที่ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
3 อภิปรายการใชทรัพยากรธรรมชาติ
อยางยั่งยืน
- การนําทรัพยากรธรรมชาติมาใชอยางคุมคา
ดวยการใชซ้ํา นํากลับมาใชใหม ลดการใช
ผลิตภัณฑ ใชผลิตภัณฑชนิดเดิม ซอมแซม
สิ่งของเครื่องใช เปนวิธีการใชทรัพยากร
ธรรมชาติอยางยั่งยืน
4 วิเคราะหและอธิบายการใช
ทรัพยากรธรรมชาติ ตามปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง
- การใชทรัพยากรธรรมชาติควรคํานึงถึง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบนพื้นฐานของทางสาย
กลาง และความไมประมาท โดยคํานึงถึงความ
พอประมาณ ความมีเหตุผลและ การ
เตรียมตัวใหพรอมที่จะรับผลกระทบและการ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
5 อภิปรายปญหาสิ่งแวดลอมและ
เสนอแนะแนวทางการแกปญหา
- ปญหาสิ่งแวดลอม อาจเกิดจากมลพิษทางน้ํา
มลพิษทางเสียง มลพิษทางอากาศ มลพิษทางดิน
- แนวทางการแกปญหามีหลายวิธี เริ่มจาก
ศึกษาแหลงที่มาของปญหา เสาะหากระบวนการ
ในการแกปญหา และทุกคนมีสวนรวมในการ
ปฏิบัติเพื่อแกปญหานั้น
6 อภิปรายและมีสวนรวมในการดูแลและ
อนุรักษสิ่งแวดลอมในทองถิ่นอยาง
ยั่งยืน
- การดูแลและอนุรักษสิ่งแวดลอมในทองถิ่นให
ยั่งยืน ควรไดรับความรวมมือจากทุกฝายและตอง
เปนความรับผิดชอบของทุกคน
5
สาระที่ 7 ดาราศาสตรและอวกาศ
มาตรฐาน ว 7.1 เขาใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพ การปฏิสัมพันธภายในระบบ
สุริยะและผลตอสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยา
ศาสตร การสื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน
ที่ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
1 สืบคนและอธิบายความสัมพันธระหวาง
ดวงอาทิตย โลก ดวงจันทรและดาว
เคราะหอื่น ๆ และผลที่เกิดขึ้นตอ
สิ่งแวดลอมและสิ่งมีชีวิตบนโลก
- ดวงอาทิตย โลก และดวงจันทรอยูเปนระบบได
ภายใตแรงโนมถวง
- แรงโนมถวงระหวางโลกกับดวงจันทร ทําใหดวง
จันทรโคจรรอบโลก แรงโนมถวงระหวางดวง
อาทิตยกับบริวาร ทําใหบริวารเคลื่อนรอบดวง
อาทิตยกลายเปนระบบสุริยะ
- แรงโนมถวงที่ดวงจันทร ดวงอาทิตย กระทําตอ
โลกทําใหเกิดปรากฏการณน้ําขึ้นน้ําลง ซึ่งสงผล
ตอสิ่งแวดลอมและสิ่งมีชีวิตบนโลก
2 สืบคนและอธิบายองคประกอบของเอก
ภพ กาแล็กซี และระบบสุริยะ
- เอกภพประกอบดวยกาแล็กซีมากมายนับแสน
ลานแหง แตละกาแล็กซีประกอบดวยดาวฤกษ
จํานวนมาก ที่อยูเปนระบบดวยแรงโนมถวง
กาแล็กซีทางชางเผือกมีระบบสุริยะอยูที่แขน
ของกาแล็กซี่ดานกลุมดาวนายพราน
3 ระบุตําแหนงของกลุมดาว และนําความรู
ไปใชประโยชน
- กลุมดาวฤกษประกอบดวยดาวฤกษหลายดวงที่
ปรากฏอยูในขอบเขตแคบๆ และเรียงเปนรูป
ตางๆกันบนทรงกลมฟา โดยดาวฤกษที่อยูใน
กลุมเดียวกัน ไมจําเปนตองอยูใกลกันอยางที่ตา
เห็น แตมีตําแหนงที่แนนอนบนทรงกลมฟา จึง
ใชบอกทิศและเวลาได
6
สาระที่ 7 ดาราศาสตรและอวกาศ
มาตรฐาน ว 7.2 เขาใจความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นํามาใชในการสํารวจอวกาศและ
ทรัพยากรธรรมชาติ ดานการเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู
และจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางมีคุณธรรม
ตอชีวิตและสิ่งแวดลอม
ที่ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
1 สืบคนและอภิปรายความกาวหนาของ
เทคโนโลยีอวกาศที่ใชสํารวจอวกาศ วัตถุ
ทองฟา สภาวะอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ
การเกษตร และการสื่อสาร
- มนุษยใชกลองโทรทรรศน จรวด ดาวเทียม
ยานอวกาศ สํารวจอวกาศ วัตถุทองฟา
สภาวะอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ การเกษตร
และใชในการสื่อสาร
สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 8.1 ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรในการสืบเสาะหาความรู การแกปญหา
รูวาปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นสวนใหญมีรูปแบบที่แนนอน สามารถอธิบายและ
ตรวจสอบได ภายใตขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูในชวงเวลานั้นๆ
ที ตัวชี้วัด
1 1. ตั้งคําถามที่กําหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สําคัญในการสํารวจตรวจสอบ หรือศึกษาคนควาเรื่องที่
สนใจไดอยางครอบคลุมและเชื่อถือได
2. สรางสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบไดและวางแผนการสํารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี
3. เลือกเทคนิควิธีการสํารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ไดผลเที่ยงตรงและปลอดภัย
โดยใชวัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม
4. รวบรวมขอมูล จัดกระทําขอมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ
5. วิเคราะหและประเมินความสอดคลองของประจักษพยานกับขอสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแยงกับ
สมมติฐาน และความผิดปกติของขอมูลจากการสํารวจตรวจสอบ
6. สรางแบบจําลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสํารวจตรวจสอบ
7. สรางคําถามที่นําไปสูการสํารวจตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวของ และนําความรูที่ไดไปใชใน
สถานการณใหมหรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานใหผูอื่นเขาใจ
8. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสํารวจ ตรวจสอบ คนควาเพิ่มเติมจากแหลงความรูตาง ๆ ใหได
ขอมูลที่เชื่อถือได และยอมรับการ เปลี่ยนแปลงความรูที่คนพบเมื่อมีขอมูลและประจักษ
พยานใหมเพิ่มขึ้นหรือโตแยงจากเดิม
9. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงาน
หรือชิ้นงานใหผูอื่นเขาใจ
7

