SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  8
Télécharger pour lire hors ligne
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244
                                              ใบความรู้ที่ 2.1
                                    เรื่อง ความสาคัญของคอมพิวเตอร์

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง - อธิบายความสาคัญของคอมพิวเตอร์ได้
      คอมพิวเตอร์คืออะไร
         ปัจจุบันจะพบว่าคอมพิวเตอร์มีหลากหลายลักษณะ หลากหลายรูปแบบ ทั้งคอมพิวเตอร์ขนาดพกพา
คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์แบบกระเป๋าหิ้ว คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น คอมพิวเตอร์เมนเฟรม หรือ
ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ แต่ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใดก็ตาม คอมพิวเตอร์ก็มีความหมายที่ชัดเจนในตัวของมันเอง คือ
เครื่องคานวณ ในรูปของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถรับข้อมูล และคาสั่ง ผ่านอุปกรณ์รับข้อมูล แล้วนาข้อมูล
และคาสั่งนั้น ไปประมวลผลด้วยหน่วยประมวลผลเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ และแสดงผลผ่านอุปกรณ์แสดงผล
ตลอดจนสามารถบันทึกรายการต่างๆ ไว้เพื่อใช้งานได้ด้วยอุปกรณ์บันทึกข้อมูลสารอง คอมพิวเตอร์จึงสามารถ มี
รูปร่างอย่างไรก็ได้ ไม่จาเป็นต้องเป็นรูปร่างอย่างที่เราคุ้นเคย หรือพบเห็น ตัวอย่างเช่น เครื่องฝากถอนเงิน
อัตโนมัติ หรือ ATM ก็ถือว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง
      เหตุผลที่นาคอมพิวเตอร์มาใช้งาน
         สามารถบันทึกข้อมูลต่างๆ ได้รวดเร็ว เช่น การใช้เครื่องอ่านรหัสแท่ง (Bar-code) อ่าน
เวลาเข้า-ออก ของพนักงานและคิดราคาสินค้า ในห้างสรรพสินค้า
         2. สามารถเก็บข้อมูลจานวนมากๆ ไว้ในฐานข้อมูล (Database) เพื่อใช้งานได้ทันที
         3. สามารถนาข้อมูลที่เก็บไว้มาคานวณทางสถิติ แยกประเภท จัดกลุ่ม ทารายงานลักษณะ
ต่างๆ ได้ โดยระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing)
         4. สามารถส่งข้อมูลจากที่หนึ่ง ไปยังอีกที่หนึ่งได้อย่างรวดเร็ว โดยอาศัยเทคโนโลยีสื่อสารข้อมูล (Data
Communication)
         5. สามารถจัดทาเอกสารต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว ด้วยระบบประมวลผลคา (Word Processing) ซึ่งเป็น
ส่วนหนึ่งของระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automation)
         6. การนามาใช้งานทั้งด้านการศึกษา การวิจัย
         7. การใช้งานธุรกิจ งานการเงิน ธนาคาร และงานของภาครัฐต่างๆ เช่น การนาคอมพิวเตอร์มาใช้กับงาน
บัญชี งานบริหารสานักงาน งานเอกสาร งานการเงิน การจองตั๋วเครื่องบิน รถไฟ
         8. การควบคุมระบบอัตโนมัติต่างๆ เช่น ระบบจราจร, ระบบเปิด/ปิดน้าของเขื่อน
         9. การใช้เพื่องานวิเคราะห์ต่างๆ เช่น การวิเคราะห์สภาวะดินฟ้าอากาศ สภาพของดิน น้า เพื่อการเกษตร
         10. การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อจาลองรูปแบบ เช่น การจาลองในงานวิทยาศาสตร์ จาลองโมเลกุล จาลอง
รูปแบบการฝึกขับเครื่องบิน
         11. การใช้คอมพิวเตอร์นันทนาการ เช่นการเล่นเกม การดูหนัง ฟังเพลง
         12. การใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกับเทคโนโลยีล้าสมัยอื่นๆ เทคโนโลยีสื่อสารข้อมูล เกิดเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
เป็นต้น


     รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์)
                                  http://comkrutae.wordpress.com
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244


      หลักการทางานของคอมพิวเตอร์
          การทางานของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยหน่วยสาคัญ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล1 จะรับข้อมูลโดยผู้ใช้
เป็นผู้ป้อนคาสั่ง แล้วส่งไปยัง หน่วยประมวลผล2 ซึ่งทาหน้าที่ในการคิดคานวณ หรือประมวลผลข้อมูล โดยทาตาม
โปรแกรมที่เก็บไว้ในหน่วยความจาหลัก 3 หน่วยความจาหลักซึ่งเป็นหน่วยความจาที่หน่วยประมวลผลสามารถ
อ่านเขียนได้รวดเร็วมาก ข้อมูลจะถูกเก็บไว้ที่หน่วยความจาหลัก นี้เพื่อให้หน่วยประมวลผลนามาตีความและ
กระทาตามได้อย่างรวดเร็ว ส่วนหน่วยความจาสารองมีไว้สาหรับเก็บข้อมูลหรือโปรแกรมที่มีจานวนมาก และหาก
จะใช้งานก็มี การถ่ายจากหน่วยความจาสารองมายังหน่วยความจา แล้วนาข้อมูลที่เก็บไว้มาประมวลผล หน่วย
ส่งออกหน่วยแสดงผล 4 เป็นหน่วยที่นาข้อมูลที่ได้รับการประมวลมาแสดงผล
      ลักษณะและประเภทของงานคอมพิวเตอร์
          ประมาณปี พ.ศ. 2500 คอมพิวเตอร์มีอยู่ในโลกนี้ไม่มากนัก ส่วนใหญ่จะเป็นเครื่องในระบบเมนเฟรม ซึ่งมี
ขนาดใหญ่และราคาแพง ใช้กับงานทางด้านวิทยาศาสตร์เท่านั้น ซึ่งจะไม่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันมากนัก แต่ใน
ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้มีขนาดเล็กลง และราคาก็ไม่แพงนัก คนทั่วไปสามารถซื้อหามาใช้ได้เหมือนกับ
เครื่องใช้ไฟฟ้าโดยทั่วไป งานที่คอมพิวเตอร์ทาตัวอย่างเช่น
          งานที่ต้องจัดเก็บข้อมูลเป็นจานวนมาก เช่น เก็บข้อมูลงานทะเบียนราษฎร์ เป็นต้น
          งานที่ต้องอาศัยการประมวลผลที่รวดเร็ว มีความแม่นยาและถูกต้องที่สุด เช่นงานด้านวิทยาศาสตร์
          งานที่ไม่ต้องการหยุดพัก คือทางานได้ตลอดเวลา ในขณะที่ยังต้องมีไฟฟ้าอยู่
          งานที่คนไม่สามารถเข้าไปทาได้ เช่นในสภาพแวดล้อมที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพร่างกาย เช่น ที่มีก๊าซพิษ
              กัมมันตภาพรังสี หรือในงานที่มีความเสี่ยงสูงในโรงงานอุตสาหกรรม
      งานคอมพิวเตอร์กับงานการศึกษา
          ปัจจุบันตามสถานศึกษาต่างๆ ได้มีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเรียนการสอนอย่างมากมาย รวมทั้งใช้
คอมพิวเตอร์ในงานบริหารของโรงเรียน เช่น การจัดทาประวัตินักเรียน ประวัติครูอาจารย์ การคัดคะแนนสอบ การ
จัดทาตารางสอน ใช้คอมพิวเตอร์ ในงานห้องสมุด การจัดทาตารางสอน เป็นต้น ตัวอย่าง ในการประยุกต์ ด้าน
การศึกษา เช่น โปรแกรมฝ่ายทะเบียนวัดผลโปรแกรมตรวจข้อสอบเป็น




     รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์)
                                 http://comkrutae.wordpress.com
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244
                                              ใบความรู้ที่ 2.2
                                        เรื่อง ชนิดของซอฟต์แวร์

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง – แบ่งซอฟต์แวร์ชนิดต่างๆ ได้

