SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  28
Télécharger pour lire hors ligne
1
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ในการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ครูผู้สอน
ต้องศึกษาองค์ความรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้เข้าใจถูกต้อง ซึ่งหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ที่ต้องผ่านพระบาทราชวินิจฉัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีดังนี้
“เศรษฐกิจพอเพียง”เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุก
ระดับ ตั้งแต่ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไป
ในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง
หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
พอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้อง
อาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการ
วางแผนและดาเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ
โดยเฉพาะ เจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์
สุจริต และให้มีความรอบรู้ ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา และ
ความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้ง
ด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็น อย่างดี
หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง
ในการพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้
้
้ ้
มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ทั้งในฐานะ
พลเมืองไทยและพลโลก และให้สอดคล้องกับหลักการเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว ตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนข้อที่ 5 คืออยู่อย่างพอเพียง มี 2 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 5.1 ดาเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรมและตัวชี้วัดที่ 5.2
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคม ได้อย่างมีความสุข
การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือการพัฒนาทั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลาง
และความไม่ประมาท โดยคานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว
ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจ และการ
กระทา มีหลักการพิจารณา 5 ส่วน ดังนี้
1. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการดารงอยู่และการปฏิบัติตนในทางที่ควร
จะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา
และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย
และวิกฤต เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา
2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้
ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน
3. คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ พร้อม ๆกัน ดังนี้
3.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไป
โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
3.2 ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น
จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะ
เกิดขึ้นจากการกระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ
2
3.3 การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ
และการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ
ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นทั้งใกล้และไกล
4. เงื่อนไข การตัดสินใจและดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้นต้องอาศัยทั้ง
ความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน 2 เงื่อนไข ดังนี้
4.1 เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ
อย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบ
การวางแผนและความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ
4.2 เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนัก
ในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต
ไม่โลภ และไม่ตระหนี่
5.แนวทางปฏิบัติ ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน
ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้และเทคโนโลยี
สรุปหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดชั้นปี เพื่อกาหนดตัวชี้วัดรายภาคเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
สาระการเรียนรู้
สาระที่ 4
พีชคณิต

สาระที่ 5
การวิเคราะห์ข้อมูล
และความน่าจะเป็น

สาระที่ 5
การวิเคราะห์ข้อมูล
และความน่าจะเป็น

มาตรฐานการเรียนรู้
ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ 1. ใช้ความรู้เกี่ยวกับอสมการเชิงเส้น
ตัว
สมการ อสมการ กราฟ และ แปร เดียว ในการแก้ปัญหาพร้อมทั้ง
ตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์
ตระหนักถึงความสมเหตุ สมผลของ
(mathematical model) อื่น ๆ คาตอบ
แทนสถานการณ์ต่าง ตลอดจน
ๆ
แปลความหมายและนาไปใช้
แก้ปัญหา
มาตรฐาน ค 5.1 เข้าใจและ 1. กาหนดประเด็และเขียนข้อคาถาม
น
ใช้วิธีการทางสถิติในการ
เกี่ยวกับปัญหาหรือสถานการณ์ต่าๆ
ง
วิเคราะห์ข้อมูล
รวมทั้งกาหนดวิธีการศึกษาและ
การเก็บรวบรวมข้อมูลที่เหมาะสม
2. หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และ
ฐานนิยมของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจง
ความถี่ และเลือกใช้ อย่างเหมาะสม
ได้
3. นาเสนอข้อมูลในรูปแบบ
ที่เหมาะสม
4. อ่าน แปลความหมาย และ
วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการนาเสนอ
มาตรฐาน ค 5.2 ใช้วิธีการทาง1. หาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
สถิติและความรู้เกี่ยวกับความ จากการทดลองสุ่มที่ผลแต่ละตัวมี
น่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้ โอกาสเกิดขึ้นเท่า ๆ กัน และใช้ความรู้
อย่างสมเหตุสมผล
เกี่ยวกับความน่าจะเป็นคาดการณได้
อย่างสมเหตุสมผล
4
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 5
มาตรฐาน ค 5.3 ใช้ความรู้
การวิเคราะห์ข้อมูล เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะ
และความน่าจะเป็น เป็นช่วยในการตัดสินใจและ
แก้ปัญหา
สาระที่ 6
ทักษะและ
กระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์

ตัวชี้วัด
1. ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและ
ความ
น่าจะเป็นประกอบการ ัดสินใจ
ต
ในสถานการณ์ต่าง ๆ
2. อภิปรายถึงความคลาดเคลื่อน าจ
ที่อ
เกิดขึ้นได้จากการนาเสนอข้อมูลทาง
สถิติ
มาตรฐาน ค 6.1 มี
1. ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
ความสามารถในการแก้ปัญหา 2. ใช้ความรู้ ทักษะ กระบวนการ
การให้เหตุผล การสื่อสาร ทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีใน
การสื่อความหมายทาง
การแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ
คณิตศาสตร์ และการนาเสนอ ได้อย่างเหมาะสม
3. ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ
การเชื่อมโยงความรู้ ต่าง ๆ
และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
ทางคณิตศาสตร์ และ
4. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทาง
เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับ
คณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อ
ศาสตร์อื่นๆ และมีความคิด ความหมาย และการนาเสนอ อย่าง
ได้
ริเริ่มสร้างสรรค์
ถูกต้องและชัดเจน
5. เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆใน
คณิตศาสตร์ และนาความรู้หลักการ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไป
เชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ
6. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
5
คาอธิบายรายวิชา
ค23102 คณิตศาสตร์ 6
มัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2

