SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  26
Télécharger pour lire hors ligne
ก



                                                คํานํา
          เสียงเพลงที่เกิดจากการบรรเลงดนตรีของนักดนตรี และการขับรองของนักรองที่มีความสามารถ
ในการถายทอดอารมณเพลงไดอยางครบถวนตามที่ผูประพันธตองการ โดยผานประสบการณความชํานาญ
การเรียนรู และความเขาใจในทฤษฎีดนตรีสากล นักรอง นักดนตรี จะตองรูจักวิเคราะหลักษณะโนต และ
ระดับเสียงของโนต รวมทั้งสามารถปฏิบัติโนตเพลงไดถูกตอง
          โนตเพลง เปนสัญลักษณหรือเครื่องหมายที่มนุษยไดคิดคนขึ้นมาใชบันทึกแสดงถึงความสั้น-ยาว
และความสูง-ต่ําของเสียงดนตรี ตัวโนตเปรียบเหมือนกับตัวอักษรทีใชบันทึกแทนภาษาพูด คนที่เลนดนตรี
                                                                    ่
เปนหรือรองเพลงได แตไมสามารถอานโนตไดกเ็ หมือนกับคนที่พดได แตอานหนังสือไมออก ยอมขาด
                                                                 ู
การพัฒนา เพราะไมสามารถศึกษาหาความรูเพิ่มเติมดวยตนเองได ดังนั้น นักรอง นักดนตรี จึงตองมี
ความรูความเขาใจในการอานโนตไดดวย จึงจะมีความเขาใจในบทเพลง และสามารถที่จะบรรเลงเพลงได
ทันที โดยอาจจะไมรูจก หรือไมเคยบรรเลงเพลงนั้นมากอนเลยก็ได เพราะโนตเพลงเปนสัญลักษณสากลที่
                         ั
เรียนรูเหมือนกันทั่วโลก สามารถอานและเขาใจไดเชนเดียวกับหนังสือ
          การเรียนทฤษฎีดนตรีสากล ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เปนแนวทางพื้นฐานสูการปฏิบัติ
เครื่องดนตรี นักเรียนจึงควรฝกการอานโนต เพื่อใหเกิดทักษะปฏิบตจนเกิดความคลองแคลวดวยความ
                                                                   ั ิ
เขาใจ ในการฝกอานโนตเบืองตนไมจําเปนตองมีการปฏิบัติเครื่องดนตรีในการฝกอาน เพราะบางคนอาจ
                             ้
เลนดนตรียังไมเปน ดังนัน เพื่อใหไดความรูพื้นฐานและฝกใหรูหลักการ จะตองเรียนรูในเรื่องจังหวะ การ
                           ้
เคาะจังหวะ การรูจกจุดเริ่มปฏิบัติโดยอาจฝกปฏิบัติการปรบมือแทนการเลนเครื่องดนตรี รูจักตัวหยุด รูจก
                      ั                                                                               ั
ระดับความสูงต่ําของเสียง โดยการฝกเปลงเสียงรองดวยปากของเราเอง รูสัญลักษณทางดนตรีตาง ๆ ก็จะ
ทําใหการปฏิบัติดนตรี และการขับรองไดถูกตองตามหลักทฤษฏีดนตรี สามารถฝกปฏิบัติดวยตนเองได
อยางตอเนื่อง ทําใหมีความรูความเขาใจในทฤษฎีดนตรีสากลอยางคงทน สามารถพัฒนาตนเองไปสูการเลน
                               
เครื่องดนตรี หรือขับรองและอานโนตไดอยางมืออาชีพตอไป
          เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ทฤษฎีดนตรีสากล มีทั้งหมด 4 ชุด ดังนี้
          ชุดที่ 1 ตัวโนตและตัวหยุด (Note and Rest)
          ชุดที่ 2 จังหวะและเครื่องหมายกําหนดจังหวะ (Rhythm and Time Signature)
          ชุดที่ 3 ระดับเสียง (Pitch)
          ชุดที่ 4 ฝกอานและขับรองตามระดับเสียงโนต
        เพื่อความตอเนื่องของเนื้อหา ควรศึกษาเอกสารจากชุดเริ่มตนเรียงลําดับไปจนถึงชุดสุดทาย
หวังเปนอยางยิ่งวาเอกสารประกอบการเรียนนี้ จะเปนประโยชนตอนักเรียนและผูที่สนใจไดเปนอยางดี

                                                                  วีระยุทธ ยนยุบล
ข



                                                           สารบัญ

          เรื่อง                                                                                                             หนา

คํานํา ……………………………………………………………………………………………..                                                                                  ก
สารบัญ ………………………………………………………………………………………......                                                                                ข
จุดประสงคการเรียนรู ……………………………………………………………………………                                                                           1
คําแนะนําการใชเอกสารประกอบการเรียน ……………………………………………………...                                                                   2
กระดาษคําตอบ …………………………………………………………………………………..                                                                                3
แบบทดสอบกอนเรียน ………………………………………………………………………......                                                                           4
ตัวโนตและตัวหยุด (Note and Rest) ..……....................................................................................    6
ชื่อตัวโนต ……….………………………………….……………………………………………                                                                               6
ลักษณะของตัวโนตและตัวหยุด …………………………………………………………………                                                                          6
การเปรียบเทียบคาตัวโนต ……………………………………………………………………….                                                                         7
ความสอดคลองของตัวโนตและตัวหยุด …………………………………………………………                                                                       8
โนตประจุด (Dotted Note) ……………………………………………………………………..                                                                         9
โนตโยงเสียง (Tied Note) ……………………………………………………………………….                                                                         9
หองเพลง (Measure) ……………………………………………………………………………...                                                                          10
ใบงานที่ 1 ตัวโนตและตัวหยุด (Note and Rest) ………………………………………………..                                                            12
เฉลยใบงานที่ 1 ตัวโนตและตัวหยุด (Note and Rest) …………………………………………...                                                         13
ใบงานที่ 2 โนตประจุด โนตโยงเสียงและหองเพลง
(Dotted Note,Tied Note and Measure) ......................................................................................   14
เฉลยใบงานที่ 2 โนตประจุด โนตโยงเสียงและหองเพลง
(Dotted Note,Tied Note and Measure) ………………………………………………………..                                                                  16
แบบฝกที่ 1 ฝกปฏิบัติการเคาะจังหวะอยางสม่ําเสมอและการเนนจังหวะ (Accent) …………….                                            18
แบบทดสอบหลังเรียน ……………………………………………………………………….......                                                                         20
เฉลยแบบทดสอบกอนและหลังเรียน ……………………………………………………………                                                                         22
บรรณานุกรม …………………………………………………………………………………….                                                                                 23
1



                                   จุดประสงคการเรียนรู
                       เรื่อง ตัวโนตและตัวหยุด (Note and Rest)

        หลังจากศึกษาเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1 ตัวโนตและตัวหยุด (Note and Rest) นักเรียน
ตองมีความรูความเขาใจ ดังนี้
        1. สามารถบอกความหมายของตัวโนตและตัวหยุดได
        2. สามารถเปรียบเทียบคาของตัวโนตและตัวหยุดได
        3. สามารถบอกชื่อตัวโนตและตัวหยุดได
        4. สามารถอธิบายโนตโยงเสียงและหองเพลงได
        5. สามารถปฏิบติการเคาะจังหวะไดอยางสม่ําเสมอและเนนจังหวะในแตละหองเพลงได
                        ั
2



                         คําแนะนําการใชเอกสารประกอบการเรียน
                      ชุดที่ 1 ตัวโนตและตัวหยุด (Note and Rest)

       เอกสารประกอบการเรียนเลมนี้ จัดทําขึ้นเพื่อใชประกอบการเรียนการสอนรายวิชาศิลปะ รหัสวิชา
ศ 31101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 การศึกษาหาความรูจากเอกสารเลมนี้ ใหปฏิบติตามขั้นตอนดังตอไปนี้
                                                                            ั
       1. ทําแบบทดสอบกอนเรียน จํานวน 10 ขอ ลงในกระดาษคําตอบ
       2. ศึกษาเนื้อหาสาระความรูใหเขาใจ ถาไมเขาใจสามารถยอนกลับไปศึกษาใหมได
       3. ทําใบงานทุกใบงาน โดยปฏิบัติกิจกรรมที่ระบุในใบงานใหครบทุกขั้นตอน
       4. ตรวจคําตอบใบงาน จากเฉลยใบงาน เพื่อวัดผลการเรียนรู
       5. ถาตอบผิดควรกลับไปศึกษาเนื้อหาใหมอีกครั้ง
       5. ปฏิบัติกิจกรรมตามแบบฝก ใหครบทุกบทฝก (ในแตละแบบฝกจะมีหลายบทฝก) จนเกิดทักษะ
และความคลองแคลวในการปฏิบัติ
       6. ทําแบบทดสอบหลังเรียน จํานวน 10 ขอ ลงในกระดาษคําตอบ
       7. ตรวจคําตอบแบบทดสอบกอนและหลังเรียน จากเฉลย
       8. สรุปผลคะแนนที่ไดลงในกระดาษคําตอบ
       9. ประธานกลุมรวบรวมกระดาษคําตอบสงครู
3



                                     กระดาษคําตอบ
                      เรื่อง ตัวโนตและตัวหยุด (Note and Rest)

  ชื่อ-สกุล………………………………………………………เลขที่………………….ชั้น……………



        ทดสอบกอนเรียน                                           ทดสอบหลังเรียน
  ขอ    ก     ข       ค       ง                          ขอ   ก     ข       ค         ง
   1                                                       1
   2                                                       2
   3                                                       3
   4                                                       4
   5                                                       5
   6                                                       6
   7                                                       7
   8                                                       8
   9                                                       9
  10                                                      10

ลงชื่อ………………..……………….ผูตรวจ                       ลงชื่อ………………..……………….ผูตรวจ
   (                )                                    (             )

                                        สรุปผล

        แบบทดสอบ                   กอนเรียน (10 คะแนน)          หลังเรียน (10 คะแนน)
        คะแนนที่ได
4



                                      แบบทดสอบกอนเรียน
                          เรื่อง ตัวโนตและตัวหยุด (Note and Rest)

คําชี้แจง โปรดเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุด ลงในกระดาษคําตอบ ใชเวลา 5 นาที