     ชนิดของซอฟต์แวร์
         ในบรรดาซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีผู้พัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานกับคอมพิวเตอร์มีมากมาย
ซอฟต์แวร์เหล่านี้อาจได้รับ การพัฒนาโดยผู้ใช้งานเอง หรือผู้พัฒนาระบบ หรือผู้ผลิตจาหน่าย หากแบ่งแยกชนิด
ของซอฟต์แวร์ตามสภาพการทางานพอแบ่งแยก ซอฟต์แวร์ได้เป็นสองประเภท คือ ซอฟต์แวร์ระบบ (system
software) และ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software)
     ซอฟต์แวร์ระบบ คือซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบ หน้าที่
การทางานของซอฟต์แวร์ระบบคือดาเนินงาน พื้นฐานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแผงแป้น
อักขระแล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ นาข้อมูลไปแสดงผล บนจอภาพหรือนาออกไปยังเครื่องพิมพ์
จัดการข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูลบนหน่วยความจารองเมื่อเราเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ทันที่มีการจ่ายกระแสไฟฟ้า
ให้กับคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์ จะทางานตามโปรแกรมทันที โปรแกรมแรกที่สั่งคอมพิวเตอร์ทางานนี้ เป็น
ซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ระบบอาจเก็บไว้ในรอม หรือในแผ่นจานแม่เหล็ก หากไม่มีซอฟต์แวร์ระบบ
คอมพิวเตอร์จะทางานไม่ได้ ซอฟต์แวร์ระบบยังใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาซอฟต์แวร์อื่น ๆ และยังรวมไปถึง
ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาต่าง ๆ ซอฟต์แวร์ระบบที่นิยมแพร่หลาย ได้แก่ DOS, UNIX, WINDOWS, SUN,
OS/2, NET WARE เป็นต้น
     ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ ที่
สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง ปัจจุบันมีผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ใช้งานทางด้านต่าง ๆ ออกจาหน่ายมาก การ
ประยุกต์งานคอมพิวเตอร์ จึงกว้างขวางและแพร่หลาย เราอาจแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกเป็นสองกลุ่มคือ
ซอฟต์แวร์สาเร็จ และซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้งานเฉพาะ ซอฟต์แวร์สาเร็จในปัจจุบัน มีมากมาย เช่น ซอฟต์แวร์
ประมวลคา ซอฟต์แวร์ตารางทางาน ฯลฯ

    ซอฟต์แวร์ระบบ
        คอมพิวเตอร์ประกอบด้วย หน่วยรับเข้า หน่วยส่งออก หน่วยความจา และหน่วยประมวลผล ในการ
ทางานของคอมพิวเตอร์จาเป็นต้องมีการดาเนินงานกับอุปกรณ์พื้นฐานที่จาเป็น ดังนั้นจึงต้องมีซอฟต์แวร์ระบบเพื่อ
ใช้ในการจัดระบบ เพื่อใช้ในการจัดระบบ หน้าที่หลักของซอฟต์แวร์ระบบประกอบด้วย
        ใช้ในการจัดหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออก เช่น รับการกดแป้นต่าง ๆ บนแผงแป้นอักขระ ส่ง
             รหัสตัวอักษรออกทางจอภาพหรือ เครื่องพิมพ์ ติดต่อกับอุปกรณ์รับเข้า ละส่งออกอื่น ๆ เช่น เมาส์
             อุปกรณ์สังเคราะห์เสียง
        ใช้ในการจัดการหน่วยความจา เพื่อนาข้อมูลจากแผ่นบันทึกมาบรรจุยังหน่วยความจาหลัก หรือในทานอง
             กลับกัน คือนาข้อมูล จากหน่วยความจาหลักมาเก็บไว้ในแผ่นบันทึก

     รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์)
                                 http://comkrutae.wordpress.com
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244
         ใช้เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้งานกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น เช่น                การขอดู
              รายการสาระบบในแผ่นบันทึก การทาสาเนาแฟ้มข้อมูล
           ซอฟต์แวร์ระบบพื้นฐานที่เห็นกันทั่วไป แบ่งออกเป็นโปรแกรมระบบปฏิบัติการ ตัวแปลภาษา และ
โปรแกรมยูทิลิตี้ ซอฟต์แวร์ทั้งสามประเภทนี้ทาให้เกิดพัฒนาการประยุกต์ใช้งานได้ง่ายขึ้น
             1. ระบบปฏิบัติการ
                   ระบบปฏิบัติการ หรือที่เรียนย่อ ๆ ว่า โอเอส (Operating System : OS) เป็นซอฟต์แวร์ใช้ใน
การดูแลระบบคอมพิวเตอร์เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการนี้ ระบบปฏิบัติการที่
นิยมใช้กันมาก และเป็นที่รู้จักกันดีเช่น ดอส (Disk Operating System : DOS) วินโดวส์ (Windows) โอเอสทู
(OS/2) ยูนิกซ์ (UNIX)
                   1.1 ดอส เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบที่พัฒนามานานแล้วการใช้งานจึงใช้คาสั่งเป็นตัวอักษรดอสเป็น
ซอฟต์แวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์
                1.2 วินโดวส์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส เพื่อเน้นการใช้งานที่ง่ายขึ้น
สามารถทางานหลายงานพร้อมกันได้โดยงานแต่ละงานจะอยู่ในกรอบช่องหน้าต่างที่แสดงผล                               บนจอภาพ
การใช้งานเน้นรูปแบบกราฟิก ผู้ใช้งานสามารถ ใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้ตาแหน่งเพื่อเลือกตาแหน่งที่ปรากฏบนจอภาพ
ทาใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ง่าย วินโดวส์จึงได้รับความนิยมในปัจจุบัน
                1.3 โอเอสทู เป็นระบบปฏิบัติการแบบเดียวกับวินโดว์ แต่บริษัทผู้พัฒนาคือ บริษัท
ไอบีเอ็ม เป็นระบบปฏิบัติการที่ให้ผู้ใช้สามารถใช้ทางานได้หลายงานพร้อมกันและการใช้งานก็เป็นแบบกราฟิก
เช่นเดียวกับวินโดวส์
                1.4 ยูนิกซ์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์เป็นระบบปฏิบัติการที่สามารถ ใช้งานได้หลายงานพร้อมกัน และทางานได้ หลาย ๆ งาน ใน
เวลาเดียวกัน ยูนิกซ์จึงใช้ได้กับเครื่องที่เชื่อมโยงและต่อกับเครื่องปลายทางได้                  หลายเครื่องพร้อม
กัน
           ระบบปฏิบัติการยังมีอีกมาก โดยเฉพาะระบบปฏิบัติการที่ใช้ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์
ทางานร่ ว มกัน เป็ น ระบบ เช่น ระบบปฏิบั ติการเน็ตแวร์วินโดว์เอ็นที การเลือกใช้ระบบปฏิบัติการกับเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น งานพิมพ์เอกสาร งานคานวณ งานออกแบบ หรืองานทางด้านบัญชี และมีจานวนผู้ใช้กี่คน
จาเป็นต้องใช้ข้อมูลและโปรแกรมต่าง ๆ ร่วมกันหรือไม่ ผู้ใช้แต่ละคนอยู่ที่เดียวกันหรืออยู่คนละแห่ง ประสิทธิภาพ
ของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะตัวประมวลผล ขนาดความจุข องหน่วยความจา โปรแกรมประยุกต์ที่มีใช้อยู่เดิม
ใช้กับระบบปฏิบัติการชนิดไหน ต้นทุนในการจัดหาระบบปฏิบัติว่ามีมากน้อยเท่าไร และความสามารถในการ
ให้ บ ริ การหลั งการขายของผู้ จั ด จ าหน่ าย ซึ่ งแต่ ล ะปัจ จัยก็มี ผ ลต่ อการตัดสิ น ใจจั ดหาระบบปฏิบัติ การเพื่อให้
เหมาะสมกับองค์การและงบประมาณที่มี
             2. ตัวแปลภาษา
                   ในการพัฒนาซอฟต์แวร์จาเป็นต้องมีซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูง เพื่อ
แปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง ภาษาระดับสูงมีหลายภาษา ภาษาระดับสูงเหล่านี้สร้างขึ้นเพื่อให้ผู้เขียน
โปรแกรมเขียนชุดคาสั่งได้ง่าย เข้าใจได้ง่าย ตลอดจนถึงสามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟต์แวร์ในภายหลังได้ภาษา

      รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์)
                                     http://comkrutae.wordpress.com
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244
ระดับสูงที่พัฒนาขึ้นมาทุกภาษาจะต้องมีตัวแปลภาษาสาหรับแปลภาษา ภาษาระดับสูงซึ่งเป็นที่รู้จักและนิยมกัน
มากในปัจจุบันเช่น ภาษาปาสคาล ภาษาเบสิก ภาษซี และภาษาโลโก้
                1.1 ภาษาปาสคาล เป็นภาษาสั่งงานคอมพิวเตอร์ที่มีรูปแบบเป็นโครงสร้างเขียน
สั่งงานคอมพิวเตอร์เป็นกระบวนความ ผู้เขียนสามารถแบ่งแยกงานออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ แล้วมารวมกันเป็นโปรแกรม
ขนาดใหญ่ได้
                1.2 ภาษาเบสิก เป็นภาษาที่มีรูปแบบคาสั่งไม่ยุ่งยาก สามารถเรียนรู้และเข้าใจได้
ง่าย มีรูปแบบคาสั่งพื้นฐานที่สามารถนามาเขียนเรียงต่อกันเป็นโปรแกรมได้