กลุ่มสาระการเรียนรูคณิตศาสตร์
้
เวลา 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคานวณ จัดการเรียนรูโดยใช้ประสบการณ์หรือสถานการณ์ใน
้
ชีวิตประจาวันที่ใกล้ตัวผู้เรียน ให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุปรายงาน
และฝึกทักษะ/กระบวนการในสาระต่อไปนี้
อสมการ คาตอบและกราฟแสดงคาตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแก้
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สถิติเบื้องต้น การเก็บรวบรวมข้อมูล การนาเสนอข้อมูล การหาค่ากลางของข้อมูล
และการนาไปใช้ การวิเคราะห์ข้อมูลจากการนาเสนอข้อมูล
ความน่าจะเป็น การทดลองสุ่มและเหตุการณ์ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ การใช้
ความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ การใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็น
ประกอบการตัดสินใจ
การเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ด้วยการใช้วิธีทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับเลข
ยกกาลัง อัตราส่วนร้อยละ ปริมาตรและพื้นที่ผิว สถิติ ความน่าจะเป็น
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การ
สื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ การนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ และสามารถนาไปใช้ใน
การเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่า และเจตคติที่ดีต่อ
คณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็นระบบ ระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและ
ความเชื่อมั่นในตนเอง
ตัวชี้วัด
ค4.2 ม3/1
ค5.1 ม3/1,ม3/2,ม3/3,ม3/4
ค5.2 ม3/1
ค5.3 ม3/1,ม3/2
ค6.1 ม3/1,ม3/2,ม3/3,ม3/4,ม3/5,ม3/6
รวมทั้งหมด 14 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด
1. ใช้ความรู้เกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นแปร เดียว ในการแก้ปัญหาพร้อมทั้งตระหนัก งความสม
ตัว
ถึ
เหตุ สมผลของคาตอบ
2 หาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์จากการทดลองสุ่มที่ผลแต่ละตัวมีโอกาสเกิดขึ้นเท่า ๆ
กัน และใช้ความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นคาดการณได้อย่างสมเหตุสมผล
3. กาหนดประเด็และเขียนข้อคาถาม เกี่ยวกับปัญหาหรือสถานการณ์ต่าๆ รวมทั้ง
น
ง
กาหนดวิธีการศึกษาและการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เหมาะสม
4. หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และ ฐานนิยมของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่ และ
เลือกใช้ได้อย่างเหมาะสม
6
5. นาเสนอข้อมูลในรูปแบบที่เหมาะสม
6. อ่าน แปลความหมาย และวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการนาเสนอ
7. ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและ
ความน่าจะเป็นประกอบการ ัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ
ต
8. อภิปรายถึงความคลาดเคลื่อน าจเกิดขึ้นได้จากการนาเสนอข้อมูลทางสถิติ
ที่อ
9. ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
10. ใช้ความรู้ ทักษะ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาใน
สถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
11. ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
12. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนาเสนอ
ได้อย่างถูกต้องและชัดเจน
13. เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ตศาสตร์ และนาความรู้หลักการ กระบวนการทาง
ในคณิ
คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ
14. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
7
โครงสร้างรายวิชา ค23102 คณิตศาสตร์ 6
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 3 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยการเรียน
ที่ ชื่อหน่วยการเรียน
มฐ.ตัวชี้วัด
สาระสาคัญ
เวลา น้าหนัก
1 อสมการ
ค4.2 ม3/1 อสมการเชิงเส้ตัวแปรเดียว 12
น
21
และการแก้ปัญหา
2 ความน่าจะเป็น
ค5.2 ม.3/1 ความน่าจะเป็นของ
14
23
เหตุการณ์จากการทดลอง
สุ่มที่ผลแต่ละตัวมีโอกาส
เกิดขึ้นเท่า ๆ กัน และใช้
ความรู้เกี่ยวกับความน่าจะ
เป็นคาดการณ์
3 สถิติเบื้องต้น
ค5.1 ม.3/1 การเก็บรวบรวมข้อมูล
20
33
ค5.1 ม3/2 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน
ค5.1 ม3/3 และ ฐานนิยมของข้อมูล
ค5.1 ม3/4 การนาเสนอข้อมูลใน
ค5.3 ม.3/1 รูปแบบที่เหมาะสมและ
ค5.3 ม.3/2 วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จาก
การนาเสนอ
4 ทักษะกระบวนการทาง ค6.1ม3/1- วิธีการที่หลากหลาย
14
23
คณิตศาสตร์
ม3/6
แก้ปัญหา, ทักษะ
กระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ และ
เทคโนโลยีในการแก้ปัญหา
ให้เหตุผลประกอบการ
ตัดสินใจ ใช้ภาษาและ
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
ในการสื่อสาร การสื่อ
ความหมาย เชื่อมโยง
ความรู้ต่าง ๆ ความคิด
ริเริ่มสร้างสรรค์
60
100
8

ข้อ
ที่
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14

แผนการวัดและประเมินผลการเรียน วิชา ค23102 คณิตศาสตร์ 6
อัตราส่วนคะแนนรายตัวชี้วัด กลางภาค : ปลายภาค = 70 : 30
ตัวชี้วัด
จานวน ราย กลาง ปลาย
ชั่วโมง จุดฯ ภาค ภาค
ใช้ความรู้เกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นแปร เดียว ในการแก้ปัญหาพร้อมทั้ง 12
ตัว
9
10
2
ตระหนักถึงความสมเหตุ สมผลของคาตอบ
หาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์จากการทดลองสุ่มที่ผลแต่ละตัวมี
14
9
10
4
โอกาสเกิดขึ้นเท่า ๆ กัน และใช้ความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นคาดกา
รณได้อย่างสมเหตุสมผล
กาหนดประเด็น ยนข้อคาถาม เกี่ยวกับปัญหาหรือสถานการณ์
และเขี
3
3
2
ต่างๆ รวมทั้งกาหนดวิธีการศึกษาและการเก็บรวบรวมข้อมูลที่
เหมาะสม
หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และ ฐานนิยมของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจง 5
6
2
ความถี่ และเลือกใช้ อย่างเหมาะสม
ได้
นาเสนอข้อมูลในรูปแบบที่เหมาะสม
3
3
2
อ่าน แปลความหมาย และวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการนาเสนอ
3
3
2
ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและ
ความน่าจะเป็นประกอบการ ัดสินใจใน
ต
3
3
2
สถานการณ์ต่าง ๆ
อภิปรายถึงความคลาดเคลื่อน าจเกิดขึ้นได้จากการนาเสนอข้อมูลทาง
ที่อ
3
3
2
สถิติ
ใช้วิธีการหลากหลายแก้ปัญหา
4
2
2
ใช้ความรู้ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีใน
2
2
2
การแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม
ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
2
2
2
ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย
2
2
2
และการนาเสนอได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
เชื่อมโยงความรู้ต่างๆในคณิตศาสตร์และคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
2
2
2
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
2
1
2
รวม
60
50 20 30
9
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สถิติ
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค 5.3 ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็นช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหา
3

สถิติ
1.ข้อมูลและการนาเสนอข้อมูล
2.ฮิสโทแกรมและรูปหลายเหลี่ยมของ
ความถี่
3.ค่ากลางของข้อมูล
4.การหาค่ากลางจากตารางแจกแจง
ความถี่
5.การอ่าน แปรความหมาย และ
วิเคราะห์ข้อมูล
6.การเลือกใช้ค่ากลางของข้อมูล

1. ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและ
ความน่าจะเป็น
ประกอบการ ัดสินใจ
ต
ในสถานการณ์ต่าง ๆ
2. อภิปรายถึงความคลาดเคลื่อน าจเกิดขึ้น
ที่อ
ได้จากการนาเสนอข้อมูลทางสถิติ
10
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ภาคเรียนที่ 2
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สถิติ