1. ขอใดไมใชอักษรแทนเสียงดนตรี ระบบตัวอักษร (Letter System) ในระบบชื่อตัวโนต
         ก. C E G
         ข. D F A
         ค. I H K
         ง. A B C
2. ขอใดคือความหมายของตัวโนต
         ก. เปนสัญลักษณที่บันทึกแทนความสูง-ต่ํา ของเสียง
         ข. เปนสัญลักษณที่บันทึกแทนความดัง-เบา ของเสียง
         ค. เปนสัญลักษณที่บันทึกแทนความสั้น-ยาว ของเสียง
         ง. เปนสัญลักษณที่บนทึกแทนความสั้น-ยาว ของความเงียบ
                             ั
3. ความหมายของตัวหยุด คือ
         ก. เปนสัญลักษณที่บันทึกแทนความสูง-ต่ํา ของเสียง
         ข. เปนสัญลักษณที่บันทึกแทนความดัง-เบา ของเสียง
         ค. เปนสัญลักษณที่บันทึกแทนความสั้น-ยาว ของเสียง
         ง. เปนสัญลักษณที่บันทึกแทนความสั้น-ยาว ของความเงียบ
4. ชื่อตรงกับสัญลักษณของตัวโนตในขอใดไมถูกตอง
         ก.      = ตัวขาว

       ข.      = ตัวดํา

       ค.     = ตัวเขบ็ต 1 ชั้น

       ง.     = ตัวเขบ็ต 2 ชั้น
5


5. ขอใดกลาวไดถูกตองเกี่ยวกับโนตโยงเสียง
        ก. ทําใหคาความยาวของตัวโนตเพิ่มขึ้นเทากับโนตสองตัวรวมกัน
        ข. ทําใหคาของโนตลดลงครึ่งหนึ่งของตัวมันเอง
        ค. ทําใหทราบถึงความสูงขึ้นของเสียง
        ง. เปนตัวบอกใหหยุดออกเสียงในโนตระดับนั้น ๆ
6. ขอใดกลาวถึงโนตประจุดไดถูกตอง
        ก. โนตตัวขาวประจุดมีคาเทากับโนตตัวดําสามตัว
        ข. โนตตัวดําประจุดมีคาเทากับโนตตัวเขบ็ต 1 ชั้น 4 ตัว
        ค. โนตตัวกลมประจุดมีคาเทากับโนตตัวขาว 2 ตัว
        ง. โนตตัวเขบ็ต 1 ชั้นประจุดมีคาเทากับโนตตัวดํา 1 ตัว
7. การเปรียบเทียบคาของตัวโนตขอใดถูกตอง
        ก. โนตตัวขาว มีคาเทากับ 1 ของโนตตัวกลม
                                     4
        ข. โนตตัวดํา มีคาเทากับ 1 ของโนตตัวกลม
                                  2
       ค. โนตตัวเขบ็ต 1 ชั้น มีคาเทากับ   1
                                                ของโนตตัวกลม
                                             8
       ง. โนตตัวเขบ็ต 2 ชั้น มีคาเทากับ    1
                                                 ของโนตตัวกลม
                                             32
8. ในการเคาะจังหวะเนนของหองเพลงในขอใดกลาวผิด
        ก. การเนนทุก ๆ สองจังหวะคือเคาะหองละสองครั้ง
        ข. การเนนทุก ๆ สองจังหวะคือเนนในจังหวะที่สอง
        ค. การเนนทุก ๆ สามจังหวะคือเนนในจังหวะที่หนึ่ง
        ง. การเนนทุก ๆ สี่จังหวะคือเนนในจังหวะที่หนึ่ง
9. ขอใดกลาวผิดเกี่ยวกับเสนกั้นหอง
        ก. เสนกั้นหองจะกันไวหนาจังหวะเนนของแตละกลุม
                            ้
        ข. เสนกั้นหองจะเปนเสนตรงแนวนอนหาเสน
        ค. ถาเปนเสนคูบางสองเสนติดกันคือบอกจบทอนเพลง
        ง. เสนจบจะเปนเสนคูบางและหนาคูกน   ั
10. การกระจายตัวโนตในขอใดกลาวผิด
        ก. โนตตัวดําเทากับโนตตัวเขบ็ต 1 ชั้น 2 ตัว
        ข. โนตตัวขาวเทากับโนตตัวเขบ็ต 1 ชั้น 4 ตัว
        ค. โนตตัวกลมเทากับโนตตัวเขบ็ต 1 ชั้น 6 ตัว
        ง. โนตตัวกลมเทากับโนตตัวขาว 2 ตัว
1. ตัวโนต เปนสัญลักษณทบันทึกแทน ความสั้น- ยาว ของเสียง
                         ี่
2. ตัวหยุด เปนสัญลักษณทบันทึกแทน ความสั้น-ยาว ของความเงียบ
                            ่ี

3. ชื่อตัวโนต (Note Name)

         ชื่อและอักษรแทนเสียงดนตรี เรียงตามลําดับจากเสียงต่ําไปหาเสียงสูง ดังนี้
 ระบบตัวอักษร (Letter System)               C       D         E      F       G     A     B         C
 ระบบโซ-ฟา (So-Fa System)                  Do Re Mi                 Fa Sol         La    Ti        Do
 ระบบเซอเว (Serway System)                  1        2        3      4       5     6     7         1
 ระบบอักษรไทย (Thai Alphabet System)        ด       ร         ม      ฟ       ซ     ล     ท         ด
 ชื่อระดับเสียง                            โด       เร        มี    ฟา ซอล         ลา    ที        โด

4. ลักษณะของตัวโนตและตัวหยุด
      ตัวโนต          ตัวหยุด                ชื่อไทย            ชื่ออังกฤษ         ชื่ออเมริกัน

                                              ตัวกลม             Semibreve          Whole note


      หรือ                                     ตัวขาว              Minim             Half note



      หรือ                                     ตัวดํา             Crotchet         Quarter note



      หรือ                                 ตัวเขบ็ต 1 ชั้น         Quaver           Eighth note



      หรือ                                 ตัวเขบ็ต 2 ชั้น      Semi Quaver        Sixteenth note
7

5. การเปรียบเทียบคาของตัวโนต




       จะเห็นวา        โนต     ตัวขาว           มีคาเทากับ   1    ของโนต ตัวกลม
                                                                 2
                        โนต     ตัวดํา           มีคาเทากับ   1    ของโนต ตัวกลม
                                                                 4
                        โนต     ตัวเขบ็ต 1 ชั้น มีคาเทากับ    1    ของโนต ตัวกลม
                                                                 8
                        โนต     ตัวเขบ็ต 2 ชั้น มีคาเทากับ     1   ของโนต ตัวกลม
                                                                 16


       หรือ        =2          =4         =8         = 16

       สวนตัวหยุด ใหเปรียบเทียบคาเหมือนกับตัวโนต

       อัตราความสั้น-ยาวของตัวโนตและตัวหยุดจะมีกี่จังหวะนั้น จะขึ้นอยูกบเครื่องหมายกําหนดจังหวะ
                                                                       ั
(รายละเอียดในบทเรียนตอไป)
8


                            แผนภูมิการกระจาย และเปรียบเทียบคาตัวโนต




6. ความสอดคลองของตัวโนตและตัวหยุด

   ตัวโนต




   ตัวหยุด

                                   ตัวหยุดลักษณะตาง ๆ ตามคาตัวโนต


       สิ่งที่ควรรู

        1. โนตแตละตัว หมายถึง เสียง 1 เสียง ความยาวของเสียงขึ้นอยูกบ “คาตัวโนต”
                                                                        ั
        2. ตัวหยุด มีหนาที่พกเสียงดนตรี สวนจะพักนานเทาใด ขึ้นอยูกบ “คาตัวหยุด” ยกตัวอยางเชน
                             ั                                        ั
ตัวหยุดตัวกลม                     พักเสียง 4 จังหวะ แตอยาลืมวาจังหวะจะดําเนินไปเรื่อย ๆ
9


7. โนตประจุด (Dotted Note)

        จุดที่อยูหลังตัวโนตหรือตัวหยุด จะมีคาเปนครึ่งหนึ่งของตัวโนต หรือ ตัวหยุด เชน
                 




8. โนตโยงเสียง (Tied Note)

         เครื่องหมายโยงเสียง (Tie) เปนเสนโคงที่ลากเชื่อมระหวางตัวโนต 2 ตัว เครื่องหมายโยงเสียง
มักใชในกรณีที่โนตตัวเดียวกันมีเสียงยาวขามหองเพลง หรือขามหนวยจังหวะ ซึ่งไมสามารถแสดงคาตัว
โนตเพียงตัวเดียวได โนตโยงเสียงจะเลนครั้งเดียว คือ เลนเฉพาะโนตตัวแรกเทานั้น และจะถูกลากเสียง
ไปจนสิ้นสุดคาของโนตตัวสุดทายที่เครื่องหมายโยงเสียงลากไปถึง ซึ่งหมายถึง ทําใหคาความยาวของตัว
โนตเพิ่มขึ้นเทากับโนตสองตัวรวมกัน โนตโยงเสียงใหเขียนเครื่องหมายโยงเสียงกํากับไวบนหัวตัวโนต
เทานั้น ไมเขียนบนหางตัวโนต สวนตัวหยุดไมตองใชเครื่องหมายโยงเสียง ตัวอยาง เชน

                              Tie



                                                                         Tie
10


9. หองเพลง (Measure)

          เปนการแบงกลุมการเคาะจังหวะ ในขณะที่เลนดนตรีจะมีการเคาะจังหวะอยางสม่ําเสมอ และ
มีการเนนจังหวะ (Accent หรือ >) หนัก-เบา สลับกันไปเปนกลุม ๆ ดังนี้
                                         >      >      >        >
                 เนนทุก ๆ 2 จังหวะ
                        จังหวะเคาะ
                                        1 2 1 2 1 2 1 2
                                        >           >         >
                   เนนทุก ๆ 3 จังหวะ
                          จังหวะเคาะ
                                            1 2 3 1 2 3 1 2 3
                                            >               >              >
                   เนนทุก ๆ 4 จังหวะ
                          จังหวะเคาะ
                                            1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4



        ในการเขียนโนตนั้น เราตองจัดกลุมตัวโนตออกเปนกลุมละสองจังหวะ สามจังหวะ หรือสี่จังหวะ
                                                           
ตามจังหวะเนน โดยใชเสนตรงตั้งฉาก ( ) ซึ่งเรียกวา เสนกั้นหอง (Bar – Line) กั้นไวหนาจังหวะเนน
ของแตละกลุม (ยกเวนการเนนครั้งแรก) เมื่อจบทอนเพลงใหกั้นดวย เสนคู ( ) (Double Bar – Line)
           
และเมื่อจบบทเพลงใหกนดวย เสนจบ ( )
                     ั้

                                 เสนกั้นหอง         เสนคู             เสนกั้นหอง       เสนจบ
                    >                     >                     >                     >

กลุมละสี่จังหวะ
                    1 2 3 4             1 2 3 4                 1 2 3 4             1 2 3 4
11


       เมื่อใชเสนกันหองแลว ตัวโนต ก็จะถูกบรรจุอยูในชองวาง ซึ่งเรียกวา หองเพลง (Measure or
                     ้
Bar) หรือ เรียกสั้น ๆ วา หอง

                         หองที่ 1            หองที่ 2          หองที่ 3          หองที่ 4


หองละสี่จังหวะ
                    1 2 3 4              1 2 3 4               1 2 3 4             1 2 3 4

            โนตตัวแรกของแตละหอง เปนจังหวะเนนเสมอ

                             แสดงลักษณะของหองเพลงเมื่อเขียนเปนโนตเพลง

                                       หองที่ 1               หองที่ 2             หองที่ 3




                       เสนกันหอง (Bar – Line)
                             ้

หองที่ 4                  หองที่ 5               หองที่ 6           หองที่ 7       หองที่ 8




                                                                                                   เสนจบ
12



                                                             ใบงานที่ 1
                                                     เรื่อง ตัวโนตและตัวหยุด

    ชื่อ..................................................นามสกุล................................................เลขที่...........ชั้น...............