                 1.3 ภาษาซี เป็นภาษาที่เหมาะสมใช้ในการพัฒนาซอฟต์แวร์อื่น ๆ ภาษาซีเป็น
ภาษาที่มีโครงสร้างคล่องตัวสาหรับการเขียนโปรแกรมหรือให้คอมพิวเตอร์ติดต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ
                 1.4 ภาษาโลโก้ เป็นภาษาที่เหมาะสาหรับการเรียนรู้และเข้าใจหลักการโปรแกรม
ภาษาโลโก้ได้รับการพัฒนาสาหรับเด็ก
        นอกจากภาษาที่กล่าวถึงแล้ว ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกมากมายหลายภาษา เช่น
ภาษาฟอร์แทรน ภาษาโคบอล ภาษาอาร์พีจี

            3. โปรแกรมยูทิลิตี้ ( Utility Software)
                  เป็นโปรแกรมที่ให้บริการต่าง ๆ เช่น การจัดเรียงข้อมูลตามหลักใดหลักหนึ่ง รวมแฟ้มข้อมูลที่
เรียงลาดับแล้วเข้าด้วยกัน หรือย้ายข้อมูลจากอุปกรณ์รับส่งอย่างหนึ่งไปยังอีกอุปกรณ์หนึ่ง ประกอบด้วยโปรแกรม
ต่าง ๆ ได้แก่ Editor, Debugging, Copy

    ซอฟต์แวร์ประยุกต์
         การที่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะการที่มีคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ทา
ให้มีการใช้งาน คล่องตัวขึ้น จนในปัจจุบันสามารถนาคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ติดตัวไปใช้งานในที่ต่าง ๆ ได้สะดวก
การใช้งานคอมพิวเตอร์ ์ต้องมีซอฟต์แวร์ประยุกต์ ซึ่งอาจเป็นซอฟต์แวร์สาเร็จที่มีผู้พัฒนาเพื่อใช้งานทั่วไปทาให้
ทางานได้สะดวกขึ้น หรืออาจเป็นซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะซึ่งผู้ใช้เป็นผู้พัฒนาขึ้นเองเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพการ
ทางานของตน
             1. ซอฟต์แวร์สาเร็จ
                    ในบรรดาซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่มีใช้กันทั่วไป ซอฟต์แวร์สาเร็จ ( Package ) เป็นซอฟต์แวร์ที่มี
ความนิยมใช้กันสูงมาก ซอฟต์แวร์สาเร็จเป็นซอฟต์แวร์ที่บริษัทพัฒนาขึ้นแล้วนาออกมาจาหน่าย เพื่อให้ผู้ใช้งานซื้อ
ไปใช้ได้โดยตรงไม่ต้องเสียเวลาในการพัฒนาซอฟต์แวร์อีก ซอฟต์แวร์สาเร็จที่มีจาหน่ายในท้องตลาดทั่วไป และเป็น
ที่นิยมของผู้ใช้มี 5 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ ซอฟต์แวร์ประมวลคา ( word processing software ) ซอฟต์แวร์ตาราง
ทางาน ( spread sheet software ) ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล ( data base management software )
ซอฟต์แวร์นาเสนอ ( presentation software ) และซอฟต์แวร์สื่อสารข้อมูล ( data communication
software )

     รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์)
                                  http://comkrutae.wordpress.com
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244


                  1.1 ซอฟต์แวร์ประมวลคา เป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์ใช้สาหรับการพิมพ์เอกสาร
สามารถแก้ไข เพิ่ม แทรก ลบ และจัดรูปแบบเอกสารได้อย่างดี เอกสารที่พิมพ์ไว้จัดเป็นแฟ้มข้อมูล เรียกมาพิมพ์
หรือแก้ไขใหม่ได้ การพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ก็มีรูปแบบตัวอักษรให้เลือกหลายรูปแบบ เอกสารจึงดูเรียบร้อย
สวยงาม ปัจจุบันมีการเพิ่มขีดความสามารถของซอฟต์แวร์ประมวลคาอีกมากมาย ซอฟต์แวร์ประมวลคาที่นิยมอยู่
ในปัจจุบัน เช่น เวิร์ด จุฬาจารึก โลตัสเอมิโปร
                  1.2 ซอฟต์แวร์ตารางทางาน เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการคิดคานวณ การทางานของซอฟต์แวร์
ตารางทางาน ใช้หลักการเสมือนมีโต๊ะทางานที่มีกระดาษขนาดใหญ่วางไว้ มีเครื่องมือคล้ายปากกา ยางลบ และ
เครื่องคานวณเตรียมไว้ให้เสร็จ บนกระดาษมีช่องให้ใส่ตัวเลข ข้อความ หรือสูตร สามารถสั่งให้คานวณตามสูตร
หรือเงื่อนไขที่กาหนดผู้ใช้ซอฟต์แวร์ตารางทางานสามารถประยุกต์ ใช้งานประมวลผลตัวเลขอื่น ๆ ได้กว้างขวาง
ซอฟต์แวร์ตารางทางานที่นิยมใช้ เช่น              เอกเซล โลตัส
                  1.3 ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล การใช้งานคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่งคือการใช้เก็บข้อมูล และ
จัดการกับข้อมูลที่จัดเก็บในคอมพิวเตอร์ จึงจาเป็นต้องมีซอฟต์แวร์จัดการข้อมูล การรวบรวมข้อมูลหลาย ๆ เรื่องที่
เกี่ยวข้องกันไว้ในคอมพิวเตอร์ เราก็เรียกว่าฐานข้อมูล ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูลจึงหมายถึง ซอฟต์แวร์ที่ช่วยใน
การเก็บ การเรียกค้นมาใช้งาน การทารายงาน                การสรุปผลจากข้อมูล ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูลทีนิยม
ใช้ เช่น เอกเซล ดีเบส พาราด็อก ฟ๊อกเบส
                  1.4 ซอฟต์แวร์นาเสนอ เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้สาหรับนาเสนอข้อมูล การแสดงผลต้องสามารถดึงดูด
ความสนใจ ซอฟต์แวร์เหล่านี้จึงเป็นซอฟต์แวร์ที่นอกจากสามารถแสดงข้อความในลักษณะที่จะสื่อความหมายได้
ง่ายแล้วจะต้องสร้างแผนภูมิ กราฟ และรูปภาพได้ ตัวอย่างของซอฟต์แวร์นาเสนอ เช่น เพาเวอร์พอยต์โลตัสฟรี
แลนซ์ ฮาร์วาร์ดกราฟิก
                  1.5 ซอฟต์แวร์สื่อสารข้อมูล ซอฟต์แวร์สื่อสารข้อมูลนี้หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่จะช่วยให้
ไมโครคอมพิวเตอร์ ติดต่อสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นในที่ห่างไกลโดยผ่านทางสายโทรศัพท์ ซอฟต์แวร์
สื่อสารใช้เชื่อมโยงต่อเข้ากับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น อินเทอร์เน็ต ทาให้สามารถใช้บริการอื่น ๆ เพิ่มเติม
ได้ สามารถใช้รับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ใช้โอนย้ายแฟ้มข้อมูล ใช้แลกเปลี่ยนข้อมูล อ่านข่าวสาร นอกจากนี้ยัง
ใช้ในการเชื่อมเข้าหามินิคอมพิวเตอร์หรือเมนเฟรม เพื่อเรียกใช้งานจากเครื่องเหล่านั้นได้ ซอฟต์แวร์สื่อสารข้อมูล
ที่นิยมมีมากมายหลายซอฟต์แวร์ เช่น โปรคอม ครอสทอล์คเทลิก