รายวิชาคณิตศาสตร์
ปีการศึกษา 2556
เวลา 4 ชั่วโมง

มาตรฐานการเรียนรู้ ค 5.1 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
ตัวชี้วัด ค 5.1 ม.3/1 กาหนดประเด็นและเขียนข้อคาถามเกี่ยวกับปัญหาหรือสถานการณ์ต่าง ๆ
รวมทั้งกาหนดวิธีการศึกษาและการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เหมาะสม
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย
ทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยง
คณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตัวชี้วัด ค 6.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5
จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้ นักเรียนสามารถ : อธิบายวิธีการเกี่ยวกับการนาเสนอข้อมูลโดยใช้ตารางแจก
แจงความถี่
ด้านทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ นักเรียนสามารถ
การแก้ปัญหา : ใช้ความรู้เชิงปริภูมิในการอธิบายการนาเสนอข้อมูลโดยใช้ตาราง
แจกแจงความถี่
การให้เหตุผล : ให้เหตุผลเกี่ยวกับการนาเสนอข้อมูลโดยใช้ตารางแจกแจงความถี่
อย่างสมเหตุสมผล
การสื่อสาร สื่อความหมายและการนาเสนอ : การสื่อสาร สื่อความหมายในการ
อธิบายเกี่ยวกับลักษณะและสมบัติของปริซึมได้อย่างชัดเจน
การเชื่อมโยง : เชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์กับสิ่งแวดล้อมและหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างเหมาะสม
ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ นักเรียนเป็นผู้ที่
1. มีความสนใจและเอาใจใส่ต่องานที่ได้รับมอบหมาย
2. กล้าคิด กล้าแสดงออกถึงแนวคิดและเหตุผลของตนเองด้วยความเชื่อมั่น
3. มีความรับผิดชอบ ให้ความร่วมมือในการทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่น
4. ทางานที่ได้รับมอบหมายตรงตามเวลา
5. มีความละเอียดรอบคอบในการทางาน
การบูรณาการ
- บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรูการงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยีรายวิชาเกษตร
้
และรายวิชาสังคมศึกษาเรื่องอาเซียน
- บูรณาการโดยใช้ Kutchum E-SE-Project Model ; Chart I คือ
11
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
1 . ใฝ่เรียนรู้
2. มีวินัย
3 . มุ่งมั่นในการทางาน
4. รักความเป็นไทย
5. อยู่อย่างพอเพียง
สมรรถนะสาคัญนักเรียน
1. ความสามารถในการคิด คิดอย่างสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ
2. ความสามารถในการแก้ปัญหา บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3. ความสามารถในการสื่อสาร
สาระการเรียนรู้
ความรู้(K)
การอ่านแปลและความหมาย และวิเคราะห์ข้อมูลจาการนาเสนอข้อมูลที่
กาหนดให้การอภิปราย ให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูล ข่าวสารทางสถิติ ที่สมเหตุสมผลและนาเสนอ
ข้อมูลในรูปแบบที่เหมาะสม การนาเสนอข้อมูล เป็นวิธีการนาข้อมูลที่รวบรวมได้มาเสนอ หรือ
เผยแพร่ให้ผู้สนใจในข้อมูลนั้นทราบ หรือเพื่อความสะดวกในการคานวณ หรือวิเคราะห์สิ่งที่ต้องการ
เพื่อนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป ในการนาเสนอข้อมูลทาได้ทั้งอย่างไม่มีแบบแผน และอย่างมีแบบ
แผน การนาเสนอข้อมูลอย่างไม่มีแบบแผน หมายถึงการนาเสนอที่ไม่มีกฎเกณฑ์อะไรที่จะต้องถือเป็น
หลักมากนัก การนาเสนอแบบนี้ได้แก่การแทรกข้อมูลลงในบทความความและข้อเขียนต่างๆ
การนาเสนอข้อมูลอย่างมีแบบแผน เป็นการนาเสนอที่จะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่ได้
กาหนดไว้เป็นมาตรฐาน เช่น การนาเสนอในรูปตาราง รูปกราฟ และรูปแผนภูมิ เป็นต้น
ทักษะ/และกระบวนการ(P)
ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะกระบวนการกลุ่ม และทักษะการคิดคานวณ
คุณลักษณะ(A)
การนาเสนอข้อมูล มี 2 ลักษณะ คือ
1) การนาเสนอข้อมูลอย่างไม่เป็นแบบแผน
2) การนาเสนอข้อมูลอย่างเป็นแบบแผน

หลักฐานหรือร่องรอยการเรียนรู้ / การวัดและการประเมินผล
ด้านความรู้
ภาระงาน / ชิ้นงาน
กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 3
กิจกรรมที่ 4

เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน
เติมคาตอบพร้อมให้เหตุผลได้ถูกต้อง
เติมคาตอบพร้อมให้เหตุผลได้ถูกต้อง
เติมคาตอบพร้อมให้เหตุผลได้ถูกต้อง
เติมคาตอบพร้อมให้เหตุผลได้ถูกต้อง