คําชี้แจง ใหนกเรียนตอบคําถามจากโจทยดานลางนี้ใหถูกตอง
              ั

1. ตัวโนต หมายถึง ………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………...
2. ตัวหยุด หมายถึง …………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………...
3. โนตตัวกลม 1 ตัว มีคาเทากับโนตตัวดํากี่ตว ……………...…………………………………………….
                                               ั
4. โนตตัวดํา 1 ตัว มีคาเทากับโนตตัวเขบ็ต 1 ชั้น กี่ตว ……………………………………………………
                                                          ั
5. โนตตัวดํา 1 ตัว มีคาเทากับโนตตัวเขบ็ต 2 ชั้น กี่ตว ……………………………………………………
                                                        ั
6. โนตตัวเขบ็ต 1 ชั้น 1 ตัว มีคาเทากับโนตเขบ็ต 2 ชั้น กี่ตัว ……………………………………………..
7. ตัวหยุดตัวดํา 1 ตัว มีคาเทากับตัวหยุดตัวเขบ็ต 1 ชั้น กี่ตัว …………….…………………….…………
                           
8. ตัวหยุดตัวขาว 1 ตัว มีคาเทากับตัวหยุดตัวตัวดํากี่ตัว ......………….………….…………………………
                             
9. ตัวหยุดตัวกลม 1 ตัว มีคาเทากับตัวหยุดตัวขาวกี่ตัว …………………………………………………….
10. ใหนกเรียนเขียนการเปรียบเทียบคาของตัวโนตลงในตารางใหถูกตอง (เขียนตัวโนตลงในตาราง)
         ั
13



                                        เฉลยใบงานที่ 1
                                  เรื่อง ตัวโนตและตัวหยุด

1. ตัวโนต หมายถึง สัญลักษณบันทึกแทนความสั้น-ยาวของเสียง
2. ตัวหยุด หมายถึง สัญลักษณบันทึกแทนความสั้น-ยาวของความเงียบ
3. โนตตัวกลม 1 ตัว มีคาเทากับโนตตัวดํา 4 ตัว
4. โนตตัวดํา 1 ตัว มีคาเทากับโนตตัวเขบ็ต 1 ชั้น 2 ตัว
5. โนตตัวดํา 1 ตัว มีคาเทากับโนตตัวเขบ็ต 2 ชั้น 4 ตัว
6. โนตตัวเขบ็ต 1 ชั้น 1 ตัว มีคาเทากับโนตเขบ็ต 2 ชั้น 2 ตัว
7. ตัวหยุดตัวดํา 1 ตัว มีคาเทากับตัวหยุดตัวเขบ็ต 1 ชั้น 2 ตัว
                            
8. ตัวหยุดตัวขาว 1 ตัว มีคาเทากับตัวหยุดตัวตัวดํา 2 ตัว
9. ตัวหยุดตัวกลม 1 ตัว มีคาเทากับตัวหยุดตัวขาว 2 ตัว
10.ใหนกเรียนเขียนการเปรียบเทียบคาของตัวโนตลงในตารางใหถูกตอง (เขียนตัวโนตลงในตาราง)
       ั
14




                                                  ใบงานที่ 2
                                 เรื่อง โนตประจุด โนตโยงเสียง และหองเพลง

    ชื่อ..................................................นามสกุล................................................เลขที่...........ชั้น...............

คําชี้แจง นักเรียนปฏิบัติดังนี้
1. ใหนกเรียนแสดงคาโนตประจุดโดยใชลักษณะตัวโนต
         ั

         ตัวอยาง                  =           +

         1.1                       =…………….+…………….

         1.2                       =…………….+…………….

         1.3                       =…………….+…………….

         1.4                       =…………….+…………….

         1.5                       =…………….+…………….

2. จากภาพตอไปนี้ จงเขียนเครื่องหมายโยงเสียง(Tie)ระหวางโนตตัวสุดทายและโนตตัวแรกของหองเพลง
   ใหถูกตอง
15


3. ใหนกเรียนเขียนลักษณะการเนนจังหวะกลุมการเคาะ 2 จังหวะ มาใหถูกตอง (เขียนโนตตัวดํา ตัวเลข
       ั
จังหวะเคาะและเครื่องหมายเนนจังหวะ (Accent หรือ >) หนัก-เบา สลับกันไปเปนกลุม ๆ )
……………………………………………………………………………………...………...........................
………………………………………………………………………………………………………...………
4. ใหนกเรียนเขียนลักษณะการเนนจังหวะกลุมการเคาะ 3 จังหวะ มาใหถูกตอง (เขียนโนตตัวดํา ตัวเลข
           ั
จังหวะเคาะและเครื่องหมายเนนจังหวะ (Accent หรือ >) หนัก-เบา สลับกันไปเปนกลุม ๆ )
……………………………………………………………………………………………………...………...
………………………………………………………………………………………………………...………
5. ใหนกเรียนเขียนลักษณะการเนนจังหวะกลุมการเคาะ 4 จังหวะ มาใหถูกตอง (เขียนโนตตัวดํา ตัวเลข
         ั
จังหวะเคาะและเครื่องหมายเนนจังหวะ (Accent หรือ >) หนัก-เบา สลับกันไปเปนกลุม ๆ )
………………………………………………………………………………………………………...………
………………………………………………………………………………………………………...………
16



                                         เฉลยใบงานที่ 2
                                 เรื่อง โนตประจุดและหองเพลง

1. ใหนกเรียนแสดงคาโนตประจุดโดยใชลักษณะตัวโนต
       ั

       1.1            =      +

       1.2            =      +


       1.3            =      +

       1.4            = + …+

       1.5            =         +

2. จากภาพตอไปนี้ จงเขียนเครื่องหมายโยงเสียง(Tie)ระหวางโนตตัวสุดทายและโนตตัวแรกของหองเพลง
   ใหถูกตอง

                                                (2)                    (3)



                          (1)
17


3. ใหนกเรียนเขียนลักษณะการเนนจังหวะกลุมการเคาะ 2 จังหวะ มาใหถูกตอง(เขียนโนตตัวดํา ตัวเลข
       ั
จังหวะเคาะและเครื่องหมายเนนจังหวะ (Accent หรือ >) หนัก-เบา สลับกันไปเปนกลุม ๆ )

                                        >       >       >          >
                เนนทุกๆ 2จังหวะ

                  จังหวะเคาะ            1 2 1 2 1 2 1 2



4. ใหนกเรียนเขียนลักษณะการเนนจังหวะกลุมการเคาะ 3 จังหวะ มาใหถกตอง(เขียนโนตตัวดํา ตัวเลข
       ั                                                         ู
จังหวะเคาะและเครื่องหมายเนนจังหวะ (Accent หรือ >) หนัก-เบา สลับกันไปเปนกลุม ๆ )

                                        >           >          >
                เนนทุก ๆ 3 จังหวะ

                                        1 2 3 1 2 3 1 2 3
                      จังหวะเคาะ

5. ใหนกเรียนเขียนลักษณะการเนนจังหวะกลุมการเคาะ 4 จังหวะ มาใหถูกตอง(เขียนโนตตัวดํา ตัวเลข
       ั
จังหวะเคาะและเครื่องหมายเนนจังหวะ (Accent หรือ >) หนัก-เบา สลับกันไปเปนกลุม ๆ )


                                        >               >               >
                เนนทุก ๆ 4 จังหวะ

                   จังหวะเคาะ           1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4
18



                                     แบบฝกที่ 1
       เรื่อง ฝกปฏิบัติการเคาะจังหวะอยางสม่ําเสมอและการเนนจังหวะ (Accent)

คําชี้แจง
            1. ปฏิบัตการเคาะจังหวะอยางสม่ําเสมอ โดยฝกจากชา ปานกลาง และเร็วตามลําดับ
                      ิ
            2. ในการเคาะจังหวะมีการเนนจังหวะ (Accent) หนัก-เบา สลับกันไปเปนกลุม ๆ ตามบทฝก
            3. เครื่องหมาย > หมายถึง จังหวะที่เนนในกลุมของการแบงหองเพลง
            4. ใชโนตตัวดํา เปนเกณฑในการฝก โดยใหคาอัตราการเคาะเทากับ 1 จังหวะ คือ
                เคาะเทาลงและยกขึ้น (ดังรูปภาพ)
            5. เปลงเสียงนับตามจังหวะเคาะโดยเนนเสียงดังในจังหวะที่ 1 ของหอง
            6. ฝกปฏิบัติในแตละบทฝกจนเกิดความเขาใจ




                                     ภาพแสดงการเคาะจังหวะดวยเทา
                              (ภาพโดย นายวีระยุทธ ยนยุบล เมื่อ พฤษภาคม 2552)


บทฝกที่ 1 ฝกเคาะจังหวะเนนทุก ๆ 2 จังหวะ
        กลุมการเคาะจังหวะอยางสม่าเสมอ โดยเนนทุก ๆ 2 จังหวะ
                                    ํ
                 หองที่ 1 หองที่ 2 หองที่ 3 หองที่ 4 หองที่ 5 หองที่ 6 หองที่ 7 หองที่ 8
                  >        >          >         >        >         >          >        >



จังหวะเคาะ          1 2       1 2       1 2       1 2      1 2        1 2      1 2       1 2
19

บทฝกที่ 2 ฝกเคาะจังหวะเนนทุก ๆ 3 จังหวะ
        กลุมการเคาะจังหวะอยางสม่าเสมอ โดยเนนทุก ๆ 3 จังหวะ
                                  ํ
                     หองที่ 1 หองที่ 2     หองที่ 3 หองที่ 4              หองที่ 5         หองที่ 6
                   >             >          >             >                   >                 >


จังหวะเคาะ       1 2 3            1 2 3           1 2 3       1 2 3           1 2 3            1 2 3