            2. ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ
                  การประยุกต์ใช้งานด้วยซอฟต์แวร์สาเร็จมักจะเน้นการใช้งานทั่วไป แต่อาจจะ
นามาประยุกต์โดยตรงกับงานทางธุรกิจบางอย่างไม่ได้ เช่น ในกิจการธนาคาร มีการฝากถอนเงิน งานทางด้านบัญชี
หรือในห้างสรรพสินค้าก็มีงานการขายสินค้า การออกใบเสร็จรับเงิน การควบคุมสินค้าคงคลัง ดังนั้นจึงต้องมีการ
พัฒนาซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะสาหรับงานแต่ละประเภทให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้แต่ละราย ซอฟต์แวร์ใช้
งานเฉพาะมักเป็นซอฟต์แวร์ที่ผู้พัฒนาต้องเข้าไปศึกษารูปแบบการทางานหรือความต้องการของธุรกิจนั้น ๆ แล้ว
จัดทาขึ้น โดยทั่วไปจะเป็นซอฟต์แวร์ที่มีหลายส่วนรวมกันเพื่อร่วมกันทางาน ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะที่ใช้กันในทาง

     รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์)
                                  http://comkrutae.wordpress.com
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244
ธุรกิจ เช่น ระบบงานทางด้านบัญชี ระบบงานจัดจาหน่าย ระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรมบริหารการเงิน และ
การเช่าซื้อ ความต้องการของการใช้คอมพิวเตอร์ในงานทางธุรกิจยังมีอีกมาก ดังนั้นจึงยังมีความต้องการผู้พัฒนา
ซอฟต์แวร์ เพื่อพัฒนาซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะต่าง ๆ อีกมากมาย

           สรุปได้ว่า ซอฟต์แวร์ เป็นองค์ประกอบที่สาคัญและจาเป็นมากในการควบคุมการทางานของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
      ซอฟต์แวร์ระบบ มีหน้าที่ควบคุมอุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในระบบคอมพิวเตอร์ และเป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับ
คอมพิวเตอร์หรือฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ระบบสามารถแบ่งเป็น 3 ชนิดใหญ่ คือ
            1. โปรแกรมระบบปฏิบัติการ ใช้ควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์พ่วงต่อกับเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ตัวอย่างโปรแกรมที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน เช่น UNIX, DOS, Microsoft Windows
            2. โปรแกรมอรรถประโยชน์หรือยูทิลิตี้ ใช้ช่วยอานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในระหว่าง
การประมวลผลข้อมูล หรือในระหว่างที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างโปรแกรมที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน เช่น
โปรแกรมเอดิเตอร์ ( Editor)
            3. โปรแกรมแปลภาษา ใช้ในการแปลความหมายของคาสั่งที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ให้อยู่ในรูปแบบที่
เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจและทางานตามที่ผู้ใช้ต้องการ
      ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เป็นโปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อทางานเฉพาะด้านตามความต้องการ ซึ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์นี้
สามารถแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
            1. ซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่องานทั่วไปและประยุกต์ใช้งานอื่น เป็นซอฟต์แวร์สาเร็จรูปสร้างขึ้นเพื่อใช้งาน
ทั่วไปไม่เจาะจงประเภทของธุรกิจ ตัวอย่าง เช่น Word Processing , Spreadsheet, Database Management
Hypertext, Personal Information Management และซอฟต์แวร์เกมต่าง ๆ เป็นต้น
           2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงาน เป็นซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ในธุรกิจเฉพาะ ตามแต่วัตถุประสงค์
ของการนาไปใช้




     รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์)
                                   http://comkrutae.wordpress.com
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244
                                             ใบความรู้ที่ 2.3
                                       เรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง - เขียนรายละเอียดของภาษาคอมพิวเตอร์ได้
         ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่โปรแกรมเมอร์เขียนเพื่อใช้สั่งงานตามรูปแบบและ
โครงสร้างของภาษาซึ่งแบ่งได้ 3 ระดับดังนี้คือ
         1. ภาษาระดับต่า (Low Level Language) เป็นภาษาที่มนุษย์ทาความเข้าใจได้ยาก
ส่วนใหญ่ต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ และฮาร์ดแวร์เป็นอย่างดีจึงจะสามารถเขียน
โปรแกรมสั่งงานได้มีข้อดีในส่วนที่เขียนโปรแกรมควบคุมฮาร์ดแวร์แต่ละส่วนได้โดยตรงจึงทางานได้เร็ว แต่ไม่
เหมาะที่จะใช้ในการพัฒนาโปรแกรม ตัวอย่างของภาษาระดับต่าได้แก่ ภาษาเครื่อง (Machine Language) และ
ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) เป็นต้น
         2. ภาษาระดับกลาง (Medium Level Language) เป็นภาษาที่ทาความเข้าใจได้ไม่ยากนัก
เพราะมีลักษณะ เป็นภาษาแบบโครงสร้าง ทาความเข้าใจได้เหมือนกับภาษาระดับสูงแต่ทางานได้รวดเร็ว
เหมือนกับภาษาระดับต่า สามารถใช้บนเครื่องที่มีความเร็วต่างกันโดยไม่ต้องดัดแปลง ภาษาระดับกลางจึงเป็นที่
นิยมใช้กันแพร่หลาย ตัวอย่างของภาษาระดับกลาง ได้แก่ ภาษาซี เป็นต้น
         3. ภาษาระดับสูง (High Level Language) เป็นภาษาที่ทาความเข้าใจได้ง่าย มีลักษณะของ
การใช้คาสั่งเป็นภาษาอังกฤษซึ่งใกล้เคียงกับภาษามนุษย์มากการสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานจะต้องมีการแปล
ความหมายของคาสั่งโดยใช้ตัวแปลภาษาทีละชุดคาสั่งที่เรียกว่า Interpreter หรือแปลครั้งเดียวทั้งโปรแกรมที่
เรียกว่า Compiler




     รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์)
                                http://comkrutae.wordpress.com

Contenu connexe

Tendances

โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .jamiezaa123
 
โครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการโครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการThanapon Seadthaisong
 
ป๊อก 5555
ป๊อก 5555 ป๊อก 5555
ป๊อก 5555 aonaon080
 
ความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือThitinun Phoawleeklee
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นkvcthidarat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์princess Thirteenpai
 
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”Mymi Santikunnukan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ysmhcnboice
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์princess Thirteenpai
 
ใบความรู้1โครงงานคอมพิวเตอร์แก้ไข
ใบความรู้1โครงงานคอมพิวเตอร์แก้ไขใบความรู้1โครงงานคอมพิวเตอร์แก้ไข
ใบความรู้1โครงงานคอมพิวเตอร์แก้ไขPak Ubss
 
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5miiztake
 
New งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointNew งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointnoeiinoii
 
New งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointNew งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointnoeiinoii
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาFiction Lee'jslism
 
โครงงาน วิธีการลง วินโดว 7
โครงงาน    วิธีการลง วินโดว 7โครงงาน    วิธีการลง วินโดว 7
โครงงาน วิธีการลง วินโดว 7mansupotyrc
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานpam123145
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์kitkatbody18
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์Zee Eclipsez
 

Tendances (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
 
โครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการโครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการ
 
ป๊อก 5555
ป๊อก 5555 ป๊อก 5555
ป๊อก 5555
 
ความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
อะไรก็ได้
อะไรก็ได้อะไรก็ได้
อะไรก็ได้
 
ใบความรู้1โครงงานคอมพิวเตอร์แก้ไข
ใบความรู้1โครงงานคอมพิวเตอร์แก้ไขใบความรู้1โครงงานคอมพิวเตอร์แก้ไข
ใบความรู้1โครงงานคอมพิวเตอร์แก้ไข
 
ใบความรู้ที่ 3.2
ใบความรู้ที่ 3.2ใบความรู้ที่ 3.2
ใบความรู้ที่ 3.2
 
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
 
New งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointNew งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power point
 
New งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointNew งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power point
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
โครงงาน วิธีการลง วินโดว 7
โครงงาน    วิธีการลง วินโดว 7โครงงาน    วิธีการลง วินโดว 7
โครงงาน วิธีการลง วินโดว 7
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
 

En vedette

เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3mathawee wattana
 
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1mathawee wattana
 
หนังสือเล่มเล็กทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์
หนังสือเล่มเล็กทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์หนังสือเล่มเล็กทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์
หนังสือเล่มเล็กทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์Chaiyot Jarates
 
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2mathawee wattana
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเทวัญ ภูพานทอง
 

En vedette (8)

ฟังก์ชั่น If ทางเลือกเดียว
ฟังก์ชั่น If ทางเลือกเดียวฟังก์ชั่น If ทางเลือกเดียว
ฟังก์ชั่น If ทางเลือกเดียว
 
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3
 
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1
 
หนังสือเล่มเล็กทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์
หนังสือเล่มเล็กทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์หนังสือเล่มเล็กทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์
หนังสือเล่มเล็กทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์
 