ผู้ประเมิน
เพื่อน , ครู
เพื่อน , ครู
เพื่อน , ครู
เพื่อน , ครู
12
ด้านทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ใช้การประเมินเชิงคุณภาพในภาพรวม โดยพิจารณาจากการให้เหตุผลของคาตอบ สื่อสารที่
แสดงแนวความคิดที่มาซึ่งคาตอบ ตลอดจนการเชื่อมโยงการนาไปใช้ในชีวิตประจาวันและตามหลัก
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน โดยไม่มีการให้คะแนน
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใช้การประเมินเชิงคุณภาพในภาพรวม โดยพิจารณาจากความตั้งใจและเอาใจใส่ต่อการเรียน
และงานที่ได้รับมอบหมาย กล้าแสดงความคิดเห็นถึงแนวคิดของตนเองอย่างมั่นใจ เป็นการประเมิน
คุณภาพเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน โดยไม่มีการให้คะแนน
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1
ขั้นการสร้างความสนใจ
นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาถึงการนาเสนอข้อมูลที่รวบรวมได้จากกิจกรรมที่ผ่านมาเพื่อ
ความสะดวกในการคานวณ หรือวิเคราะห์หาสิ่งที่ต้องการเพื่อนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป
ขั้นการสารวจและค้นหา
1. นักเรียนแบ่งกลุ่มคละความสามารถกลุ่มละ 4-5 คน ร่วมกันสืบค้นและศึกษาเนื้อหา
ใบความรู้ที่ 1
2. เมื่อเข้าใจดีแล้วจึงทากิจกรรมที่ 1 เมื่อเสร็จแล้วให้นาเสนอหน้าชั้นเรียน โดยแต่ละ
กลุ่มสร้างแผนภาพประกอบการนาเสนอ
3. บูรณาการโดยใช้ E-SE-Project Model ; Chart I
ขั้นการอธิบาย
1. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับในการนาเสนอข้อมูลทาได้ทั้ง
อย่างไม่มีแบบแผน และอย่างมีแบบแผน การนาเสนอข้อมูลอย่างไม่มีแบบแผน หมายถึงการนาเสนอ
ที่ไม่มีกฎเกณฑ์อะไรที่จะต้องถือเป็นหลักมากนัก การนาเสนอแบบนี้ได้แก่การแทรกข้อมูลลงใน
บทความความและข้อเขียนต่างๆ การนาเสนอข้อมูลอย่างมีแบบแผน เป็นการนาเสนอที่จะต้อง
ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่ได้กาหนดไว้เป็นมาตรฐาน เช่น การนาเสนอในรูปตาราง รูปกราฟ และรูป
แผนภูมิ เป็นต้น
2.ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันวิเคราะห์กิจกรรมที1ว่าสอดคล้องตามหลักแนวคิดปรัชญา
่
ของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างไรทั้งเรื่องของความพอประมาณการมีเหตุผลการมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
เงื่อนไขความรู้ และเงื่อนไขคุณธรรมที่ได้รับลงสู่สมดุล 4 มิติ แล้วร่วมกันสรุปบทเรียนที่ได้รับสู่หลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยมีครูคอยเป็นที่ปรึกษาให้คาแนะนาเพิ่มเติมกับนักเรียนในใบ
กิจกรรมที่ 2
ขั้นการขยายความรู้
นักเรียนและครูขยายความรู้เรื่องการนาเสนอข้อมูล การนาเสนอข้อมูลอย่างไม่มีแบบแผน
หมายถึงการนาเสนอที่ไม่มีกฎเกณฑ์อะไรที่จะต้องถือเป็นหลักมากนัก การนาเสนอแบบนี้ได้แก่การ
แทรกข้อมูลลงในบทความความและข้อเขียนต่างๆ
การนาเสนอข้อมูลอย่างมีแบบแผน เป็นการนาเสนอที่จะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่ได้
กาหนดไว้เป็นมาตรฐาน เช่น การนาเสนอในรูปตาราง รูปกราฟ และรูปแผนภูมิ เป็นต้น
ขั้นการประเมินความรู้
1. ให้นักเรียนทากิจกรรม แล้วให้นักเรียนช่วยกันสรุปเนื้อหาโดยครูใช้คาถามตรวจสอบ
ความถูกต้องร่วมกับนักเรียน
13
ชั่วโมงที่ 2 – 3 – 4 คณิตศาสตร์กับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่อาเซียน
ขั้นการสร้างความสนใจ
นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาถึงการนาเสนอข้อมูลที่รวบรวมได้จากกิจกรรมที่ผ่านมาเพื่อ
ความสะดวกในการคานวณ หรือวิเคราะห์หาสิ่งที่ต้องการเพื่อนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์และสอดคล้อง
กับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ขั้นการสารวจและค้นหา
1. นักเรียนแบ่งกลุ่มคละความสามารถกลุ่มละ 4-5 คน ร่วมกันสืบค้นและศึกษาเนื้อหา
ใบความรู้ที่ 2
2. เมื่อเข้าใจดีแล้วจึงทากิจกรรมที่ 3 ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนนาเสนอข้อมูลด้าน
ต่างๆของประเทศในกลุ่มอาเซียนเพื่อเป็นการกระตุ้นและเตรียมความพร้อมของนักเรียนสู่อาเซียน
เมื่อเสร็จแล้วให้นาเสนอหน้าชั้นเรียน โดยแต่ละกลุ่มสร้างแผนภาพประกอบการนาเสนอชั่วโมงต่อไป
3. บูรณาการโดยใช้ E-SE-Project Model ; Chart I
ขั้นการอธิบาย
1. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับในการนาเสนอข้อมูลแบบ
แผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแท่ง แบบต่างๆ
2.ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันวิเคราะห์กิจกรรมที3ว่าสอดคล้องตามหลักแนวคิดปรัชญา
่
ของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างไรทั้งเรื่องของความพอประมาณการมีเหตุผลการมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
เงื่อนไขความรู้ และเงื่อนไขคุณธรรมที่ได้รับลงสู่สมดุล 4 มิติ แล้วร่วมกันสรุปบทเรียนที่ได้รับสู่หลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยมีครูคอยเป็นที่ปรึกษาให้คาแนะนาเพิ่มเติมกับนักเรียนในใบ
กิจกรรมที่ 3 ให้นาเสนอในชั่วโมงที่ 3
ขั้นการขยายความรู้
นักเรียนและครูขยายความรู้เรื่องการนาเสนอข้อมูลแบบแผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแท่ง แบบ
ต่างๆ
ขั้นการประเมินความรู้
1. ให้นักเรียนทากิจกรรม แล้วให้นักเรียนช่วยกันสรุปเนื้อหาโดยครูใช้คาถามตรวจสอบ
ความถูกต้องร่วมกับนักเรียน
2. นักเรียนทาแบบฝึกหัดโดยให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าและให้นาเสนอข้อมูลในรูปตามที่
เห็นสมควรโดยให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลต่างๆเกี่ยวกันประเทศอาเซียนกลุ่มละ 1 เรื่อง
ไม่ซ้ากัน และเชื่อมโยงว่าสอด ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันวิเคราะห์กิจกรรมที3ว่าสอดคล้องตาม
่
หลักแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างไรนาเสนอชั่วโมงที่ 4
สื่อ อุปกรณ์และแหล่งการเรียนรู้
1. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 2
3. กิจกรรมที่ 1
4. กิจกรรมที่ 2
5. กิจกรรมที่ 3
6. กิจกรรมที่ 4
7. หนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
8. เวปไซน์ ครูทับทิม เจริญตา
14
บันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรค
….............................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
แนวทางการแก้ไขปัญหา
….............................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
ลงชือ ……………………………………ผู้บันทึก
่
(นางทับทิม เจริญตา)
ตาแหน่ง ครูวทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ
ิ
วันที่ ………เดือน…………………….พ.ศ. 2555
15
ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
…………….………………………………………………………………………………………………………...……………...……
………………………………………………………………………………………………….……………………………...….………
………………………………………………………………………………………………….…………………………...…….………
………………………………………………………………………………….…………….……………………………………………
………………………………………………………………….……………………………..……………………………..…….………
ลงชือ
่
(นายโยธิน สิงค์คา)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
วันที่.................เดือน...............................พ.ศ……..
ความคิดเห็นของรองกลุ่มบริหารงานวิชาการ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
ลงชื่อ
(นายพิเชษฐ์ เทียมชัยภูมิ)
รองผู้ ผูอานวยการกลุมบริหารวิชาการ
้
่
วันที่.................เดือน...............................พ.ศ
.................
ความคิดเห็นของผู้อานวยการโรงเรียน
................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
ลงชื่อ
(นายไตรสรณ์ สุวพงษ์)
ผูอานวยการโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม
้
วันที่.................เดือน...............................พ.ศ
16

ภาคผนวก
17
ใบความรู้ที่ 1
สถิติ

การนาเสนอข้อมูล
การนาเสนอข้อมูล ทาได้ 2 ลักษณะ

อย่างไม่เป็นแบบแผน
- การนาเสนอในรูปบทความ
- การนาเสนอในรูปข้อความกึ่งตาราง

อย่างเป็นแบบแผน
- การนาเสนอในรูปตาราง
- การนาเสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิ
และแผนภาพ
- การนาเสนอข้อมูลในรูปกราฟ

การนาเสนอข้อมูลในรูปตาราง
การนาเสนอข้อมูลโดยตีตารางกรอกข้อมูลที่เป็นตัวเลขโดยแบ่งเป็นแถวตั้ง (columns) และ
แถวนอน (rows) เพื่อจัดข้อมูลให้เป็นระเบียบ ลักษณะของตารางไม่ตายตัว ขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายของ
ผู้จัดทา ส่วนประกอบของตารางที่จะต้องมีคือ
1) ชื่อเรื่อง (title)
2) ต้นขั้ว(stub)
3) หัวเรื่อง(caption)
4) ตัวเรื่อง(body)
5) หมายเหตุ(mote)
6) หน่วย
ประโยชน์ของการนาเสนอโดยตารางนี้ คือทาให้ผู้อ่านทาความเข้าใจได้ง่ายและเร็วกว่าการ
นาเสนอโดยบทความและการนาเสนอโดยบทความกึ่งตาราง นอกจากนี้ยังทาให้มองดูเรียบร้อย
และชัดเจนดี ดังตัวอย่าง
18
ตัวอย่างที่ 1