Contenu connexe

Tendances

การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีSutisa Tantikulwijit
 
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชหน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชPreeda Kholae
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวPacharee Nammon
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสJariya Jaiyot
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลายJariya Jaiyot
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 

Tendances (20)

การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
 
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชหน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 

Similaire à โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2

บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์nang_phy29
 
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1Wichai Likitponrak
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1kruking2
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศgchom
 
การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1Wichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1Wichai Likitponrak
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางkorakate
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551Weerachat Martluplao
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1kruthailand
 

Similaire à โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2 (20)

บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
Curri bio 51m4-6
Curri bio 51m4-6Curri bio 51m4-6
Curri bio 51m4-6
 
Curri bio 61m4-6
Curri bio 61m4-6Curri bio 61m4-6
Curri bio 61m4-6
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
 
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
 
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
 
การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
 
การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
 
Sci 2009 03
Sci 2009 03Sci 2009 03
Sci 2009 03
 

Plus de krupornpana55

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ krupornpana55
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...krupornpana55
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมkrupornpana55
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกkrupornpana55
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะkrupornpana55
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายkrupornpana55
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็กkrupornpana55
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตยkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 

Plus de krupornpana55 (20)

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลก
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะ
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่าย
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 

โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2

  • 1. โครงสรางหลักสูตรตามตัวชี้วัดแกนกลางกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรระดับชั้น ม.3 รายวิชาวิทยาศาสตร 6 ภาคเรียนที่ 2 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต มาตรฐาน ว 1.2 เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใชเทคโนโลยีชีวภาพที่มี ผลกระทบตอมนุษยและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยา ศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชประโยชน ที่ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 1 สังเกตและอธิบายลักษณะของโครโมโซมที่ มีหนวยพันธุกรรมหรือยีนในนิวเคลียส - เมื่อมองเซลลผานกลองจุลทรรศนจะเห็นเสน ใยเล็กๆ พันกันอยูในนิวเคลียส เมื่อเกิดการ แบง เซลล เสนใยเหลานี้จะขดสั้นเขาจนมี ลักษณะเปนทอนสั้น เรียกวา โครโมโซม - โครโมโซมประกอบดวยดีเอ็นเอและโปรตีน - ยีนหรือหนวยพันธุกรรมเปนสวนหนึ่งที่อยูบน ดีเอ็นเอ 2 อธิบายความสําคัญของสารพันธุกรรมหรือดี เอ็นเอ และกระบวนการถายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม - เซลลหรือสิ่งมีชีวิต มีสารพันธุกรรมหรือ ดี เอ็นเอที่ควบคุมลักษณะของการแสดงออก - ลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมดวยยีนจาก พอและแมสามารถถายทอดสูลูกผานทาง เซลลสืบพันธุและการปฏิสนธิ 3 อภิปรายโรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความ ผิดปกติของยีนและโครโมโซมและนํา ความรูไปใชประโยชน - โรคธาลัสซีเมีย ตาบอดสี เปนโรคทางพันธุกรรม ที่เกิดจากความผิดปกติของยีน - กลุมอาการดาวนเปนความผิดปกติของรางกาย ซึ่งเกิดจากการที่มีจํานวนโครโมโซมเกินมา - ความรูเกี่ยวกับโรคทางพันธุกรรมสามารถ นําไปใชในการปองกันโรค ดูแลผูปวยและ วางแผนครอบครัว
  • 2. 2 ที่ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 4 สํารวจและอธิบายความหลากหลายทาง ชีวภาพในทองถิ่นที่ทําใหสิ่งมีชีวิตดํารงชีวิต อยูไดอยางสมดุล - ความหลากหลายทางชีวภาพที่ทําใหสิ่งมีชีวิต อยูอยางสมดุล ขึ้นอยูกับความหลากหลายของ ระบบนิเวศ ความหลากหลายของชนิด สิ่งมีชีวิต และความหลากหลายทางพันธุกรรม 5 อธิบายผลของความหลากหลายทาง ชีวภาพที่มีตอมนุษย สัตว พืช และ สิ่งแวดลอม - การตัดไมทําลายปาเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกิด การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่ง สงผลกระทบตอการดํารงชีวิตของมนุษย สัตว พืชและสิ่งแวดลอม - การใชสารเคมีในการกําจัดศัตรูพืชและสัตว สงผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตทั้งมนุษย สัตวและพืชทําให เกิดการเปลี่ยนแปลงความหลากหลายทาง ชีวภาพและสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม 6 อภิปรายผลของเทคโนโลยี ชีวภาพตอการ ดํารงชีวิตของมนุษยและสิ่งแวดลอม - ผลของเทคโนโลยีชีวภาพ มีประโยชนตอมนุษย ทั้งดานการแพทย การเกษตรและอุตสาหกรรม สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดลอม มาตรฐาน ว 2.1 เขาใจสิ่งแวดลอมในทองถิ่น ความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน ที่ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 1 สํารวจระบบนิเวศตางๆในทองถิ่นและ อธิบาย ความสัมพันธขององคประกอบ ภายในระบบนิเวศ - ระบบนิเวศในแตละทองถิ่นประกอบดวย องคประกอบทางกายภาพและองคประกอบ ทางชีวภาพเฉพาะถิ่น ซึ่งมีความเกี่ยวของ สัมพันธกัน 2 วิเคราะหและอธิบายความสัมพันธของการ ถายทอดพลังงานของสิ่งมีชีวิตในรูปของโซ อาหารและสายใยอาหาร - สิ่งมีชีวิตมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน โดยมี การถายทอดพลังงานในรูปของโซอาหารและ สายใยอาหาร