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2
 
การสืบค้นข้อมูลชั้นสูง
การสืบค้นข้อมูลชั้นสูงการสืบค้นข้อมูลชั้นสูง
การสืบค้นข้อมูลชั้นสูง
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจแผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
 

Similaire à ความสำคัญของคอมพิวเตอร์

บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์Pokypoky Leonardo
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5wipawanmmiiww
 
โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์jamiezaa123
 
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นwiratchadaporn
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการRawiwan Kashornchan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน kanoksuk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์katlove2541
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkarakas55
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkarakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkarakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkarakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkarakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkarakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkarakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkarakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkarakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการBuslike Year
 
ซอพต์แวร์(Software)
ซอพต์แวร์(Software)ซอพต์แวร์(Software)
ซอพต์แวร์(Software)Sirinat Sawengthong
 

Similaire à ความสำคัญของคอมพิวเตอร์ (20)

บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5
 
โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์
 
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
ซอพต์แวร์(Software)
ซอพต์แวร์(Software)ซอพต์แวร์(Software)
ซอพต์แวร์(Software)
 

Plus de เทวัญ ภูพานทอง

การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพการสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพเทวัญ ภูพานทอง
 
การสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความ
การสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความการสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความ
การสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความเทวัญ ภูพานทอง
 
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559เทวัญ ภูพานทอง
 
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558เทวัญ ภูพานทอง
 
ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557
ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557
ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557เทวัญ ภูพานทอง
 
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงานใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงานเทวัญ ภูพานทอง
 
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557เทวัญ ภูพานทอง
 
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีแบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีเทวัญ ภูพานทอง
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556เทวัญ ภูพานทอง
 
รายการเอกสารประกอบการพิจารณา OBEC AWARDS ปี 2556
รายการเอกสารประกอบการพิจารณา OBEC AWARDS ปี 2556รายการเอกสารประกอบการพิจารณา OBEC AWARDS ปี 2556
รายการเอกสารประกอบการพิจารณา OBEC AWARDS ปี 2556เทวัญ ภูพานทอง
 

Plus de เทวัญ ภูพานทอง (20)

คู่มือการใช้งาน Kahoot
คู่มือการใช้งาน Kahootคู่มือการใช้งาน Kahoot
คู่มือการใช้งาน Kahoot
 
คู่มือการใช้งาน Kahoot
คู่มือการใช้งาน Kahootคู่มือการใช้งาน Kahoot
คู่มือการใช้งาน Kahoot
 
คู่มือการใช้งาน Plicker
คู่มือการใช้งาน Plickerคู่มือการใช้งาน Plicker
คู่มือการใช้งาน Plicker
 
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพการสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
 
การสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความ
การสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความการสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความ
การสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความ
 
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูลกลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
 
เครื่องมือค้นหา (Search engine)
เครื่องมือค้นหา (Search engine)เครื่องมือค้นหา (Search engine)
เครื่องมือค้นหา (Search engine)
 
ประเภทของ Search engine
ประเภทของ Search engineประเภทของ Search engine
ประเภทของ Search engine
 
เครื่องมือในการค้นหา
เครื่องมือในการค้นหาเครื่องมือในการค้นหา
เครื่องมือในการค้นหา
 
ประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้นประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้น
 
การค้นหาเว็บด้วย Internet Expolorer
การค้นหาเว็บด้วย Internet Expolorerการค้นหาเว็บด้วย Internet Expolorer
การค้นหาเว็บด้วย Internet Expolorer
 
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559
 
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558
 
ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557
ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557
ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557
 
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงานใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
 
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
 
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
 
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีแบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
 
รายการเอกสารประกอบการพิจารณา OBEC AWARDS ปี 2556
รายการเอกสารประกอบการพิจารณา OBEC AWARDS ปี 2556รายการเอกสารประกอบการพิจารณา OBEC AWARDS ปี 2556
รายการเอกสารประกอบการพิจารณา OBEC AWARDS ปี 2556
 