สถิติปริมาณผลิตเสื้อผ้าสาเร็จรูปของไทย ปี 2525 - 2530
ปริมาณ : 1,000 ชิ้น
ปี
เสื้อสาเร็จรูปชนิดทอ
เสื้อผ้าสาเร็จรูปชนิดถัก
รวม
% เพิ่ม/ลด จากปีก่อน
2525
522,715
241,379
764,094
2526
558,712
263,092
821,804
+7.55
2527
600,349
288,797
889,146
+8.19
2528
638,024
307,848
945,872
+6.38
2529
695,416
339,548
1,035,000
+9.42
2530
760,450
374,550
1,135,000
+9.66
ที่มา
: กรมศุลกากร
หมายเหตุ : 1/เป็นตัวเลขประมาณการ
ตัวอย่างที่ 2 มูลค่าการส่งออกรองเท้าจาแนกตามประเภท ปี 2525 - 2539
มูลค่า : ล้านบาท
รายการ
รองเท้ากีฬา
รองเท้าหนัง หนังอัด
รองเท้าแตะ
รองเท้าผ้าใบ ผ้าใบพื้นยาง
รองเท้าพลาสติก
อื่นๆ
รวม

ปี

2525
310.7
512.7
348.9
99.7
28.3
39.5
1,139.5

2526
406.4
671.6
502.6
82.6
31.9
47.7
1,742.8

2527
714.3
656.8
486.9
98.2
42.1
63.7
2,051.9

2528
1,105.3
621.2
412.8
75.9
57.7
93.7
2,367.0

ที่มา : ศูนย์สถิติการพาณิชย์ กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมลกากร
หมายเหตุ : ปี 2529 ตัวเลขเบื้องต้น

2529
855.7
362.8
335.0
42.6
137.8
112.7
1,846.6
19
กิจกรรมที่ 1
จงนาเสนอข้อมูลในรูปตาราง
1) ผลผลิตมะละกอที่เกษตรกรสามารถผลิตได้แตกต่างกันค่อนข้างมาก โดยทั่วไปพบว่า ภาคเหนือ
และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีผลผลิตต่าที่สุด คือ เพียง 3.6 ก.ก./ต้น/เดือน และ 4.3 ก.ก./ต้น/
เดือน ในมะละกอพันธุ์แขกดา ส่วนภาคตะวันตก และภาคใต้มีผลผลิตสูงกว่าเท่าตัวคือ 7 ก.ก./
ต้น/เดือน และ8.6 ก.ก./ต้น/เดือน ส่วนภาคตะวันออก มีผลผลิตสูงสุด คือ 11.5 ก.ก./ต้น/เดือน
(ที่มา : กรมส่งเสริมสหกรณ์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.)
………………………………………………………………………………………………………………….…………………………
…………………………………………………………………………………………………………….………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………….…………………………………………………………………………
…………………………………………………………………..…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………..…………………………………………………………………
……………………………………………………………………..……………………………………………………………………
……………………………………………………………………..……………………………………………………………………
…………………………………………………………………..…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………..…………………………………………………………………
……………………………………………………………………..……………………………………………………………………
……………………………………………………………………..……………………………………………………………………
2.นอกจากการนามะละกอไปรับประทานสด ๆ แล้ว เรายังสามารถนาไปปรุงอาหาร เช่น ส้มตา แกง
ส้ม ฯลฯ หรือนาไปหมักเนื้อให้นุ่มได้อีกด้วย เพราะในมะละกอมีเอนไซม์ชนิดหนึ่งเรียกว่า พา
เพน (Papain) ซึ่งสามารถนาเอนไซม์ชนิดนี้ไปใส่ในผงหมักเนื้อสาเร็จรูป บางครั้งนาไปทาเป็นยาช่วย
ย่อยสาหรับผู้ที่มีปัญหาอาหารไม่ย่อยก็ได้สาหรับสารอาหารในมะละกอนั้น มีดังต่อไปนี้คือ มีโปรตีน
0.5 กรัม ไขมัน 0.1 กรัม แคลเซียม24 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 22 มิลลิกรัม เหล็ก 0.6 มิลลิกรัม
โซเดียม 4 มิลลิกรัม ไทอะมีน0.04 มิลลิกรัม ไรโบฟลาวิน 0.04 มิลลิกรัม ไนอะซิน 0.4 มิลลิกรัม
และ กรดแอสคอร์บิก วิตามินซี 70 มิลลิกรัม
………………………………………………………………………………………………………………….…………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………..……………………………………………………………
……………………………………………………………………………..………………………………………………………………
……………………………………………………………………………….……………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………..……………………………………………
…………………………………………………………………..…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………..…………………………………………………………………
……………………………………………………………………..……………………………………………………………………
20
กิจกรรมที่ 2

การนาเสนอข้อมูลกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
21
ใบความรู้ที่ 2

สถิติ

การนาเสนอข้อมูล

การนาเสนอข้อมูล ทาได้ 2 ลักษณะ

อย่างไม่เป็นแบบแผน
- การนาเสนอในรูปบทความ
- การนาเสนอในรูปข้อความกึ่งตาราง

อย่างเป็นแบบแผน
- การนาเสนอในรูปตาราง
- การนาเสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิ
และแผนภาพ
- การนาเสนอข้อมูลในรูปกราฟ

การนาเสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิและแผนภาพ
แผนภูมิและแผนภาพที่ใช้สาหรับการนาเสนอข้อมูล ได้แก่
1) แผนภูมิแท่ง (bar chart)
2) แผนภูมิรูปวงกลม (pie chart)
3) แผนภูมิรูปภาพ (pictogram)
4) แผนที่สถิติ (statistical map)
การนาเสนอข้อมูลโดยใช้แผนภูมิและแผนภาพ ควรระบุรายละเอียดต่อไปนี้
1) หมายเลขแผนภูมิหรือแผนภาพ (ในกรณีที่มากกว่าหนึ่ง)
2) ชื่อแผนภูมิหรือแผนภาพ
3) แหล่งที่มาของแผนภูมิหรือแผนภาพ
( หมายเหตุคานา หรือหมายเหตุล่าง อาจจะมีหรือไม่ก็ได้ )
22
แผนภูมิแท่ง
แผนภูมิแท่ง คือ แผนภูมิที่ประกอบด้วย แกนสองแกน คือแกนนอนและแกนตั้ง และรูป
สี่เหลี่ยมผืนผ้าที่มีความกว้างของแต่ละรูปเท่ากัน ส่วนความยาวจะแปรตามขนาดของข้อมูล เรียกรูป
สี่เหลี่ยมแต่ละรูปนี้ว่า แท่ง (bar) การนาเสนอข้อมูลอาจจัดให้แท่งแต่ละแท่งอยู่ในแนวตั้ง หรือ
แนวนอนก็ได้ โดยวางเรียงให้ชิดกันหรือห่างกันเล็กน้อยเท่าๆกันก็ได้ พร้อมทั้งเขียนรายละเอียดของ
แต่ละแท่งกากับไว้ นอกจากนี้ เพื่อความสวยงาม อาจจะใช้วิธีแรเงาหรือระบายสี เพื่อให้ดูสวยงาม
และสะดวกในการศึกษาเปรียบเทียบ
ข้อมูลที่เหมาะสาหรับการใช้แผนภูมิแท่งในการนาเสนอข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลที่จาแนกตาม
คุณภาพ ตามกาลเวลา และตามภูมิศาสตร์
แผนภูมิแท่งจาแนกได้หลายประเภท ได้แก่ แผนภูมิแท่งเชิงเดียว แผนภูมิแท่งเชิงซ้อน
แผนภูมิแท่งส่วนประกอบ แผนภูมิแท่งบวก-ลบ แผนภูมิแท่งซ้อนกัน แผนภูมิแท่งปิระมิด ในชั้นนี้
จะกล่าวถึงแผนภูมิแท่งเชิงเดียวและแผนภูมิแท่งเชิงซ้อนเท่านั้น
1) แผนภูมิแท่งเชิงเดียว (simple bar chart) หมายถึง แผนภูมิที่ใช้สาหรับข้อมูลชุด
เดียว และแสดงลักษณะของข้อมูลที่สนใจ เพียงลักษณะเดียว เช่น ความถี่ จานวนเงิน จานวนภาษี
มูลค่าการส่งออก เป็นต้น
ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนแผนภูมิเชิงเดียวแสดงการเปรียบ้ทียบผลการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ตั้งแต่ พ.ศ.2528 ถึง พ.ศ. 2532
พ.ศ.
2528
2529
2530
2531
2532
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
15,548.0 15,596.4 18,185.1 27,154.1 38.122.5
(ล้านบาท)
ที่มา : กรมสรรพกร กระทรวงการคลัง
แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบผลการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ตั้งแต่ พ.ศ. 2528 ถึง พ.ศ. 2532
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
(ล้านบาท)
38,122.5
30,000
27,154.1
20,000
15,548.0 15,596.4 18,185.1
10,000
0

2528

2529

ศ.
ที่มา : กรมสรรพกร กระทรวงการคลัง

2530

2531

2532
23
2) แผนภูมิเชิงซ้อน (multiple bar chart) หมายถึง แผนภูมิแท่งที่แสดงการ
เปรียบเทียบของข้อมูลสองชุดขึ้นไป หรือเปรียบเทียบลักษณะของข้อมูลที่เราสนใจตั้งแต่สองลักษณะ
ขึ้นไป บนแกนเดียวกัน เช่น เปรียบเทียบรายรับรายจ่าย เปรียบเทียบจานวนนักเรียนชายกับ
จานวนนักเรียนหญิง เป็นต้น
ตัวอย่าง จงเขียนแผนภูมิแท่งเชิงซ้อน แสดงการเปรียบเทียบจานวนประมาณการของภาษี
อากรทุกประเภทกับเงินที่เก็บได้จริง ปีงบประมาณ 2529 - 2532
ที่มา : กรมสรรพกร กระทรวงการคลัง
ปีงบประมาณ
จานวนประมาณการ
จานวนเงินที่เก็บได้จริง
(ล้านบาท)
(ล้านบาท)
2529
67,640
65,417
2530
73,650
73,360
2531
77,950
101,644.60
2532
115,140
135,070.10
แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบ จานวนประมาณการของภาษีอากรทุกประเภทกับเงินที่เก็บได้จริง
ปีงบประมาณ 2529 - 2532
จานวนเงิน(ล้านบาท)
140,000
120,000
ประมาณการ
100,000
เก็บได้จริง
80,000
60,000
40,000
20,000
0

2529

2530

ปีงบประมาณ
ที่มา : กรมสรรพกร กระทรวงการคลัง

2531

2532
24
กิจกรรมที่ 3
1.จงพิจารณาข้อมูลต่อไปนี้แล้วนาเสนอข้อมูล แสดงพื้นที่ จานวนประชากร และ ความ
หนาแน่นของประชากรในกลุ่มประเทศอาเซียน 10 ประเทศ ตามความเหมาะสม
ประเทศ

เมืองหลวง

อินโดนีเซีย

จาการ์ตา

1,904,569

240,271,522

126

พม่า

เนปีดอ

678,000

51,020,000

74

ไทย

กรุงเทพมหานคร

514,000

67,764,000

132

เวียดนาม

ฮานอย

331,210

88,069,000

265

มาเลเซีย

กัวลาลัมเปอร์

329,750

33,318,000

83

ฟิลิปปินส์

มะนิลา

300,000

91,983,000

307

ลาว

เวียงจันทน์

236,800

6,320,000

27

กัมพูชา

พนมเปญ

181,035

14,805,000

82

บรูไน

บันดาร์เสรีเบกาวัน

5,765

400,000

70

สิงคโปร์

สิงคโปร์

665

4,987,600

7,023

ที่มา : th.wikipedia.org)

พื้นที่ (ตร.กม.) ประชากร (2552) ความหนาแน่น
25
กิจกรรมที่ 4

ประเทศอาเซียนสู่หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
26
27
28

Contenu connexe

Tendances

สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดSani Satjachaliao
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศSuwannaphum Charoensiri
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพkrupeem
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันTaraya Srivilas
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันPaew Tongpanya
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน FBangon Suyana
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...Prachoom Rangkasikorn
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsombat nirund
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์Padvee Academy
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจPariwanButsat
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3O'Orh ChatmaNee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 

Tendances (20)

สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน F
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 

En vedette

ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงChanon Mala
 
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อทดลองใช้สำหรับช่วงช...
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อทดลองใช้สำหรับช่วงช...หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อทดลองใช้สำหรับช่วงช...
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อทดลองใช้สำหรับช่วงช...Thanawut Rattanadon
 
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อทดลองใช้สำหรับช่วงช...
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อทดลองใช้สำหรับช่วงช...หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อทดลองใช้สำหรับช่วงช...
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อทดลองใช้สำหรับช่วงช...Thanawut Rattanadon
 
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 4
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 4หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 4
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 4Thanawut Rattanadon
 
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 3
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 3หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 3
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 3Thanawut Rattanadon
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1jinnipaatirattana
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Meaw Sukee
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรมLecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรมAon Narinchoti
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]Siriphan Kristiansen
 
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001Thidarat Termphon
 

En vedette (19)

ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อทดลองใช้สำหรับช่วงช...
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อทดลองใช้สำหรับช่วงช...หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อทดลองใช้สำหรับช่วงช...
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อทดลองใช้สำหรับช่วงช...
 
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อทดลองใช้สำหรับช่วงช...
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อทดลองใช้สำหรับช่วงช...หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อทดลองใช้สำหรับช่วงช...
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อทดลองใช้สำหรับช่วงช...
 