                  หองที่ 7       หองที่ 8
                  >               >



จังหวะเคาะ       1 2 3           1 2 3



บทฝกที่ 3 ฝกเคาะจังหวะเนนทุก ๆ 4 จังหวะ
        กลุมการเคาะจังหวะอยางสม่าเสมอ โดยเนนทุก ๆ 4 จังหวะ
                                   ํ
                            หองที่ 1       หองที่ 2         หองที่ 3                 หองที่ 4
                         >                >                >                        >


   จังหวะเคาะ          1 2 3 4                1 2 3 4          1 2 3 4             1 2 3 4



                              หองที่ 5           หองที่ 6       หองที่ 7               หองที่ 8
                         >                    >               >                     >



   จังหวะเคาะ            1 2 3 4              1 2 3 4          1 2 3 4             1 2 3 4
20



                                    แบบทดสอบหลังเรียน
                                  เรื่อง ตัวโนตและตัวหยุด

คําชี้แจง โปรดเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุด ลงในกระดาษคําตอบ ใชเวลา 5 นาที

1. ขอใดคือความหมายของตัวโนต
        ก. เปนสัญลักษณที่บันทึกแทนความสูง-ต่ํา ของเสียง
        ข. เปนสัญลักษณที่บันทึกแทนความดัง-เบา ของเสียง
        ค. เปนสัญลักษณที่บันทึกแทนความสั้น-ยาว ของเสียง
        ง. เปนสัญลักษณที่บนทึกแทนความสั้น-ยาว ของความเงียบ
                              ั
2. ความหมายของตัวหยุด คือ
        ก. เปนสัญลักษณที่บันทึกแทนความสูง-ต่ํา ของเสียง
        ข. เปนสัญลักษณที่บันทึกแทนความดัง-เบา ของเสียง
        ค. เปนสัญลักษณที่บันทึกแทนความสั้น-ยาว ของเสียง
        ง. เปนสัญลักษณที่บันทึกแทนความสั้น-ยาว ของความเงียบ
3. ขอใดไมใชอักษรแทนเสียงดนตรี ระบบตัวอักษร (Letter System) ในระบบชื่อตัวโนต
        ก. C E G
        ข. D F A
        ค. I H K
        ง. A B C
4. ขอใดกลาวไดถูกตองเกี่ยวกับโนตโยงเสียง
        ก. ทําใหคาความยาวของตัวโนตเพิ่มขึ้นเทากับโนตสองตัวรวมกัน
        ข. ทําใหคาของโนตลดลงครึ่งหนึ่งของตัวมันเอง
        ค. ทําใหทราบถึงความสูงขึ้นของเสียง
        ง. เปนตัวบอกใหหยุดออกเสียงในโนตระดับนั้น ๆ
5. ขอใดกลาวผิดเกี่ยวกับเสนกั้นหอง
        ก. เสนกั้นหองจะกันไวหนาจังหวะเนนของแตละกลุม
                            ้
        ข. เสนกั้นหองจะเปนเสนตรงแนวนอนหาเสน
        ค. ถาเปนเสนคูบางสองเสนติดกันคือบอกจบทอนเพลง
        ง. เสนจบจะเปนเสนคูบางและหนาคูกน ั
21


6. การเปรียบเทียบคาของตัวโนตขอใดถูกตอง
        ก. โนตตัวขาว มีคาเทากับ 1 ของโนตตัวกลม
                                         4
        ข. โนตตัวดํา มีคาเทากับ   1   ของโนตตัวกลม
                                     2
        ค. โนตตัวเขบ็ต 1 ชั้น มีคาเทากับ   1 ของโนตตัวกลม
                                              8
         ง. โนตตัวเขบ็ต 2 ชั้น มีคาเทากับ   1 ของโนตตัวกลม
                                              32
7. การกระจายตัวโนตในขอใดกลาวผิด
         ก. โนตตัวดําเทากับโนตตัวเขบ็ต 1 ชั้น 2 ตัว
         ข. โนตตัวขาวเทากับโนตตัวเขบ็ต 1 ชั้น 4 ตัว
         ค. โนตตัวกลมเทากับโนตตัวเขบ็ต 1 ชั้น 6 ตัว
         ง. โนตตัวกลมเทากับโนตตัวขาว 2 ตัว
8. ขอใดกลาวถึงโนตประจุดไดถูกตอง
         ก. โนตตัวขาวประจุดมีคาเทากับโนตตัวดําสามตัว
         ข. โนตตัวดําประจุดมีคาเทากับโนตตัวเขบ็ต 1 ชั้น 4 ตัว
         ค. โนตตัวกลมประจุดมีคาเทากับโนตตัวขาว 2 ตัว
         ง. โนตตัวเขบ็ต 1 ชั้นประจุดมีคาเทากับโนตตัวดํา 1 ตัว
9. ในการเคาะจังหวะเนนของหองเพลงในขอใดกลาวผิด
         ก. การเนนทุก ๆ สองจังหวะคือเคาะหองละสองครั้ง
         ข. การเนนทุก ๆ สองจังหวะคือเนนในจังหวะที่สอง
         ค. การเนนทุก ๆ สามจังหวะคือเนนในจังหวะที่หนึ่ง
         ง. การเนนทุก ๆ สี่จังหวะคือเนนในจังหวะที่หนึ่ง
10. ชื่อตรงกับสัญลักษณของตัวโนตในขอใดไมถูกตอง
         ก.     = ตัวขาว

        ข.      = ตัวดํา

        ค.      = ตัวเขบ็ต 1 ชั้น

        ง.     = ตัวเขบ็ต 2 ชั้น
22


                       เฉลยแบบทดสอบ
                  เรื่อง ตัวโนตและตัวหยุด


ขอที่   แบบทดสอบกอนเรียน       ขอที่      แบบทดสอบหลังเรียน
  1             ค                  1               ค
  2             ค                  2                ง
  3             ง                  3               ค
  4             ก                  4               ก
  5             ก                  5               ค
  6             ก                  6               ค
  7             ค                  7               ค
  8             ข                  8               ก
  9             ข                  9               ข
 10             ค                 10               ก
บรรณานุกรม

โกวิท ประวารพฤกษ. ดนตรี – นาฏศิลป ม.3. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ
             (พว.), 2548.
จิตตพันธ แสนเมือง และคณะ. การปฏิบัติขลุย. พิมพครั้งที่ 2. ขอนแกน : โรงพิมพคลังนานาวิทยา,
             2550.
จีรพันธ สมประสงค. ศิลปะ ม.1. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแม็ค, 2552.
ณัชชา พันธุเจริญ. แกนทฤษฎีดนตรีสากล. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพเกศกะรัต, 2552.
ปนศิริ ศิริปน. รอง...เพลงกับครูปน. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : บริษัทอันศดิสทริบิวชั่น, 2551.
ลัญฉนะวัต นิมมานรตนกุล. หลักการประพันธเพลง. พิมพครั้งที่ 1. นนทบุรี : นิมมานรตนกุล, 2552.
วีรพล วงศาโรจน และคณะ. ดนตรี ๑. พิมพครั้งที่ 1. นนทบุรี : สํานักพิมพเอมพันธ, 2551.
วีระศิลป ชางขนุน และคณะ. ดนตรี-นาฏศิลป ม.3. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : บริษัทพัฒนาคุณภาพ
             วิชาการ (พว.), 2550.
สมนึก อุนแกว. ทฤษฎีดนตรีแนวปฏิบัต.ิ พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : จูนพับลิชชิ่ง, 2538.
สมพงษ กาญจนผลิน. ทักษะการขับรองเพลงไทย. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮาส,
             2552.
สุดใจ ทศพร. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐานกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ดนตรี – นาฏศิลป ม.๑
             ชวงชั้นที่ 3. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน, 2547

Contenu connexe

Tendances

แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4Itt Bandhudhara
 
ข้อสอบศลปะ ป.6 ภูมิปัญญาทางดนตรี
ข้อสอบศลปะ ป.6 ภูมิปัญญาทางดนตรีข้อสอบศลปะ ป.6 ภูมิปัญญาทางดนตรี
ข้อสอบศลปะ ป.6 ภูมิปัญญาทางดนตรีKhunnawang Khunnawang
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนวตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนวทับทิม เจริญตา
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)Petsa Petsa
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิตkanjana2536
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7ekroojaja
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4Sasiprapha Srisaeng
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6Napadon Yingyongsakul
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3Kansinee Kosirojhiran
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความnurmedia
 
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมแบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมNutsara Mukda
 

Tendances (20)

แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
ข้อสอบศลปะ ป.6 ภูมิปัญญาทางดนตรี
ข้อสอบศลปะ ป.6 ภูมิปัญญาทางดนตรีข้อสอบศลปะ ป.6 ภูมิปัญญาทางดนตรี
ข้อสอบศลปะ ป.6 ภูมิปัญญาทางดนตรี
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนวตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
 
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
ใบงาน 1.2 คำศัพท์เกี่ยวกับอุุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ใบงาน 1.2 คำศัพท์เกี่ยวกับอุุปกรณ์คอมพิวเตอร์ใบงาน 1.2 คำศัพท์เกี่ยวกับอุุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ใบงาน 1.2 คำศัพท์เกี่ยวกับอุุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
 
ข้อสอบพลศึกษาป.2
ข้อสอบพลศึกษาป.2ข้อสอบพลศึกษาป.2
ข้อสอบพลศึกษาป.2
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมแบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
 

En vedette

เรื่อง ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)
เรื่อง  ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)เรื่อง  ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)
เรื่อง ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)apipakza
 
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1gueste0411f21
 
แบบฝึกเปียโน 1
แบบฝึกเปียโน 1แบบฝึกเปียโน 1
แบบฝึกเปียโน 1leemeanxun
 
สื่อการสอนวิชาดนตรีไทย
สื่อการสอนวิชาดนตรีไทยสื่อการสอนวิชาดนตรีไทย
สื่อการสอนวิชาดนตรีไทยAkegasit Yangdon
 
โน้ตพื้นบ้าน2 แก้ไข
โน้ตพื้นบ้าน2 แก้ไขโน้ตพื้นบ้าน2 แก้ไข
โน้ตพื้นบ้าน2 แก้ไขbawtho
 
เบส Power point
เบส Power pointเบส Power point
เบส Power pointgonha555
 
แบบฝึกเปียโน 2
แบบฝึกเปียโน 2แบบฝึกเปียโน 2
แบบฝึกเปียโน 2leemeanxun
 
ข้อสอบO-net วิชาดนตรี
ข้อสอบO-net วิชาดนตรีข้อสอบO-net วิชาดนตรี
ข้อสอบO-net วิชาดนตรีThaweekoon Intharachai
 