ความสำคัญของคอมพิวเตอร์

  • 1. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244 ใบความรู้ที่ 2.1 เรื่อง ความสาคัญของคอมพิวเตอร์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง - อธิบายความสาคัญของคอมพิวเตอร์ได้ คอมพิวเตอร์คืออะไร ปัจจุบันจะพบว่าคอมพิวเตอร์มีหลากหลายลักษณะ หลากหลายรูปแบบ ทั้งคอมพิวเตอร์ขนาดพกพา คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์แบบกระเป๋าหิ้ว คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น คอมพิวเตอร์เมนเฟรม หรือ ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ แต่ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใดก็ตาม คอมพิวเตอร์ก็มีความหมายที่ชัดเจนในตัวของมันเอง คือ เครื่องคานวณ ในรูปของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถรับข้อมูล และคาสั่ง ผ่านอุปกรณ์รับข้อมูล แล้วนาข้อมูล และคาสั่งนั้น ไปประมวลผลด้วยหน่วยประมวลผลเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ และแสดงผลผ่านอุปกรณ์แสดงผล ตลอดจนสามารถบันทึกรายการต่างๆ ไว้เพื่อใช้งานได้ด้วยอุปกรณ์บันทึกข้อมูลสารอง คอมพิวเตอร์จึงสามารถ มี รูปร่างอย่างไรก็ได้ ไม่จาเป็นต้องเป็นรูปร่างอย่างที่เราคุ้นเคย หรือพบเห็น ตัวอย่างเช่น เครื่องฝากถอนเงิน อัตโนมัติ หรือ ATM ก็ถือว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง เหตุผลที่นาคอมพิวเตอร์มาใช้งาน สามารถบันทึกข้อมูลต่างๆ ได้รวดเร็ว เช่น การใช้เครื่องอ่านรหัสแท่ง (Bar-code) อ่าน เวลาเข้า-ออก ของพนักงานและคิดราคาสินค้า ในห้างสรรพสินค้า 2. สามารถเก็บข้อมูลจานวนมากๆ ไว้ในฐานข้อมูล (Database) เพื่อใช้งานได้ทันที 3. สามารถนาข้อมูลที่เก็บไว้มาคานวณทางสถิติ แยกประเภท จัดกลุ่ม ทารายงานลักษณะ ต่างๆ ได้ โดยระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing) 4. สามารถส่งข้อมูลจากที่หนึ่ง ไปยังอีกที่หนึ่งได้อย่างรวดเร็ว โดยอาศัยเทคโนโลยีสื่อสารข้อมูล (Data Communication) 5. สามารถจัดทาเอกสารต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว ด้วยระบบประมวลผลคา (Word Processing) ซึ่งเป็น ส่วนหนึ่งของระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automation) 6. การนามาใช้งานทั้งด้านการศึกษา การวิจัย 7. การใช้งานธุรกิจ งานการเงิน ธนาคาร และงานของภาครัฐต่างๆ เช่น การนาคอมพิวเตอร์มาใช้กับงาน บัญชี งานบริหารสานักงาน งานเอกสาร งานการเงิน การจองตั๋วเครื่องบิน รถไฟ 8. การควบคุมระบบอัตโนมัติต่างๆ เช่น ระบบจราจร, ระบบเปิด/ปิดน้าของเขื่อน 9. การใช้เพื่องานวิเคราะห์ต่างๆ เช่น การวิเคราะห์สภาวะดินฟ้าอากาศ สภาพของดิน น้า เพื่อการเกษตร 10. การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อจาลองรูปแบบ เช่น การจาลองในงานวิทยาศาสตร์ จาลองโมเลกุล จาลอง รูปแบบการฝึกขับเครื่องบิน 11. การใช้คอมพิวเตอร์นันทนาการ เช่นการเล่นเกม การดูหนัง ฟังเพลง 12. การใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกับเทคโนโลยีล้าสมัยอื่นๆ เทคโนโลยีสื่อสารข้อมูล เกิดเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นต้น รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์) http://comkrutae.wordpress.com
  • 2. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244 หลักการทางานของคอมพิวเตอร์ การทางานของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยหน่วยสาคัญ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล1 จะรับข้อมูลโดยผู้ใช้ เป็นผู้ป้อนคาสั่ง แล้วส่งไปยัง หน่วยประมวลผล2 ซึ่งทาหน้าที่ในการคิดคานวณ หรือประมวลผลข้อมูล โดยทาตาม โปรแกรมที่เก็บไว้ในหน่วยความจาหลัก 3 หน่วยความจาหลักซึ่งเป็นหน่วยความจาที่หน่วยประมวลผลสามารถ อ่านเขียนได้รวดเร็วมาก ข้อมูลจะถูกเก็บไว้ที่หน่วยความจาหลัก นี้เพื่อให้หน่วยประมวลผลนามาตีความและ กระทาตามได้อย่างรวดเร็ว ส่วนหน่วยความจาสารองมีไว้สาหรับเก็บข้อมูลหรือโปรแกรมที่มีจานวนมาก และหาก จะใช้งานก็มี การถ่ายจากหน่วยความจาสารองมายังหน่วยความจา แล้วนาข้อมูลที่เก็บไว้มาประมวลผล หน่วย ส่งออกหน่วยแสดงผล 4 เป็นหน่วยที่นาข้อมูลที่ได้รับการประมวลมาแสดงผล ลักษณะและประเภทของงานคอมพิวเตอร์ ประมาณปี พ.ศ. 2500 คอมพิวเตอร์มีอยู่ในโลกนี้ไม่มากนัก ส่วนใหญ่จะเป็นเครื่องในระบบเมนเฟรม ซึ่งมี ขนาดใหญ่และราคาแพง ใช้กับงานทางด้านวิทยาศาสตร์เท่านั้น ซึ่งจะไม่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันมากนัก แต่ใน ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้มีขนาดเล็กลง และราคาก็ไม่แพงนัก คนทั่วไปสามารถซื้อหามาใช้ได้เหมือนกับ เครื่องใช้ไฟฟ้าโดยทั่วไป งานที่คอมพิวเตอร์ทาตัวอย่างเช่น งานที่ต้องจัดเก็บข้อมูลเป็นจานวนมาก เช่น เก็บข้อมูลงานทะเบียนราษฎร์ เป็นต้น งานที่ต้องอาศัยการประมวลผลที่รวดเร็ว มีความแม่นยาและถูกต้องที่สุด เช่นงานด้านวิทยาศาสตร์ งานที่ไม่ต้องการหยุดพัก คือทางานได้ตลอดเวลา ในขณะที่ยังต้องมีไฟฟ้าอยู่ งานที่คนไม่สามารถเข้าไปทาได้ เช่นในสภาพแวดล้อมที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพร่างกาย เช่น ที่มีก๊าซพิษ กัมมันตภาพรังสี หรือในงานที่มีความเสี่ยงสูงในโรงงานอุตสาหกรรม งานคอมพิวเตอร์กับงานการศึกษา ปัจจุบันตามสถานศึกษาต่างๆ ได้มีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเรียนการสอนอย่างมากมาย รวมทั้งใช้ คอมพิวเตอร์ในงานบริหารของโรงเรียน เช่น การจัดทาประวัตินักเรียน ประวัติครูอาจารย์ การคัดคะแนนสอบ การ จัดทาตารางสอน ใช้คอมพิวเตอร์ ในงานห้องสมุด การจัดทาตารางสอน เป็นต้น ตัวอย่าง ในการประยุกต์ ด้าน การศึกษา เช่น โปรแกรมฝ่ายทะเบียนวัดผลโปรแกรมตรวจข้อสอบเป็น รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์) http://comkrutae.wordpress.com
  • 3. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244 ใบความรู้ที่ 2.2 เรื่อง ชนิดของซอฟต์แวร์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง – แบ่งซอฟต์แวร์ชนิดต่างๆ ได้ ชนิดของซอฟต์แวร์ ในบรรดาซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีผู้พัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานกับคอมพิวเตอร์มีมากมาย ซอฟต์แวร์เหล่านี้อาจได้รับ การพัฒนาโดยผู้ใช้งานเอง หรือผู้พัฒนาระบบ หรือผู้ผลิตจาหน่าย หากแบ่งแยกชนิด ของซอฟต์แวร์ตามสภาพการทางานพอแบ่งแยก ซอฟต์แวร์ได้เป็นสองประเภท คือ ซอฟต์แวร์ระบบ (system software) และ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software) ซอฟต์แวร์ระบบ คือซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบ หน้าที่ การทางานของซอฟต์แวร์ระบบคือดาเนินงาน พื้นฐานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแผงแป้น อักขระแล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ นาข้อมูลไปแสดงผล บนจอภาพหรือนาออกไปยังเครื่องพิมพ์ จัดการข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูลบนหน่วยความจารองเมื่อเราเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ทันที่มีการจ่ายกระแสไฟฟ้า ให้กับคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์ จะทางานตามโปรแกรมทันที โปรแกรมแรกที่สั่งคอมพิวเตอร์ทางานนี้ เป็น ซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ระบบอาจเก็บไว้ในรอม หรือในแผ่นจานแม่เหล็ก หากไม่มีซอฟต์แวร์ระบบ คอมพิวเตอร์จะทางานไม่ได้ ซอฟต์แวร์ระบบยังใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาซอฟต์แวร์อื่น ๆ และยังรวมไปถึง ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาต่าง ๆ ซอฟต์แวร์ระบบที่นิยมแพร่หลาย ได้แก่ DOS, UNIX, WINDOWS, SUN, OS/2, NET WARE เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ ที่ สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง ปัจจุบันมีผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ใช้งานทางด้านต่าง ๆ ออกจาหน่ายมาก การ ประยุกต์งานคอมพิวเตอร์ จึงกว้างขวางและแพร่หลาย เราอาจแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกเป็นสองกลุ่มคือ ซอฟต์แวร์สาเร็จ และซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้งานเฉพาะ ซอฟต์แวร์สาเร็จในปัจจุบัน มีมากมาย เช่น ซอฟต์แวร์ ประมวลคา ซอฟต์แวร์ตารางทางาน ฯลฯ ซอฟต์แวร์ระบบ คอมพิวเตอร์ประกอบด้วย หน่วยรับเข้า หน่วยส่งออก หน่วยความจา และหน่วยประมวลผล ในการ ทางานของคอมพิวเตอร์จาเป็นต้องมีการดาเนินงานกับอุปกรณ์พื้นฐานที่จาเป็น ดังนั้นจึงต้องมีซอฟต์แวร์ระบบเพื่อ ใช้ในการจัดระบบ เพื่อใช้ในการจัดระบบ หน้าที่หลักของซอฟต์แวร์ระบบประกอบด้วย ใช้ในการจัดหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออก เช่น รับการกดแป้นต่าง ๆ บนแผงแป้นอักขระ ส่ง รหัสตัวอักษรออกทางจอภาพหรือ เครื่องพิมพ์ ติดต่อกับอุปกรณ์รับเข้า ละส่งออกอื่น ๆ เช่น เมาส์ อุปกรณ์สังเคราะห์เสียง ใช้ในการจัดการหน่วยความจา เพื่อนาข้อมูลจากแผ่นบันทึกมาบรรจุยังหน่วยความจาหลัก หรือในทานอง กลับกัน คือนาข้อมูล จากหน่วยความจาหลักมาเก็บไว้ในแผ่นบันทึก รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์) http://comkrutae.wordpress.com