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 4
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 4หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 4
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 4
 
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 3
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 3หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 3
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Math(1)
Math(1)Math(1)
Math(1)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
Plan 4
Plan 4Plan 4
Plan 4
 
Plan10
Plan10Plan10
Plan10
 
เซต เล่ม 2
เซต เล่ม 2เซต เล่ม 2
เซต เล่ม 2
 
เซต เล่ม 1
เซต เล่ม 1เซต เล่ม 1
เซต เล่ม 1
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรมLecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
 
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
 
Probability
ProbabilityProbability
Probability
 

Similaire à แผน E se(เศรษฐกิจพอเพียง)2

กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงIFon Lapthavon
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงsukhom
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียงseri_101
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์nang_phy29
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงENooilada
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...freelance
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsudza
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงnarudon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง sapay
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงjo
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..Pornthip Tanamai
 

Similaire à แผน E se(เศรษฐกิจพอเพียง)2 (20)

ครูสังคม
ครูสังคมครูสังคม
ครูสังคม
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Pp
PpPp
Pp
 
Pp
PpPp
Pp
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
001
001001
001
 
P73240631522
P73240631522P73240631522
P73240631522
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 

Plus de ทับทิม เจริญตา

ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ทับทิม เจริญตา
 

Plus de ทับทิม เจริญตา (20)

Pro1
Pro1Pro1
Pro1
 
Ex
ExEx
Ex
 
เกมซูดุคุ
เกมซูดุคุเกมซูดุคุ
เกมซูดุคุ
 
ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
 
แบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนามแบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนาม
 
การบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนามการบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนาม
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนามหาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลังสอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5 ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4 ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3 ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2 ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 