รวมคอร์ดเพลง
รวมคอร์ดเพลงรวมคอร์ดเพลง
รวมคอร์ดเพลงearthtorres
 
ข้อสอบดนตรีชุดหนึ่ง
ข้อสอบดนตรีชุดหนึ่งข้อสอบดนตรีชุดหนึ่ง
ข้อสอบดนตรีชุดหนึ่งpeter dontoom
 
แบบฝึกการเป่าแคน
แบบฝึกการเป่าแคนแบบฝึกการเป่าแคน
แบบฝึกการเป่าแคนbawtho
 
ธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชี
ธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชีธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชี
ธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชีbawtho
 

En vedette (20)

กีต้าร์สเกล
กีต้าร์สเกลกีต้าร์สเกล
กีต้าร์สเกล
 
กีตาร์
กีตาร์กีตาร์
กีตาร์
 
เรื่อง ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)
เรื่อง  ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)เรื่อง  ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)
เรื่อง ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)
 
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
 
สายกีตาร์
สายกีตาร์สายกีตาร์
สายกีตาร์
 
แบบฝึกเปียโน 1
แบบฝึกเปียโน 1แบบฝึกเปียโน 1
แบบฝึกเปียโน 1
 
สื่อการสอนวิชาดนตรีไทย
สื่อการสอนวิชาดนตรีไทยสื่อการสอนวิชาดนตรีไทย
สื่อการสอนวิชาดนตรีไทย
 
โน้ตพื้นบ้าน2 แก้ไข
โน้ตพื้นบ้าน2 แก้ไขโน้ตพื้นบ้าน2 แก้ไข
โน้ตพื้นบ้าน2 แก้ไข
 
เบส Power point
เบส Power pointเบส Power point
เบส Power point
 
แบบฝึกเปียโน 2
แบบฝึกเปียโน 2แบบฝึกเปียโน 2
แบบฝึกเปียโน 2
 
Thai music10
Thai music10Thai music10
Thai music10
 
Thai music7
Thai music7Thai music7
Thai music7
 
ข้อสอบO-net วิชาดนตรี
ข้อสอบO-net วิชาดนตรีข้อสอบO-net วิชาดนตรี
ข้อสอบO-net วิชาดนตรี
 
รวมคอร์ดเพลง
รวมคอร์ดเพลงรวมคอร์ดเพลง
รวมคอร์ดเพลง
 
Sornsawan5 3 19 pdf
Sornsawan5 3 19 pdfSornsawan5 3 19 pdf
Sornsawan5 3 19 pdf
 
Guitar
GuitarGuitar
Guitar
 
ข้อสอบดนตรีชุดหนึ่ง
ข้อสอบดนตรีชุดหนึ่งข้อสอบดนตรีชุดหนึ่ง
ข้อสอบดนตรีชุดหนึ่ง
 
ดนตรีอีสานเหนือ
ดนตรีอีสานเหนือดนตรีอีสานเหนือ
ดนตรีอีสานเหนือ
 
แบบฝึกการเป่าแคน
แบบฝึกการเป่าแคนแบบฝึกการเป่าแคน
แบบฝึกการเป่าแคน
 
ธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชี
ธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชีธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชี
ธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชี
 

Similaire à ทฤษฎีดนตรี

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11watdang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11watdang
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
แบบฝึกทักษะที่ 1 signs
แบบฝึกทักษะที่  1  signsแบบฝึกทักษะที่  1  signs
แบบฝึกทักษะที่ 1 signskanpapruk
 
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10watdang
 
แผนปฐมนิเทศ 1
แผนปฐมนิเทศ  1แผนปฐมนิเทศ  1
แผนปฐมนิเทศ 1watdang
 
5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา
5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา
5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหาJoice Naka
 
เอกสารประกอบ ตัวประกอบ
เอกสารประกอบ ตัวประกอบเอกสารประกอบ ตัวประกอบ
เอกสารประกอบ ตัวประกอบwarijung2012
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1krumolticha
 
ใบงาน แผน 02
ใบงาน แผน 02ใบงาน แผน 02
ใบงาน แผน 02witthawat silad
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ความคิดสร้างสรรค์อย่างพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ความคิดสร้างสรรค์อย่างพอเพียงแผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ความคิดสร้างสรรค์อย่างพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ความคิดสร้างสรรค์อย่างพอเพียงpeter dontoom
 
แผนภูมิวงกลม
แผนภูมิวงกลมแผนภูมิวงกลม
แผนภูมิวงกลมkroojaja
 
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 

Similaire à ทฤษฎีดนตรี (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
แบบฝึกทักษะที่ 1 signs
แบบฝึกทักษะที่  1  signsแบบฝึกทักษะที่  1  signs
แบบฝึกทักษะที่ 1 signs
 
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
แผนปฐมนิเทศ 1
แผนปฐมนิเทศ  1แผนปฐมนิเทศ  1
แผนปฐมนิเทศ 1
 
Krathong5
Krathong5Krathong5
Krathong5
 
5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา
5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา
5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา
 
Ppp+มิ้น+..
Ppp+มิ้น+..Ppp+มิ้น+..
Ppp+มิ้น+..
 
เอกสารประกอบ ตัวประกอบ
เอกสารประกอบ ตัวประกอบเอกสารประกอบ ตัวประกอบ
เอกสารประกอบ ตัวประกอบ
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1
 
ใบงาน แผน 02
ใบงาน แผน 02ใบงาน แผน 02
ใบงาน แผน 02
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ความคิดสร้างสรรค์อย่างพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ความคิดสร้างสรรค์อย่างพอเพียงแผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ความคิดสร้างสรรค์อย่างพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ความคิดสร้างสรรค์อย่างพอเพียง
 