  • 4. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244 ใช้เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้งานกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น เช่น การขอดู รายการสาระบบในแผ่นบันทึก การทาสาเนาแฟ้มข้อมูล ซอฟต์แวร์ระบบพื้นฐานที่เห็นกันทั่วไป แบ่งออกเป็นโปรแกรมระบบปฏิบัติการ ตัวแปลภาษา และ โปรแกรมยูทิลิตี้ ซอฟต์แวร์ทั้งสามประเภทนี้ทาให้เกิดพัฒนาการประยุกต์ใช้งานได้ง่ายขึ้น 1. ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการ หรือที่เรียนย่อ ๆ ว่า โอเอส (Operating System : OS) เป็นซอฟต์แวร์ใช้ใน การดูแลระบบคอมพิวเตอร์เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการนี้ ระบบปฏิบัติการที่ นิยมใช้กันมาก และเป็นที่รู้จักกันดีเช่น ดอส (Disk Operating System : DOS) วินโดวส์ (Windows) โอเอสทู (OS/2) ยูนิกซ์ (UNIX) 1.1 ดอส เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบที่พัฒนามานานแล้วการใช้งานจึงใช้คาสั่งเป็นตัวอักษรดอสเป็น ซอฟต์แวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ 1.2 วินโดวส์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส เพื่อเน้นการใช้งานที่ง่ายขึ้น สามารถทางานหลายงานพร้อมกันได้โดยงานแต่ละงานจะอยู่ในกรอบช่องหน้าต่างที่แสดงผล บนจอภาพ การใช้งานเน้นรูปแบบกราฟิก ผู้ใช้งานสามารถ ใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้ตาแหน่งเพื่อเลือกตาแหน่งที่ปรากฏบนจอภาพ ทาใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ง่าย วินโดวส์จึงได้รับความนิยมในปัจจุบัน 1.3 โอเอสทู เป็นระบบปฏิบัติการแบบเดียวกับวินโดว์ แต่บริษัทผู้พัฒนาคือ บริษัท ไอบีเอ็ม เป็นระบบปฏิบัติการที่ให้ผู้ใช้สามารถใช้ทางานได้หลายงานพร้อมกันและการใช้งานก็เป็นแบบกราฟิก เช่นเดียวกับวินโดวส์ 1.4 ยูนิกซ์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์เป็นระบบปฏิบัติการที่สามารถ ใช้งานได้หลายงานพร้อมกัน และทางานได้ หลาย ๆ งาน ใน เวลาเดียวกัน ยูนิกซ์จึงใช้ได้กับเครื่องที่เชื่อมโยงและต่อกับเครื่องปลายทางได้ หลายเครื่องพร้อม กัน ระบบปฏิบัติการยังมีอีกมาก โดยเฉพาะระบบปฏิบัติการที่ใช้ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ ทางานร่ ว มกัน เป็ น ระบบ เช่น ระบบปฏิบั ติการเน็ตแวร์วินโดว์เอ็นที การเลือกใช้ระบบปฏิบัติการกับเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น งานพิมพ์เอกสาร งานคานวณ งานออกแบบ หรืองานทางด้านบัญชี และมีจานวนผู้ใช้กี่คน จาเป็นต้องใช้ข้อมูลและโปรแกรมต่าง ๆ ร่วมกันหรือไม่ ผู้ใช้แต่ละคนอยู่ที่เดียวกันหรืออยู่คนละแห่ง ประสิทธิภาพ ของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะตัวประมวลผล ขนาดความจุข องหน่วยความจา โปรแกรมประยุกต์ที่มีใช้อยู่เดิม ใช้กับระบบปฏิบัติการชนิดไหน ต้นทุนในการจัดหาระบบปฏิบัติว่ามีมากน้อยเท่าไร และความสามารถในการ ให้ บ ริ การหลั งการขายของผู้ จั ด จ าหน่ าย ซึ่ งแต่ ล ะปัจ จัยก็มี ผ ลต่ อการตัดสิ น ใจจั ดหาระบบปฏิบัติ การเพื่อให้ เหมาะสมกับองค์การและงบประมาณที่มี 2. ตัวแปลภาษา ในการพัฒนาซอฟต์แวร์จาเป็นต้องมีซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูง เพื่อ แปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง ภาษาระดับสูงมีหลายภาษา ภาษาระดับสูงเหล่านี้สร้างขึ้นเพื่อให้ผู้เขียน โปรแกรมเขียนชุดคาสั่งได้ง่าย เข้าใจได้ง่าย ตลอดจนถึงสามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟต์แวร์ในภายหลังได้ภาษา รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์) http://comkrutae.wordpress.com
  • 5. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244 ระดับสูงที่พัฒนาขึ้นมาทุกภาษาจะต้องมีตัวแปลภาษาสาหรับแปลภาษา ภาษาระดับสูงซึ่งเป็นที่รู้จักและนิยมกัน มากในปัจจุบันเช่น ภาษาปาสคาล ภาษาเบสิก ภาษซี และภาษาโลโก้ 1.1 ภาษาปาสคาล เป็นภาษาสั่งงานคอมพิวเตอร์ที่มีรูปแบบเป็นโครงสร้างเขียน สั่งงานคอมพิวเตอร์เป็นกระบวนความ ผู้เขียนสามารถแบ่งแยกงานออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ แล้วมารวมกันเป็นโปรแกรม ขนาดใหญ่ได้ 1.2 ภาษาเบสิก เป็นภาษาที่มีรูปแบบคาสั่งไม่ยุ่งยาก สามารถเรียนรู้และเข้าใจได้ ง่าย มีรูปแบบคาสั่งพื้นฐานที่สามารถนามาเขียนเรียงต่อกันเป็นโปรแกรมได้ 1.3 ภาษาซี เป็นภาษาที่เหมาะสมใช้ในการพัฒนาซอฟต์แวร์อื่น ๆ ภาษาซีเป็น ภาษาที่มีโครงสร้างคล่องตัวสาหรับการเขียนโปรแกรมหรือให้คอมพิวเตอร์ติดต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ 1.4 ภาษาโลโก้ เป็นภาษาที่เหมาะสาหรับการเรียนรู้และเข้าใจหลักการโปรแกรม ภาษาโลโก้ได้รับการพัฒนาสาหรับเด็ก นอกจากภาษาที่กล่าวถึงแล้ว ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกมากมายหลายภาษา เช่น ภาษาฟอร์แทรน ภาษาโคบอล ภาษาอาร์พีจี 3. โปรแกรมยูทิลิตี้ ( Utility Software) เป็นโปรแกรมที่ให้บริการต่าง ๆ เช่น การจัดเรียงข้อมูลตามหลักใดหลักหนึ่ง รวมแฟ้มข้อมูลที่ เรียงลาดับแล้วเข้าด้วยกัน หรือย้ายข้อมูลจากอุปกรณ์รับส่งอย่างหนึ่งไปยังอีกอุปกรณ์หนึ่ง ประกอบด้วยโปรแกรม ต่าง ๆ ได้แก่ Editor, Debugging, Copy ซอฟต์แวร์ประยุกต์ การที่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะการที่มีคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ทา ให้มีการใช้งาน คล่องตัวขึ้น จนในปัจจุบันสามารถนาคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ติดตัวไปใช้งานในที่ต่าง ๆ ได้สะดวก การใช้งานคอมพิวเตอร์ ์ต้องมีซอฟต์แวร์ประยุกต์ ซึ่งอาจเป็นซอฟต์แวร์สาเร็จที่มีผู้พัฒนาเพื่อใช้งานทั่วไปทาให้ ทางานได้สะดวกขึ้น หรืออาจเป็นซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะซึ่งผู้ใช้เป็นผู้พัฒนาขึ้นเองเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพการ ทางานของตน 1. ซอฟต์แวร์สาเร็จ ในบรรดาซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่มีใช้กันทั่วไป ซอฟต์แวร์สาเร็จ ( Package ) เป็นซอฟต์แวร์ที่มี ความนิยมใช้กันสูงมาก ซอฟต์แวร์สาเร็จเป็นซอฟต์แวร์ที่บริษัทพัฒนาขึ้นแล้วนาออกมาจาหน่าย เพื่อให้ผู้ใช้งานซื้อ ไปใช้ได้โดยตรงไม่ต้องเสียเวลาในการพัฒนาซอฟต์แวร์อีก ซอฟต์แวร์สาเร็จที่มีจาหน่ายในท้องตลาดทั่วไป และเป็น ที่นิยมของผู้ใช้มี 5 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ ซอฟต์แวร์ประมวลคา ( word processing software ) ซอฟต์แวร์ตาราง ทางาน ( spread sheet software ) ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล ( data base management software ) ซอฟต์แวร์นาเสนอ ( presentation software ) และซอฟต์แวร์สื่อสารข้อมูล ( data communication software ) รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์) http://comkrutae.wordpress.com