  • 3. 3 ที่ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 3 อธิบายวัฏจักรน้ํา วัฏจักรคารบอน และ ความสําคัญที่มีตอระบบนิเวศ - น้ําและคารบอนเปนองคประกอบในสิ่งมีชีวิต และสิ่งไมมีชีวิต - น้ําและคารบอนจะมีการหมุนเวียนเปน วัฏ จักรในระบบนิเวศ ทําใหสิ่งมีชีวิตในระบบ นิเวศนําไปใชประโยชนได อธิบายปจจัยที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลง ขนาดของประชากรในระบบนิเวศ - อัตราการเกิด อัตราการตาย อัตราการ อพยพเขา และอัตราการอพยพออกของ สิ่งมีชีวิต มีผลตอ การเปลี่ยนแปลงขนาดของ ประชากรในระบบ นิเวศ สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดลอม มาตรฐาน ว 2.2 เขาใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใชทรัพยากรธรรมชาติในระดับทองถิ่น ประเทศ และโลกนําความรูไปใชในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดลอมในทองถิ่นอยางยั่งยืน ที่ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 1 วิเคราะหสภาพปญหาสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น และ เสนอแนวทางในการแกไขปญหา - สภาพปญหาสิ่งแวดลอมและ ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น เกิดจากการกระทํา ของธรรมชาติและ มนุษย - ปญหาสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติที่ เกิดขึ้น ควรมีแนวทางในการดูแลรักษาและ ปองกัน 2 อธิบายแนวทางการรักษาสมดุลของ ระบบนิเวศ - ระบบนิเวศจะสมดุลไดจะตองมีการควบคุม จํานวนผูผลิต ผูบริโภค ผูสลายสารอินทรีย ใหมีปริมาณ สัดสวน และการกระจายที่ เหมาะสม - การใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืนและการ ดูแลรักษาสภาพแวดลอม เปนการรักษา สมดุลของระบบนิเวศ
  • 4. 4 ที่ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 3 อภิปรายการใชทรัพยากรธรรมชาติ อยางยั่งยืน - การนําทรัพยากรธรรมชาติมาใชอยางคุมคา ดวยการใชซ้ํา นํากลับมาใชใหม ลดการใช ผลิตภัณฑ ใชผลิตภัณฑชนิดเดิม ซอมแซม สิ่งของเครื่องใช เปนวิธีการใชทรัพยากร ธรรมชาติอยางยั่งยืน 4 วิเคราะหและอธิบายการใช ทรัพยากรธรรมชาติ ตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง - การใชทรัพยากรธรรมชาติควรคํานึงถึง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบนพื้นฐานของทางสาย กลาง และความไมประมาท โดยคํานึงถึงความ พอประมาณ ความมีเหตุผลและ การ เตรียมตัวใหพรอมที่จะรับผลกระทบและการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 5 อภิปรายปญหาสิ่งแวดลอมและ เสนอแนะแนวทางการแกปญหา - ปญหาสิ่งแวดลอม อาจเกิดจากมลพิษทางน้ํา มลพิษทางเสียง มลพิษทางอากาศ มลพิษทางดิน - แนวทางการแกปญหามีหลายวิธี เริ่มจาก ศึกษาแหลงที่มาของปญหา เสาะหากระบวนการ ในการแกปญหา และทุกคนมีสวนรวมในการ ปฏิบัติเพื่อแกปญหานั้น 6 อภิปรายและมีสวนรวมในการดูแลและ อนุรักษสิ่งแวดลอมในทองถิ่นอยาง ยั่งยืน - การดูแลและอนุรักษสิ่งแวดลอมในทองถิ่นให ยั่งยืน ควรไดรับความรวมมือจากทุกฝายและตอง เปนความรับผิดชอบของทุกคน
  • 5. 5 สาระที่ 7 ดาราศาสตรและอวกาศ มาตรฐาน ว 7.1 เขาใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพ การปฏิสัมพันธภายในระบบ สุริยะและผลตอสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยา ศาสตร การสื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน ที่ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 1 สืบคนและอธิบายความสัมพันธระหวาง ดวงอาทิตย โลก ดวงจันทรและดาว เคราะหอื่น ๆ และผลที่เกิดขึ้นตอ สิ่งแวดลอมและสิ่งมีชีวิตบนโลก - ดวงอาทิตย โลก และดวงจันทรอยูเปนระบบได ภายใตแรงโนมถวง - แรงโนมถวงระหวางโลกกับดวงจันทร ทําใหดวง จันทรโคจรรอบโลก แรงโนมถวงระหวางดวง อาทิตยกับบริวาร ทําใหบริวารเคลื่อนรอบดวง อาทิตยกลายเปนระบบสุริยะ - แรงโนมถวงที่ดวงจันทร ดวงอาทิตย กระทําตอ โลกทําใหเกิดปรากฏการณน้ําขึ้นน้ําลง ซึ่งสงผล ตอสิ่งแวดลอมและสิ่งมีชีวิตบนโลก 2 สืบคนและอธิบายองคประกอบของเอก ภพ กาแล็กซี และระบบสุริยะ - เอกภพประกอบดวยกาแล็กซีมากมายนับแสน ลานแหง แตละกาแล็กซีประกอบดวยดาวฤกษ จํานวนมาก ที่อยูเปนระบบดวยแรงโนมถวง กาแล็กซีทางชางเผือกมีระบบสุริยะอยูที่แขน ของกาแล็กซี่ดานกลุมดาวนายพราน 3 ระบุตําแหนงของกลุมดาว และนําความรู ไปใชประโยชน - กลุมดาวฤกษประกอบดวยดาวฤกษหลายดวงที่ ปรากฏอยูในขอบเขตแคบๆ และเรียงเปนรูป ตางๆกันบนทรงกลมฟา โดยดาวฤกษที่อยูใน กลุมเดียวกัน ไมจําเปนตองอยูใกลกันอยางที่ตา เห็น แตมีตําแหนงที่แนนอนบนทรงกลมฟา จึง ใชบอกทิศและเวลาได
  • 6. 6 สาระที่ 7 ดาราศาสตรและอวกาศ มาตรฐาน ว 7.2 เขาใจความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นํามาใชในการสํารวจอวกาศและ ทรัพยากรธรรมชาติ ดานการเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู และจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางมีคุณธรรม ตอชีวิตและสิ่งแวดลอม ที่ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 1 สืบคนและอภิปรายความกาวหนาของ เทคโนโลยีอวกาศที่ใชสํารวจอวกาศ วัตถุ ทองฟา สภาวะอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ การเกษตร และการสื่อสาร - มนุษยใชกลองโทรทรรศน จรวด ดาวเทียม ยานอวกาศ สํารวจอวกาศ วัตถุทองฟา สภาวะอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ การเกษตร และใชในการสื่อสาร สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.1 ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรในการสืบเสาะหาความรู การแกปญหา รูวาปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นสวนใหญมีรูปแบบที่แนนอน สามารถอธิบายและ ตรวจสอบได ภายใตขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูในชวงเวลานั้นๆ ที ตัวชี้วัด 1 1. ตั้งคําถามที่กําหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สําคัญในการสํารวจตรวจสอบ หรือศึกษาคนควาเรื่องที่ สนใจไดอยางครอบคลุมและเชื่อถือได 2. สรางสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบไดและวางแผนการสํารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี 3. เลือกเทคนิควิธีการสํารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ไดผลเที่ยงตรงและปลอดภัย โดยใชวัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม 4. รวบรวมขอมูล จัดกระทําขอมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ 5. วิเคราะหและประเมินความสอดคลองของประจักษพยานกับขอสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแยงกับ สมมติฐาน และความผิดปกติของขอมูลจากการสํารวจตรวจสอบ 6. สรางแบบจําลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสํารวจตรวจสอบ 7. สรางคําถามที่นําไปสูการสํารวจตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวของ และนําความรูที่ไดไปใชใน สถานการณใหมหรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานใหผูอื่นเขาใจ 8. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสํารวจ ตรวจสอบ คนควาเพิ่มเติมจากแหลงความรูตาง ๆ ใหได ขอมูลที่เชื่อถือได และยอมรับการ เปลี่ยนแปลงความรูที่คนพบเมื่อมีขอมูลและประจักษ พยานใหมเพิ่มขึ้นหรือโตแยงจากเดิม 9. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงาน หรือชิ้นงานใหผูอื่นเขาใจ
  • 7. 7