แผนภูมิวงกลม
แผนภูมิวงกลมแผนภูมิวงกลม
แผนภูมิวงกลม
 
Charter1
Charter1Charter1
Charter1
 
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
 
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
 

ทฤษฎีดนตรี

  • 1.
  • 2. คํานํา เสียงเพลงที่เกิดจากการบรรเลงดนตรีของนักดนตรี และการขับรองของนักรองที่มีความสามารถ ในการถายทอดอารมณเพลงไดอยางครบถวนตามที่ผูประพันธตองการ โดยผานประสบการณความชํานาญ การเรียนรู และความเขาใจในทฤษฎีดนตรีสากล นักรอง นักดนตรี จะตองรูจักวิเคราะหลักษณะโนต และ ระดับเสียงของโนต รวมทั้งสามารถปฏิบัติโนตเพลงไดถูกตอง โนตเพลง เปนสัญลักษณหรือเครื่องหมายที่มนุษยไดคิดคนขึ้นมาใชบันทึกแสดงถึงความสั้น-ยาว และความสูง-ต่ําของเสียงดนตรี ตัวโนตเปรียบเหมือนกับตัวอักษรทีใชบันทึกแทนภาษาพูด คนที่เลนดนตรี ่ เปนหรือรองเพลงได แตไมสามารถอานโนตไดกเ็ หมือนกับคนที่พดได แตอานหนังสือไมออก ยอมขาด ู การพัฒนา เพราะไมสามารถศึกษาหาความรูเพิ่มเติมดวยตนเองได ดังนั้น นักรอง นักดนตรี จึงตองมี ความรูความเขาใจในการอานโนตไดดวย จึงจะมีความเขาใจในบทเพลง และสามารถที่จะบรรเลงเพลงได ทันที โดยอาจจะไมรูจก หรือไมเคยบรรเลงเพลงนั้นมากอนเลยก็ได เพราะโนตเพลงเปนสัญลักษณสากลที่ ั เรียนรูเหมือนกันทั่วโลก สามารถอานและเขาใจไดเชนเดียวกับหนังสือ การเรียนทฤษฎีดนตรีสากล ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เปนแนวทางพื้นฐานสูการปฏิบัติ เครื่องดนตรี นักเรียนจึงควรฝกการอานโนต เพื่อใหเกิดทักษะปฏิบตจนเกิดความคลองแคลวดวยความ ั ิ เขาใจ ในการฝกอานโนตเบืองตนไมจําเปนตองมีการปฏิบัติเครื่องดนตรีในการฝกอาน เพราะบางคนอาจ ้ เลนดนตรียังไมเปน ดังนัน เพื่อใหไดความรูพื้นฐานและฝกใหรูหลักการ จะตองเรียนรูในเรื่องจังหวะ การ ้ เคาะจังหวะ การรูจกจุดเริ่มปฏิบัติโดยอาจฝกปฏิบัติการปรบมือแทนการเลนเครื่องดนตรี รูจักตัวหยุด รูจก ั ั ระดับความสูงต่ําของเสียง โดยการฝกเปลงเสียงรองดวยปากของเราเอง รูสัญลักษณทางดนตรีตาง ๆ ก็จะ ทําใหการปฏิบัติดนตรี และการขับรองไดถูกตองตามหลักทฤษฏีดนตรี สามารถฝกปฏิบัติดวยตนเองได อยางตอเนื่อง ทําใหมีความรูความเขาใจในทฤษฎีดนตรีสากลอยางคงทน สามารถพัฒนาตนเองไปสูการเลน  เครื่องดนตรี หรือขับรองและอานโนตไดอยางมืออาชีพตอไป เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ทฤษฎีดนตรีสากล มีทั้งหมด 4 ชุด ดังนี้ ชุดที่ 1 ตัวโนตและตัวหยุด (Note and Rest) ชุดที่ 2 จังหวะและเครื่องหมายกําหนดจังหวะ (Rhythm and Time Signature) ชุดที่ 3 ระดับเสียง (Pitch) ชุดที่ 4 ฝกอานและขับรองตามระดับเสียงโนต เพื่อความตอเนื่องของเนื้อหา ควรศึกษาเอกสารจากชุดเริ่มตนเรียงลําดับไปจนถึงชุดสุดทาย หวังเปนอยางยิ่งวาเอกสารประกอบการเรียนนี้ จะเปนประโยชนตอนักเรียนและผูที่สนใจไดเปนอยางดี วีระยุทธ ยนยุบล
  • 3. สารบัญ เรื่อง หนา คํานํา …………………………………………………………………………………………….. ก สารบัญ ………………………………………………………………………………………...... ข จุดประสงคการเรียนรู …………………………………………………………………………… 1 คําแนะนําการใชเอกสารประกอบการเรียน ……………………………………………………... 2 กระดาษคําตอบ ………………………………………………………………………………….. 3 แบบทดสอบกอนเรียน ………………………………………………………………………...... 4 ตัวโนตและตัวหยุด (Note and Rest) ..…….................................................................................... 6 ชื่อตัวโนต ……….………………………………….…………………………………………… 6 ลักษณะของตัวโนตและตัวหยุด ………………………………………………………………… 6 การเปรียบเทียบคาตัวโนต ………………………………………………………………………. 7 ความสอดคลองของตัวโนตและตัวหยุด ………………………………………………………… 8 โนตประจุด (Dotted Note) …………………………………………………………………….. 9 โนตโยงเสียง (Tied Note) ………………………………………………………………………. 9 หองเพลง (Measure) ……………………………………………………………………………... 10 ใบงานที่ 1 ตัวโนตและตัวหยุด (Note and Rest) ……………………………………………….. 12 เฉลยใบงานที่ 1 ตัวโนตและตัวหยุด (Note and Rest) …………………………………………... 13 ใบงานที่ 2 โนตประจุด โนตโยงเสียงและหองเพลง (Dotted Note,Tied Note and Measure) ...................................................................................... 14 เฉลยใบงานที่ 2 โนตประจุด โนตโยงเสียงและหองเพลง (Dotted Note,Tied Note and Measure) ……………………………………………………….. 16 แบบฝกที่ 1 ฝกปฏิบัติการเคาะจังหวะอยางสม่ําเสมอและการเนนจังหวะ (Accent) ……………. 18 แบบทดสอบหลังเรียน ………………………………………………………………………....... 20 เฉลยแบบทดสอบกอนและหลังเรียน …………………………………………………………… 22 บรรณานุกรม ……………………………………………………………………………………. 23
  • 4. 1 จุดประสงคการเรียนรู เรื่อง ตัวโนตและตัวหยุด (Note and Rest) หลังจากศึกษาเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1 ตัวโนตและตัวหยุด (Note and Rest) นักเรียน ตองมีความรูความเขาใจ ดังนี้ 1. สามารถบอกความหมายของตัวโนตและตัวหยุดได 2. สามารถเปรียบเทียบคาของตัวโนตและตัวหยุดได 3. สามารถบอกชื่อตัวโนตและตัวหยุดได 4. สามารถอธิบายโนตโยงเสียงและหองเพลงได 5. สามารถปฏิบติการเคาะจังหวะไดอยางสม่ําเสมอและเนนจังหวะในแตละหองเพลงได ั
  • 5. 2 คําแนะนําการใชเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1 ตัวโนตและตัวหยุด (Note and Rest) เอกสารประกอบการเรียนเลมนี้ จัดทําขึ้นเพื่อใชประกอบการเรียนการสอนรายวิชาศิลปะ รหัสวิชา ศ 31101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 การศึกษาหาความรูจากเอกสารเลมนี้ ใหปฏิบติตามขั้นตอนดังตอไปนี้ ั 1. ทําแบบทดสอบกอนเรียน จํานวน 10 ขอ ลงในกระดาษคําตอบ 2. ศึกษาเนื้อหาสาระความรูใหเขาใจ ถาไมเขาใจสามารถยอนกลับไปศึกษาใหมได 3. ทําใบงานทุกใบงาน โดยปฏิบัติกิจกรรมที่ระบุในใบงานใหครบทุกขั้นตอน 4. ตรวจคําตอบใบงาน จากเฉลยใบงาน เพื่อวัดผลการเรียนรู 5. ถาตอบผิดควรกลับไปศึกษาเนื้อหาใหมอีกครั้ง 5. ปฏิบัติกิจกรรมตามแบบฝก ใหครบทุกบทฝก (ในแตละแบบฝกจะมีหลายบทฝก) จนเกิดทักษะ และความคลองแคลวในการปฏิบัติ 6. ทําแบบทดสอบหลังเรียน จํานวน 10 ขอ ลงในกระดาษคําตอบ 7. ตรวจคําตอบแบบทดสอบกอนและหลังเรียน จากเฉลย 8. สรุปผลคะแนนที่ไดลงในกระดาษคําตอบ 9. ประธานกลุมรวบรวมกระดาษคําตอบสงครู
  • 6. 3 กระดาษคําตอบ เรื่อง ตัวโนตและตัวหยุด (Note and Rest) ชื่อ-สกุล………………………………………………………เลขที่………………….ชั้น…………… ทดสอบกอนเรียน ทดสอบหลังเรียน ขอ ก ข ค ง ขอ ก ข ค ง 1 1 2 2 3 3 4 4 5 5 6 6 7 7 8 8 9 9 10 10 ลงชื่อ………………..……………….ผูตรวจ ลงชื่อ………………..……………….ผูตรวจ ( ) ( ) สรุปผล แบบทดสอบ กอนเรียน (10 คะแนน) หลังเรียน (10 คะแนน) คะแนนที่ได
  • 7. 4 แบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง ตัวโนตและตัวหยุด (Note and Rest) คําชี้แจง โปรดเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุด ลงในกระดาษคําตอบ ใชเวลา 5 นาที 1. ขอใดไมใชอักษรแทนเสียงดนตรี ระบบตัวอักษร (Letter System) ในระบบชื่อตัวโนต ก. C E G ข. D F A ค. I H K ง. A B C 2. ขอใดคือความหมายของตัวโนต ก. เปนสัญลักษณที่บันทึกแทนความสูง-ต่ํา ของเสียง ข. เปนสัญลักษณที่บันทึกแทนความดัง-เบา ของเสียง ค. เปนสัญลักษณที่บันทึกแทนความสั้น-ยาว ของเสียง ง. เปนสัญลักษณที่บนทึกแทนความสั้น-ยาว ของความเงียบ ั 3. ความหมายของตัวหยุด คือ ก. เปนสัญลักษณที่บันทึกแทนความสูง-ต่ํา ของเสียง ข. เปนสัญลักษณที่บันทึกแทนความดัง-เบา ของเสียง ค. เปนสัญลักษณที่บันทึกแทนความสั้น-ยาว ของเสียง ง. เปนสัญลักษณที่บันทึกแทนความสั้น-ยาว ของความเงียบ 4. ชื่อตรงกับสัญลักษณของตัวโนตในขอใดไมถูกตอง ก. = ตัวขาว ข. = ตัวดํา ค. = ตัวเขบ็ต 1 ชั้น ง. = ตัวเขบ็ต 2 ชั้น