  • 6. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244 1.1 ซอฟต์แวร์ประมวลคา เป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์ใช้สาหรับการพิมพ์เอกสาร สามารถแก้ไข เพิ่ม แทรก ลบ และจัดรูปแบบเอกสารได้อย่างดี เอกสารที่พิมพ์ไว้จัดเป็นแฟ้มข้อมูล เรียกมาพิมพ์ หรือแก้ไขใหม่ได้ การพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ก็มีรูปแบบตัวอักษรให้เลือกหลายรูปแบบ เอกสารจึงดูเรียบร้อย สวยงาม ปัจจุบันมีการเพิ่มขีดความสามารถของซอฟต์แวร์ประมวลคาอีกมากมาย ซอฟต์แวร์ประมวลคาที่นิยมอยู่ ในปัจจุบัน เช่น เวิร์ด จุฬาจารึก โลตัสเอมิโปร 1.2 ซอฟต์แวร์ตารางทางาน เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการคิดคานวณ การทางานของซอฟต์แวร์ ตารางทางาน ใช้หลักการเสมือนมีโต๊ะทางานที่มีกระดาษขนาดใหญ่วางไว้ มีเครื่องมือคล้ายปากกา ยางลบ และ เครื่องคานวณเตรียมไว้ให้เสร็จ บนกระดาษมีช่องให้ใส่ตัวเลข ข้อความ หรือสูตร สามารถสั่งให้คานวณตามสูตร หรือเงื่อนไขที่กาหนดผู้ใช้ซอฟต์แวร์ตารางทางานสามารถประยุกต์ ใช้งานประมวลผลตัวเลขอื่น ๆ ได้กว้างขวาง ซอฟต์แวร์ตารางทางานที่นิยมใช้ เช่น เอกเซล โลตัส 1.3 ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล การใช้งานคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่งคือการใช้เก็บข้อมูล และ จัดการกับข้อมูลที่จัดเก็บในคอมพิวเตอร์ จึงจาเป็นต้องมีซอฟต์แวร์จัดการข้อมูล การรวบรวมข้อมูลหลาย ๆ เรื่องที่ เกี่ยวข้องกันไว้ในคอมพิวเตอร์ เราก็เรียกว่าฐานข้อมูล ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูลจึงหมายถึง ซอฟต์แวร์ที่ช่วยใน การเก็บ การเรียกค้นมาใช้งาน การทารายงาน การสรุปผลจากข้อมูล ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูลทีนิยม ใช้ เช่น เอกเซล ดีเบส พาราด็อก ฟ๊อกเบส 1.4 ซอฟต์แวร์นาเสนอ เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้สาหรับนาเสนอข้อมูล การแสดงผลต้องสามารถดึงดูด ความสนใจ ซอฟต์แวร์เหล่านี้จึงเป็นซอฟต์แวร์ที่นอกจากสามารถแสดงข้อความในลักษณะที่จะสื่อความหมายได้ ง่ายแล้วจะต้องสร้างแผนภูมิ กราฟ และรูปภาพได้ ตัวอย่างของซอฟต์แวร์นาเสนอ เช่น เพาเวอร์พอยต์โลตัสฟรี แลนซ์ ฮาร์วาร์ดกราฟิก 1.5 ซอฟต์แวร์สื่อสารข้อมูล ซอฟต์แวร์สื่อสารข้อมูลนี้หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่จะช่วยให้ ไมโครคอมพิวเตอร์ ติดต่อสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นในที่ห่างไกลโดยผ่านทางสายโทรศัพท์ ซอฟต์แวร์ สื่อสารใช้เชื่อมโยงต่อเข้ากับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น อินเทอร์เน็ต ทาให้สามารถใช้บริการอื่น ๆ เพิ่มเติม ได้ สามารถใช้รับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ใช้โอนย้ายแฟ้มข้อมูล ใช้แลกเปลี่ยนข้อมูล อ่านข่าวสาร นอกจากนี้ยัง ใช้ในการเชื่อมเข้าหามินิคอมพิวเตอร์หรือเมนเฟรม เพื่อเรียกใช้งานจากเครื่องเหล่านั้นได้ ซอฟต์แวร์สื่อสารข้อมูล ที่นิยมมีมากมายหลายซอฟต์แวร์ เช่น โปรคอม ครอสทอล์คเทลิก 2. ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ การประยุกต์ใช้งานด้วยซอฟต์แวร์สาเร็จมักจะเน้นการใช้งานทั่วไป แต่อาจจะ นามาประยุกต์โดยตรงกับงานทางธุรกิจบางอย่างไม่ได้ เช่น ในกิจการธนาคาร มีการฝากถอนเงิน งานทางด้านบัญชี หรือในห้างสรรพสินค้าก็มีงานการขายสินค้า การออกใบเสร็จรับเงิน การควบคุมสินค้าคงคลัง ดังนั้นจึงต้องมีการ พัฒนาซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะสาหรับงานแต่ละประเภทให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้แต่ละราย ซอฟต์แวร์ใช้ งานเฉพาะมักเป็นซอฟต์แวร์ที่ผู้พัฒนาต้องเข้าไปศึกษารูปแบบการทางานหรือความต้องการของธุรกิจนั้น ๆ แล้ว จัดทาขึ้น โดยทั่วไปจะเป็นซอฟต์แวร์ที่มีหลายส่วนรวมกันเพื่อร่วมกันทางาน ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะที่ใช้กันในทาง รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์) http://comkrutae.wordpress.com
  • 7. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244 ธุรกิจ เช่น ระบบงานทางด้านบัญชี ระบบงานจัดจาหน่าย ระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรมบริหารการเงิน และ การเช่าซื้อ ความต้องการของการใช้คอมพิวเตอร์ในงานทางธุรกิจยังมีอีกมาก ดังนั้นจึงยังมีความต้องการผู้พัฒนา ซอฟต์แวร์ เพื่อพัฒนาซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะต่าง ๆ อีกมากมาย สรุปได้ว่า ซอฟต์แวร์ เป็นองค์ประกอบที่สาคัญและจาเป็นมากในการควบคุมการทางานของเครื่อง คอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ ซอฟต์แวร์ระบบ มีหน้าที่ควบคุมอุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในระบบคอมพิวเตอร์ และเป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับ คอมพิวเตอร์หรือฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ระบบสามารถแบ่งเป็น 3 ชนิดใหญ่ คือ 1. โปรแกรมระบบปฏิบัติการ ใช้ควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์พ่วงต่อกับเครื่อง คอมพิวเตอร์ ตัวอย่างโปรแกรมที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน เช่น UNIX, DOS, Microsoft Windows 2. โปรแกรมอรรถประโยชน์หรือยูทิลิตี้ ใช้ช่วยอานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในระหว่าง การประมวลผลข้อมูล หรือในระหว่างที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างโปรแกรมที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน เช่น โปรแกรมเอดิเตอร์ ( Editor) 3. โปรแกรมแปลภาษา ใช้ในการแปลความหมายของคาสั่งที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ให้อยู่ในรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจและทางานตามที่ผู้ใช้ต้องการ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เป็นโปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อทางานเฉพาะด้านตามความต้องการ ซึ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์นี้ สามารถแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ 1. ซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่องานทั่วไปและประยุกต์ใช้งานอื่น เป็นซอฟต์แวร์สาเร็จรูปสร้างขึ้นเพื่อใช้งาน ทั่วไปไม่เจาะจงประเภทของธุรกิจ ตัวอย่าง เช่น Word Processing , Spreadsheet, Database Management Hypertext, Personal Information Management และซอฟต์แวร์เกมต่าง ๆ เป็นต้น 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงาน เป็นซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ในธุรกิจเฉพาะ ตามแต่วัตถุประสงค์ ของการนาไปใช้ รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์) http://comkrutae.wordpress.com
  • 8. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244 ใบความรู้ที่ 2.3 เรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง - เขียนรายละเอียดของภาษาคอมพิวเตอร์ได้ ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่โปรแกรมเมอร์เขียนเพื่อใช้สั่งงานตามรูปแบบและ โครงสร้างของภาษาซึ่งแบ่งได้ 3 ระดับดังนี้คือ 1. ภาษาระดับต่า (Low Level Language) เป็นภาษาที่มนุษย์ทาความเข้าใจได้ยาก ส่วนใหญ่ต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ และฮาร์ดแวร์เป็นอย่างดีจึงจะสามารถเขียน โปรแกรมสั่งงานได้มีข้อดีในส่วนที่เขียนโปรแกรมควบคุมฮาร์ดแวร์แต่ละส่วนได้โดยตรงจึงทางานได้เร็ว แต่ไม่ เหมาะที่จะใช้ในการพัฒนาโปรแกรม ตัวอย่างของภาษาระดับต่าได้แก่ ภาษาเครื่อง (Machine Language) และ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) เป็นต้น 2. ภาษาระดับกลาง (Medium Level Language) เป็นภาษาที่ทาความเข้าใจได้ไม่ยากนัก เพราะมีลักษณะ เป็นภาษาแบบโครงสร้าง ทาความเข้าใจได้เหมือนกับภาษาระดับสูงแต่ทางานได้รวดเร็ว เหมือนกับภาษาระดับต่า สามารถใช้บนเครื่องที่มีความเร็วต่างกันโดยไม่ต้องดัดแปลง ภาษาระดับกลางจึงเป็นที่ นิยมใช้กันแพร่หลาย ตัวอย่างของภาษาระดับกลาง ได้แก่ ภาษาซี เป็นต้น 3. ภาษาระดับสูง (High Level Language) เป็นภาษาที่ทาความเข้าใจได้ง่าย มีลักษณะของ การใช้คาสั่งเป็นภาษาอังกฤษซึ่งใกล้เคียงกับภาษามนุษย์มากการสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานจะต้องมีการแปล ความหมายของคาสั่งโดยใช้ตัวแปลภาษาทีละชุดคาสั่งที่เรียกว่า Interpreter หรือแปลครั้งเดียวทั้งโปรแกรมที่ เรียกว่า Compiler รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์) http://comkrutae.wordpress.com