  • 8. 5 5. ขอใดกลาวไดถูกตองเกี่ยวกับโนตโยงเสียง ก. ทําใหคาความยาวของตัวโนตเพิ่มขึ้นเทากับโนตสองตัวรวมกัน ข. ทําใหคาของโนตลดลงครึ่งหนึ่งของตัวมันเอง ค. ทําใหทราบถึงความสูงขึ้นของเสียง ง. เปนตัวบอกใหหยุดออกเสียงในโนตระดับนั้น ๆ 6. ขอใดกลาวถึงโนตประจุดไดถูกตอง ก. โนตตัวขาวประจุดมีคาเทากับโนตตัวดําสามตัว ข. โนตตัวดําประจุดมีคาเทากับโนตตัวเขบ็ต 1 ชั้น 4 ตัว ค. โนตตัวกลมประจุดมีคาเทากับโนตตัวขาว 2 ตัว ง. โนตตัวเขบ็ต 1 ชั้นประจุดมีคาเทากับโนตตัวดํา 1 ตัว 7. การเปรียบเทียบคาของตัวโนตขอใดถูกตอง ก. โนตตัวขาว มีคาเทากับ 1 ของโนตตัวกลม 4 ข. โนตตัวดํา มีคาเทากับ 1 ของโนตตัวกลม 2 ค. โนตตัวเขบ็ต 1 ชั้น มีคาเทากับ 1 ของโนตตัวกลม 8 ง. โนตตัวเขบ็ต 2 ชั้น มีคาเทากับ 1 ของโนตตัวกลม 32 8. ในการเคาะจังหวะเนนของหองเพลงในขอใดกลาวผิด ก. การเนนทุก ๆ สองจังหวะคือเคาะหองละสองครั้ง ข. การเนนทุก ๆ สองจังหวะคือเนนในจังหวะที่สอง ค. การเนนทุก ๆ สามจังหวะคือเนนในจังหวะที่หนึ่ง ง. การเนนทุก ๆ สี่จังหวะคือเนนในจังหวะที่หนึ่ง 9. ขอใดกลาวผิดเกี่ยวกับเสนกั้นหอง ก. เสนกั้นหองจะกันไวหนาจังหวะเนนของแตละกลุม ้ ข. เสนกั้นหองจะเปนเสนตรงแนวนอนหาเสน ค. ถาเปนเสนคูบางสองเสนติดกันคือบอกจบทอนเพลง ง. เสนจบจะเปนเสนคูบางและหนาคูกน ั 10. การกระจายตัวโนตในขอใดกลาวผิด ก. โนตตัวดําเทากับโนตตัวเขบ็ต 1 ชั้น 2 ตัว ข. โนตตัวขาวเทากับโนตตัวเขบ็ต 1 ชั้น 4 ตัว ค. โนตตัวกลมเทากับโนตตัวเขบ็ต 1 ชั้น 6 ตัว ง. โนตตัวกลมเทากับโนตตัวขาว 2 ตัว
  • 9. 1. ตัวโนต เปนสัญลักษณทบันทึกแทน ความสั้น- ยาว ของเสียง ี่ 2. ตัวหยุด เปนสัญลักษณทบันทึกแทน ความสั้น-ยาว ของความเงียบ ่ี 3. ชื่อตัวโนต (Note Name) ชื่อและอักษรแทนเสียงดนตรี เรียงตามลําดับจากเสียงต่ําไปหาเสียงสูง ดังนี้ ระบบตัวอักษร (Letter System) C D E F G A B C ระบบโซ-ฟา (So-Fa System) Do Re Mi Fa Sol La Ti Do ระบบเซอเว (Serway System) 1 2 3 4 5 6 7 1 ระบบอักษรไทย (Thai Alphabet System) ด ร ม ฟ ซ ล ท ด ชื่อระดับเสียง โด เร มี ฟา ซอล ลา ที โด 4. ลักษณะของตัวโนตและตัวหยุด ตัวโนต ตัวหยุด ชื่อไทย ชื่ออังกฤษ ชื่ออเมริกัน ตัวกลม Semibreve Whole note หรือ ตัวขาว Minim Half note หรือ ตัวดํา Crotchet Quarter note หรือ ตัวเขบ็ต 1 ชั้น Quaver Eighth note หรือ ตัวเขบ็ต 2 ชั้น Semi Quaver Sixteenth note
  • 10. 7 5. การเปรียบเทียบคาของตัวโนต จะเห็นวา โนต ตัวขาว มีคาเทากับ 1 ของโนต ตัวกลม 2 โนต ตัวดํา มีคาเทากับ 1 ของโนต ตัวกลม 4 โนต ตัวเขบ็ต 1 ชั้น มีคาเทากับ 1 ของโนต ตัวกลม 8 โนต ตัวเขบ็ต 2 ชั้น มีคาเทากับ 1 ของโนต ตัวกลม 16 หรือ =2 =4 =8 = 16 สวนตัวหยุด ใหเปรียบเทียบคาเหมือนกับตัวโนต อัตราความสั้น-ยาวของตัวโนตและตัวหยุดจะมีกี่จังหวะนั้น จะขึ้นอยูกบเครื่องหมายกําหนดจังหวะ ั (รายละเอียดในบทเรียนตอไป)
  • 11. 8 แผนภูมิการกระจาย และเปรียบเทียบคาตัวโนต 6. ความสอดคลองของตัวโนตและตัวหยุด ตัวโนต ตัวหยุด ตัวหยุดลักษณะตาง ๆ ตามคาตัวโนต สิ่งที่ควรรู 1. โนตแตละตัว หมายถึง เสียง 1 เสียง ความยาวของเสียงขึ้นอยูกบ “คาตัวโนต” ั 2. ตัวหยุด มีหนาที่พกเสียงดนตรี สวนจะพักนานเทาใด ขึ้นอยูกบ “คาตัวหยุด” ยกตัวอยางเชน ั ั ตัวหยุดตัวกลม พักเสียง 4 จังหวะ แตอยาลืมวาจังหวะจะดําเนินไปเรื่อย ๆ
  • 12. 9 7. โนตประจุด (Dotted Note) จุดที่อยูหลังตัวโนตหรือตัวหยุด จะมีคาเปนครึ่งหนึ่งของตัวโนต หรือ ตัวหยุด เชน  8. โนตโยงเสียง (Tied Note) เครื่องหมายโยงเสียง (Tie) เปนเสนโคงที่ลากเชื่อมระหวางตัวโนต 2 ตัว เครื่องหมายโยงเสียง มักใชในกรณีที่โนตตัวเดียวกันมีเสียงยาวขามหองเพลง หรือขามหนวยจังหวะ ซึ่งไมสามารถแสดงคาตัว โนตเพียงตัวเดียวได โนตโยงเสียงจะเลนครั้งเดียว คือ เลนเฉพาะโนตตัวแรกเทานั้น และจะถูกลากเสียง ไปจนสิ้นสุดคาของโนตตัวสุดทายที่เครื่องหมายโยงเสียงลากไปถึง ซึ่งหมายถึง ทําใหคาความยาวของตัว โนตเพิ่มขึ้นเทากับโนตสองตัวรวมกัน โนตโยงเสียงใหเขียนเครื่องหมายโยงเสียงกํากับไวบนหัวตัวโนต เทานั้น ไมเขียนบนหางตัวโนต สวนตัวหยุดไมตองใชเครื่องหมายโยงเสียง ตัวอยาง เชน Tie Tie
  • 13. 10 9. หองเพลง (Measure) เปนการแบงกลุมการเคาะจังหวะ ในขณะที่เลนดนตรีจะมีการเคาะจังหวะอยางสม่ําเสมอ และ มีการเนนจังหวะ (Accent หรือ >) หนัก-เบา สลับกันไปเปนกลุม ๆ ดังนี้ > > > > เนนทุก ๆ 2 จังหวะ จังหวะเคาะ 1 2 1 2 1 2 1 2 > > > เนนทุก ๆ 3 จังหวะ จังหวะเคาะ 1 2 3 1 2 3 1 2 3 > > > เนนทุก ๆ 4 จังหวะ จังหวะเคาะ 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 ในการเขียนโนตนั้น เราตองจัดกลุมตัวโนตออกเปนกลุมละสองจังหวะ สามจังหวะ หรือสี่จังหวะ  ตามจังหวะเนน โดยใชเสนตรงตั้งฉาก ( ) ซึ่งเรียกวา เสนกั้นหอง (Bar – Line) กั้นไวหนาจังหวะเนน ของแตละกลุม (ยกเวนการเนนครั้งแรก) เมื่อจบทอนเพลงใหกั้นดวย เสนคู ( ) (Double Bar – Line)  และเมื่อจบบทเพลงใหกนดวย เสนจบ ( ) ั้ เสนกั้นหอง เสนคู เสนกั้นหอง เสนจบ > > > > กลุมละสี่จังหวะ 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4
  • 14. 11 เมื่อใชเสนกันหองแลว ตัวโนต ก็จะถูกบรรจุอยูในชองวาง ซึ่งเรียกวา หองเพลง (Measure or ้ Bar) หรือ เรียกสั้น ๆ วา หอง หองที่ 1 หองที่ 2 หองที่ 3 หองที่ 4 หองละสี่จังหวะ 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 โนตตัวแรกของแตละหอง เปนจังหวะเนนเสมอ แสดงลักษณะของหองเพลงเมื่อเขียนเปนโนตเพลง หองที่ 1 หองที่ 2 หองที่ 3 เสนกันหอง (Bar – Line) ้ หองที่ 4 หองที่ 5 หองที่ 6 หองที่ 7 หองที่ 8 เสนจบ
  • 15. 12 ใบงานที่ 1 เรื่อง ตัวโนตและตัวหยุด ชื่อ..................................................นามสกุล................................................เลขที่...........ชั้น............... คําชี้แจง ใหนกเรียนตอบคําถามจากโจทยดานลางนี้ใหถูกตอง ั 1. ตัวโนต หมายถึง …………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………... 2. ตัวหยุด หมายถึง ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………... 3. โนตตัวกลม 1 ตัว มีคาเทากับโนตตัวดํากี่ตว ……………...……………………………………………. ั 4. โนตตัวดํา 1 ตัว มีคาเทากับโนตตัวเขบ็ต 1 ชั้น กี่ตว …………………………………………………… ั 5. โนตตัวดํา 1 ตัว มีคาเทากับโนตตัวเขบ็ต 2 ชั้น กี่ตว …………………………………………………… ั 6. โนตตัวเขบ็ต 1 ชั้น 1 ตัว มีคาเทากับโนตเขบ็ต 2 ชั้น กี่ตัว …………………………………………….. 7. ตัวหยุดตัวดํา 1 ตัว มีคาเทากับตัวหยุดตัวเขบ็ต 1 ชั้น กี่ตัว …………….…………………….…………  8. ตัวหยุดตัวขาว 1 ตัว มีคาเทากับตัวหยุดตัวตัวดํากี่ตัว ......………….………….…………………………  9. ตัวหยุดตัวกลม 1 ตัว มีคาเทากับตัวหยุดตัวขาวกี่ตัว ……………………………………………………. 10. ใหนกเรียนเขียนการเปรียบเทียบคาของตัวโนตลงในตารางใหถูกตอง (เขียนตัวโนตลงในตาราง) ั
  • 16. 13 เฉลยใบงานที่ 1 เรื่อง ตัวโนตและตัวหยุด 1. ตัวโนต หมายถึง สัญลักษณบันทึกแทนความสั้น-ยาวของเสียง 2. ตัวหยุด หมายถึง สัญลักษณบันทึกแทนความสั้น-ยาวของความเงียบ 3. โนตตัวกลม 1 ตัว มีคาเทากับโนตตัวดํา 4 ตัว 4. โนตตัวดํา 1 ตัว มีคาเทากับโนตตัวเขบ็ต 1 ชั้น 2 ตัว 5. โนตตัวดํา 1 ตัว มีคาเทากับโนตตัวเขบ็ต 2 ชั้น 4 ตัว 6. โนตตัวเขบ็ต 1 ชั้น 1 ตัว มีคาเทากับโนตเขบ็ต 2 ชั้น 2 ตัว 7. ตัวหยุดตัวดํา 1 ตัว มีคาเทากับตัวหยุดตัวเขบ็ต 1 ชั้น 2 ตัว  8. ตัวหยุดตัวขาว 1 ตัว มีคาเทากับตัวหยุดตัวตัวดํา 2 ตัว 9. ตัวหยุดตัวกลม 1 ตัว มีคาเทากับตัวหยุดตัวขาว 2 ตัว 10.ใหนกเรียนเขียนการเปรียบเทียบคาของตัวโนตลงในตารางใหถูกตอง (เขียนตัวโนตลงในตาราง) ั
  • 17. 14 ใบงานที่ 2 เรื่อง โนตประจุด โนตโยงเสียง และหองเพลง ชื่อ..................................................นามสกุล................................................เลขที่...........ชั้น............... คําชี้แจง นักเรียนปฏิบัติดังนี้ 1. ใหนกเรียนแสดงคาโนตประจุดโดยใชลักษณะตัวโนต ั ตัวอยาง = + 1.1 =…………….+……………. 1.2 =…………….+……………. 1.3 =…………….+……………. 1.4 =…………….+……………. 1.5 =…………….+……………. 2. จากภาพตอไปนี้ จงเขียนเครื่องหมายโยงเสียง(Tie)ระหวางโนตตัวสุดทายและโนตตัวแรกของหองเพลง ใหถูกตอง
  • 18. 15 3. ใหนกเรียนเขียนลักษณะการเนนจังหวะกลุมการเคาะ 2 จังหวะ มาใหถูกตอง (เขียนโนตตัวดํา ตัวเลข ั จังหวะเคาะและเครื่องหมายเนนจังหวะ (Accent หรือ >) หนัก-เบา สลับกันไปเปนกลุม ๆ ) ……………………………………………………………………………………...………........................... ………………………………………………………………………………………………………...……… 4. ใหนกเรียนเขียนลักษณะการเนนจังหวะกลุมการเคาะ 3 จังหวะ มาใหถูกตอง (เขียนโนตตัวดํา ตัวเลข ั จังหวะเคาะและเครื่องหมายเนนจังหวะ (Accent หรือ >) หนัก-เบา สลับกันไปเปนกลุม ๆ ) ……………………………………………………………………………………………………...………... ………………………………………………………………………………………………………...……… 5. ใหนกเรียนเขียนลักษณะการเนนจังหวะกลุมการเคาะ 4 จังหวะ มาใหถูกตอง (เขียนโนตตัวดํา ตัวเลข ั จังหวะเคาะและเครื่องหมายเนนจังหวะ (Accent หรือ >) หนัก-เบา สลับกันไปเปนกลุม ๆ ) ………………………………………………………………………………………………………...……… ………………………………………………………………………………………………………...………
  • 19. 16 เฉลยใบงานที่ 2 เรื่อง โนตประจุดและหองเพลง 1. ใหนกเรียนแสดงคาโนตประจุดโดยใชลักษณะตัวโนต ั 1.1 = + 1.2 = + 1.3 = + 1.4 = + …+ 1.5 = + 2. จากภาพตอไปนี้ จงเขียนเครื่องหมายโยงเสียง(Tie)ระหวางโนตตัวสุดทายและโนตตัวแรกของหองเพลง ใหถูกตอง (2) (3) (1)
  • 20. 17 3. ใหนกเรียนเขียนลักษณะการเนนจังหวะกลุมการเคาะ 2 จังหวะ มาใหถูกตอง(เขียนโนตตัวดํา ตัวเลข ั จังหวะเคาะและเครื่องหมายเนนจังหวะ (Accent หรือ >) หนัก-เบา สลับกันไปเปนกลุม ๆ ) > > > > เนนทุกๆ 2จังหวะ จังหวะเคาะ 1 2 1 2 1 2 1 2 4. ใหนกเรียนเขียนลักษณะการเนนจังหวะกลุมการเคาะ 3 จังหวะ มาใหถกตอง(เขียนโนตตัวดํา ตัวเลข ั ู จังหวะเคาะและเครื่องหมายเนนจังหวะ (Accent หรือ >) หนัก-เบา สลับกันไปเปนกลุม ๆ ) > > > เนนทุก ๆ 3 จังหวะ 1 2 3 1 2 3 1 2 3 จังหวะเคาะ 5. ใหนกเรียนเขียนลักษณะการเนนจังหวะกลุมการเคาะ 4 จังหวะ มาใหถูกตอง(เขียนโนตตัวดํา ตัวเลข ั จังหวะเคาะและเครื่องหมายเนนจังหวะ (Accent หรือ >) หนัก-เบา สลับกันไปเปนกลุม ๆ ) > > > เนนทุก ๆ 4 จังหวะ จังหวะเคาะ 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4
  • 21. 18 แบบฝกที่ 1 เรื่อง ฝกปฏิบัติการเคาะจังหวะอยางสม่ําเสมอและการเนนจังหวะ (Accent) คําชี้แจง 1. ปฏิบัตการเคาะจังหวะอยางสม่ําเสมอ โดยฝกจากชา ปานกลาง และเร็วตามลําดับ ิ 2. ในการเคาะจังหวะมีการเนนจังหวะ (Accent) หนัก-เบา สลับกันไปเปนกลุม ๆ ตามบทฝก 3. เครื่องหมาย > หมายถึง จังหวะที่เนนในกลุมของการแบงหองเพลง 4. ใชโนตตัวดํา เปนเกณฑในการฝก โดยใหคาอัตราการเคาะเทากับ 1 จังหวะ คือ เคาะเทาลงและยกขึ้น (ดังรูปภาพ) 5. เปลงเสียงนับตามจังหวะเคาะโดยเนนเสียงดังในจังหวะที่ 1 ของหอง 6. ฝกปฏิบัติในแตละบทฝกจนเกิดความเขาใจ ภาพแสดงการเคาะจังหวะดวยเทา (ภาพโดย นายวีระยุทธ ยนยุบล เมื่อ พฤษภาคม 2552) บทฝกที่ 1 ฝกเคาะจังหวะเนนทุก ๆ 2 จังหวะ กลุมการเคาะจังหวะอยางสม่าเสมอ โดยเนนทุก ๆ 2 จังหวะ ํ หองที่ 1 หองที่ 2 หองที่ 3 หองที่ 4 หองที่ 5 หองที่ 6 หองที่ 7 หองที่ 8 > > > > > > > > จังหวะเคาะ 1 2 1 2 1 2 1 2 1 2 1 2 1 2 1 2
  • 22. 19 บทฝกที่ 2 ฝกเคาะจังหวะเนนทุก ๆ 3 จังหวะ กลุมการเคาะจังหวะอยางสม่าเสมอ โดยเนนทุก ๆ 3 จังหวะ ํ หองที่ 1 หองที่ 2 หองที่ 3 หองที่ 4 หองที่ 5 หองที่ 6 > > > > > > จังหวะเคาะ 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 หองที่ 7 หองที่ 8 > > จังหวะเคาะ 1 2 3 1 2 3 บทฝกที่ 3 ฝกเคาะจังหวะเนนทุก ๆ 4 จังหวะ กลุมการเคาะจังหวะอยางสม่าเสมอ โดยเนนทุก ๆ 4 จังหวะ ํ หองที่ 1 หองที่ 2 หองที่ 3 หองที่ 4 > > > > จังหวะเคาะ 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 หองที่ 5 หองที่ 6 หองที่ 7 หองที่ 8 > > > > จังหวะเคาะ 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4
  • 23. 20 แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ตัวโนตและตัวหยุด คําชี้แจง โปรดเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุด ลงในกระดาษคําตอบ ใชเวลา 5 นาที 1. ขอใดคือความหมายของตัวโนต ก. เปนสัญลักษณที่บันทึกแทนความสูง-ต่ํา ของเสียง ข. เปนสัญลักษณที่บันทึกแทนความดัง-เบา ของเสียง ค. เปนสัญลักษณที่บันทึกแทนความสั้น-ยาว ของเสียง ง. เปนสัญลักษณที่บนทึกแทนความสั้น-ยาว ของความเงียบ ั 2. ความหมายของตัวหยุด คือ ก. เปนสัญลักษณที่บันทึกแทนความสูง-ต่ํา ของเสียง ข. เปนสัญลักษณที่บันทึกแทนความดัง-เบา ของเสียง ค. เปนสัญลักษณที่บันทึกแทนความสั้น-ยาว ของเสียง ง. เปนสัญลักษณที่บันทึกแทนความสั้น-ยาว ของความเงียบ 3. ขอใดไมใชอักษรแทนเสียงดนตรี ระบบตัวอักษร (Letter System) ในระบบชื่อตัวโนต ก. C E G ข. D F A ค. I H K ง. A B C 4. ขอใดกลาวไดถูกตองเกี่ยวกับโนตโยงเสียง ก. ทําใหคาความยาวของตัวโนตเพิ่มขึ้นเทากับโนตสองตัวรวมกัน ข. ทําใหคาของโนตลดลงครึ่งหนึ่งของตัวมันเอง ค. ทําใหทราบถึงความสูงขึ้นของเสียง ง. เปนตัวบอกใหหยุดออกเสียงในโนตระดับนั้น ๆ 5. ขอใดกลาวผิดเกี่ยวกับเสนกั้นหอง ก. เสนกั้นหองจะกันไวหนาจังหวะเนนของแตละกลุม ้ ข. เสนกั้นหองจะเปนเสนตรงแนวนอนหาเสน ค. ถาเปนเสนคูบางสองเสนติดกันคือบอกจบทอนเพลง ง. เสนจบจะเปนเสนคูบางและหนาคูกน ั
  • 24. 21 6. การเปรียบเทียบคาของตัวโนตขอใดถูกตอง ก. โนตตัวขาว มีคาเทากับ 1 ของโนตตัวกลม 4 ข. โนตตัวดํา มีคาเทากับ 1 ของโนตตัวกลม 2 ค. โนตตัวเขบ็ต 1 ชั้น มีคาเทากับ 1 ของโนตตัวกลม 8 ง. โนตตัวเขบ็ต 2 ชั้น มีคาเทากับ 1 ของโนตตัวกลม 32 7. การกระจายตัวโนตในขอใดกลาวผิด ก. โนตตัวดําเทากับโนตตัวเขบ็ต 1 ชั้น 2 ตัว ข. โนตตัวขาวเทากับโนตตัวเขบ็ต 1 ชั้น 4 ตัว ค. โนตตัวกลมเทากับโนตตัวเขบ็ต 1 ชั้น 6 ตัว ง. โนตตัวกลมเทากับโนตตัวขาว 2 ตัว 8. ขอใดกลาวถึงโนตประจุดไดถูกตอง ก. โนตตัวขาวประจุดมีคาเทากับโนตตัวดําสามตัว ข. โนตตัวดําประจุดมีคาเทากับโนตตัวเขบ็ต 1 ชั้น 4 ตัว ค. โนตตัวกลมประจุดมีคาเทากับโนตตัวขาว 2 ตัว ง. โนตตัวเขบ็ต 1 ชั้นประจุดมีคาเทากับโนตตัวดํา 1 ตัว 9. ในการเคาะจังหวะเนนของหองเพลงในขอใดกลาวผิด ก. การเนนทุก ๆ สองจังหวะคือเคาะหองละสองครั้ง ข. การเนนทุก ๆ สองจังหวะคือเนนในจังหวะที่สอง ค. การเนนทุก ๆ สามจังหวะคือเนนในจังหวะที่หนึ่ง ง. การเนนทุก ๆ สี่จังหวะคือเนนในจังหวะที่หนึ่ง 10. ชื่อตรงกับสัญลักษณของตัวโนตในขอใดไมถูกตอง ก. = ตัวขาว ข. = ตัวดํา ค. = ตัวเขบ็ต 1 ชั้น ง. = ตัวเขบ็ต 2 ชั้น
  • 25. 22 เฉลยแบบทดสอบ เรื่อง ตัวโนตและตัวหยุด ขอที่ แบบทดสอบกอนเรียน ขอที่ แบบทดสอบหลังเรียน 1 ค 1 ค 2 ค 2 ง 3 ง 3 ค 4 ก 4 ก 5 ก 5 ค 6 ก 6 ค 7 ค 7 ค 8 ข 8 ก 9 ข 9 ข 10 ค 10 ก
  • 26. บรรณานุกรม โกวิท ประวารพฤกษ. ดนตรี – นาฏศิลป ม.3. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.), 2548. จิตตพันธ แสนเมือง และคณะ. การปฏิบัติขลุย. พิมพครั้งที่ 2. ขอนแกน : โรงพิมพคลังนานาวิทยา, 2550. จีรพันธ สมประสงค. ศิลปะ ม.1. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแม็ค, 2552. ณัชชา พันธุเจริญ. แกนทฤษฎีดนตรีสากล. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพเกศกะรัต, 2552. ปนศิริ ศิริปน. รอง...เพลงกับครูปน. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : บริษัทอันศดิสทริบิวชั่น, 2551. ลัญฉนะวัต นิมมานรตนกุล. หลักการประพันธเพลง. พิมพครั้งที่ 1. นนทบุรี : นิมมานรตนกุล, 2552. วีรพล วงศาโรจน และคณะ. ดนตรี ๑. พิมพครั้งที่ 1. นนทบุรี : สํานักพิมพเอมพันธ, 2551. วีระศิลป ชางขนุน และคณะ. ดนตรี-นาฏศิลป ม.3. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : บริษัทพัฒนาคุณภาพ วิชาการ (พว.), 2550. สมนึก อุนแกว. ทฤษฎีดนตรีแนวปฏิบัต.ิ พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : จูนพับลิชชิ่ง, 2538. สมพงษ กาญจนผลิน. ทักษะการขับรองเพลงไทย. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮาส, 2552. สุดใจ ทศพร. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐานกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ดนตรี – นาฏศิลป ม.๑ ชวงชั้นที่ 3. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน, 2547