แผน E se(เศรษฐกิจพอเพียง)2

  • 1. 1 หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ครูผู้สอน ต้องศึกษาองค์ความรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้เข้าใจถูกต้อง ซึ่งหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ที่ต้องผ่านพระบาทราชวินิจฉัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีดังนี้ “เศรษฐกิจพอเพียง”เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุก ระดับ ตั้งแต่ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไป ในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี พอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้อง อาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการ วางแผนและดาเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะ เจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์ สุจริต และให้มีความรอบรู้ ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา และ ความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้ง ด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็น อย่างดี หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง ในการพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้ ้ ้ ้ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ทั้งในฐานะ พลเมืองไทยและพลโลก และให้สอดคล้องกับหลักการเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนข้อที่ 5 คืออยู่อย่างพอเพียง มี 2 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด 5.1 ดาเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรมและตัวชี้วัดที่ 5.2 มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคม ได้อย่างมีความสุข การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือการพัฒนาทั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท โดยคานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจ และการ กระทา มีหลักการพิจารณา 5 ส่วน ดังนี้ 1. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการดารงอยู่และการปฏิบัติตนในทางที่ควร จะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา 2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน 3. คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ พร้อม ๆกัน ดังนี้ 3.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ 3.2 ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะ เกิดขึ้นจากการกระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ
  • 2. 2 3.3 การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นทั้งใกล้และไกล 4. เงื่อนไข การตัดสินใจและดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้นต้องอาศัยทั้ง ความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน 2 เงื่อนไข ดังนี้ 4.1 เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ อย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบ การวางแผนและความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ 4.2 เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนัก ในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต ไม่โลภ และไม่ตระหนี่ 5.แนวทางปฏิบัติ ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้และเทคโนโลยี สรุปหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
  • 3. 3 การวิเคราะห์ตัวชี้วัดชั้นปี เพื่อกาหนดตัวชี้วัดรายภาคเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 สาระการเรียนรู้ สาระที่ 4 พีชคณิต สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูล และความน่าจะเป็น สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูล และความน่าจะเป็น มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ 1. ใช้ความรู้เกี่ยวกับอสมการเชิงเส้น ตัว สมการ อสมการ กราฟ และ แปร เดียว ในการแก้ปัญหาพร้อมทั้ง ตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ ตระหนักถึงความสมเหตุ สมผลของ (mathematical model) อื่น ๆ คาตอบ แทนสถานการณ์ต่าง ตลอดจน ๆ แปลความหมายและนาไปใช้ แก้ปัญหา มาตรฐาน ค 5.1 เข้าใจและ 1. กาหนดประเด็และเขียนข้อคาถาม น ใช้วิธีการทางสถิติในการ เกี่ยวกับปัญหาหรือสถานการณ์ต่าๆ ง วิเคราะห์ข้อมูล รวมทั้งกาหนดวิธีการศึกษาและ การเก็บรวบรวมข้อมูลที่เหมาะสม 2. หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และ ฐานนิยมของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจง ความถี่ และเลือกใช้ อย่างเหมาะสม ได้ 3. นาเสนอข้อมูลในรูปแบบ ที่เหมาะสม 4. อ่าน แปลความหมาย และ วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการนาเสนอ มาตรฐาน ค 5.2 ใช้วิธีการทาง1. หาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ สถิติและความรู้เกี่ยวกับความ จากการทดลองสุ่มที่ผลแต่ละตัวมี น่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้ โอกาสเกิดขึ้นเท่า ๆ กัน และใช้ความรู้ อย่างสมเหตุสมผล เกี่ยวกับความน่าจะเป็นคาดการณได้ อย่างสมเหตุสมผล
  • 4. 4 สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 5 มาตรฐาน ค 5.3 ใช้ความรู้ การวิเคราะห์ข้อมูล เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะ และความน่าจะเป็น เป็นช่วยในการตัดสินใจและ แก้ปัญหา สาระที่ 6 ทักษะและ กระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ ตัวชี้วัด 1. ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและ ความ น่าจะเป็นประกอบการ ัดสินใจ ต ในสถานการณ์ต่าง ๆ 2. อภิปรายถึงความคลาดเคลื่อน าจ ที่อ เกิดขึ้นได้จากการนาเสนอข้อมูลทาง สถิติ มาตรฐาน ค 6.1 มี 1. ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา ความสามารถในการแก้ปัญหา 2. ใช้ความรู้ ทักษะ กระบวนการ การให้เหตุผล การสื่อสาร ทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีใน การสื่อความหมายทาง การแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ คณิตศาสตร์ และการนาเสนอ ได้อย่างเหมาะสม 3. ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ การเชื่อมโยงความรู้ ต่าง ๆ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ทางคณิตศาสตร์ และ 4. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทาง เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับ คณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อ ศาสตร์อื่นๆ และมีความคิด ความหมาย และการนาเสนอ อย่าง ได้ ริเริ่มสร้างสรรค์ ถูกต้องและชัดเจน 5. เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆใน คณิตศาสตร์ และนาความรู้หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไป เชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ 6. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
  • 5. 5 คาอธิบายรายวิชา ค23102 คณิตศาสตร์ 6 มัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรูคณิตศาสตร์ ้ เวลา 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคานวณ จัดการเรียนรูโดยใช้ประสบการณ์หรือสถานการณ์ใน ้ ชีวิตประจาวันที่ใกล้ตัวผู้เรียน ให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุปรายงาน และฝึกทักษะ/กระบวนการในสาระต่อไปนี้ อสมการ คาตอบและกราฟแสดงคาตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแก้ อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สถิติเบื้องต้น การเก็บรวบรวมข้อมูล การนาเสนอข้อมูล การหาค่ากลางของข้อมูล และการนาไปใช้ การวิเคราะห์ข้อมูลจากการนาเสนอข้อมูล ความน่าจะเป็น การทดลองสุ่มและเหตุการณ์ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ การใช้ ความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ การใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็น ประกอบการตัดสินใจ การเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ด้วยการใช้วิธีทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับเลข ยกกาลัง อัตราส่วนร้อยละ ปริมาตรและพื้นที่ผิว สถิติ ความน่าจะเป็น เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การ สื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ การนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ และสามารถนาไปใช้ใน การเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่า และเจตคติที่ดีต่อ คณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็นระบบ ระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและ ความเชื่อมั่นในตนเอง ตัวชี้วัด ค4.2 ม3/1 ค5.1 ม3/1,ม3/2,ม3/3,ม3/4 ค5.2 ม3/1 ค5.3 ม3/1,ม3/2 ค6.1 ม3/1,ม3/2,ม3/3,ม3/4,ม3/5,ม3/6 รวมทั้งหมด 14 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด 1. ใช้ความรู้เกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นแปร เดียว ในการแก้ปัญหาพร้อมทั้งตระหนัก งความสม ตัว ถึ เหตุ สมผลของคาตอบ 2 หาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์จากการทดลองสุ่มที่ผลแต่ละตัวมีโอกาสเกิดขึ้นเท่า ๆ กัน และใช้ความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นคาดการณได้อย่างสมเหตุสมผล 3. กาหนดประเด็และเขียนข้อคาถาม เกี่ยวกับปัญหาหรือสถานการณ์ต่าๆ รวมทั้ง น ง กาหนดวิธีการศึกษาและการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เหมาะสม 4. หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และ ฐานนิยมของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่ และ เลือกใช้ได้อย่างเหมาะสม
  • 6. 6 5. นาเสนอข้อมูลในรูปแบบที่เหมาะสม 6. อ่าน แปลความหมาย และวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการนาเสนอ 7. ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและ ความน่าจะเป็นประกอบการ ัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ ต 8. อภิปรายถึงความคลาดเคลื่อน าจเกิดขึ้นได้จากการนาเสนอข้อมูลทางสถิติ ที่อ 9. ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา 10. ใช้ความรู้ ทักษะ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาใน สถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม 11. ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม 12. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนาเสนอ ได้อย่างถูกต้องและชัดเจน 13. เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ตศาสตร์ และนาความรู้หลักการ กระบวนการทาง ในคณิ คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ 14. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
  • 7. 7 โครงสร้างรายวิชา ค23102 คณิตศาสตร์ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 3 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยการเรียน ที่ ชื่อหน่วยการเรียน มฐ.ตัวชี้วัด สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก 1 อสมการ ค4.2 ม3/1 อสมการเชิงเส้ตัวแปรเดียว 12 น 21 และการแก้ปัญหา 2 ความน่าจะเป็น ค5.2 ม.3/1 ความน่าจะเป็นของ 14 23 เหตุการณ์จากการทดลอง สุ่มที่ผลแต่ละตัวมีโอกาส เกิดขึ้นเท่า ๆ กัน และใช้ ความรู้เกี่ยวกับความน่าจะ เป็นคาดการณ์ 3 สถิติเบื้องต้น ค5.1 ม.3/1 การเก็บรวบรวมข้อมูล 20 33 ค5.1 ม3/2 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน ค5.1 ม3/3 และ ฐานนิยมของข้อมูล ค5.1 ม3/4 การนาเสนอข้อมูลใน ค5.3 ม.3/1 รูปแบบที่เหมาะสมและ ค5.3 ม.3/2 วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จาก การนาเสนอ 4 ทักษะกระบวนการทาง ค6.1ม3/1- วิธีการที่หลากหลาย 14 23 คณิตศาสตร์ ม3/6 แก้ปัญหา, ทักษะ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยีในการแก้ปัญหา ให้เหตุผลประกอบการ ตัดสินใจ ใช้ภาษาและ สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ในการสื่อสาร การสื่อ ความหมาย เชื่อมโยง ความรู้ต่าง ๆ ความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ 60 100
  • 8. 8 ข้อ ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 แผนการวัดและประเมินผลการเรียน วิชา ค23102 คณิตศาสตร์ 6 อัตราส่วนคะแนนรายตัวชี้วัด กลางภาค : ปลายภาค = 70 : 30 ตัวชี้วัด จานวน ราย กลาง ปลาย ชั่วโมง จุดฯ ภาค ภาค ใช้ความรู้เกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นแปร เดียว ในการแก้ปัญหาพร้อมทั้ง 12 ตัว 9 10 2 ตระหนักถึงความสมเหตุ สมผลของคาตอบ หาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์จากการทดลองสุ่มที่ผลแต่ละตัวมี 14 9 10 4 โอกาสเกิดขึ้นเท่า ๆ กัน และใช้ความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นคาดกา รณได้อย่างสมเหตุสมผล กาหนดประเด็น ยนข้อคาถาม เกี่ยวกับปัญหาหรือสถานการณ์ และเขี 3 3 2 ต่างๆ รวมทั้งกาหนดวิธีการศึกษาและการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ เหมาะสม หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และ ฐานนิยมของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจง 5 6 2 ความถี่ และเลือกใช้ อย่างเหมาะสม ได้ นาเสนอข้อมูลในรูปแบบที่เหมาะสม 3 3 2 อ่าน แปลความหมาย และวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการนาเสนอ 3 3 2 ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและ ความน่าจะเป็นประกอบการ ัดสินใจใน ต 3 3 2 สถานการณ์ต่าง ๆ อภิปรายถึงความคลาดเคลื่อน าจเกิดขึ้นได้จากการนาเสนอข้อมูลทาง ที่อ 3 3 2 สถิติ ใช้วิธีการหลากหลายแก้ปัญหา 4 2 2 ใช้ความรู้ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีใน 2 2 2 การแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม 2 2 2 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย 2 2 2 และการนาเสนอได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม เชื่อมโยงความรู้ต่างๆในคณิตศาสตร์และคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ 2 2 2 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 2 1 2 รวม 60 50 20 30
  • 9. 9 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สถิติ สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 5.3 ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็นช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหา 3 สถิติ 1.ข้อมูลและการนาเสนอข้อมูล 2.ฮิสโทแกรมและรูปหลายเหลี่ยมของ ความถี่ 3.ค่ากลางของข้อมูล 4.การหาค่ากลางจากตารางแจกแจง ความถี่ 5.การอ่าน แปรความหมาย และ วิเคราะห์ข้อมูล 6.การเลือกใช้ค่ากลางของข้อมูล 1. ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและ ความน่าจะเป็น ประกอบการ ัดสินใจ ต ในสถานการณ์ต่าง ๆ 2. อภิปรายถึงความคลาดเคลื่อน าจเกิดขึ้น ที่อ ได้จากการนาเสนอข้อมูลทางสถิติ
  • 10. 10 แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ชื่อหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สถิติ รายวิชาคณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2556 เวลา 4 ชั่วโมง มาตรฐานการเรียนรู้ ค 5.1 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ตัวชี้วัด ค 5.1 ม.3/1 กาหนดประเด็นและเขียนข้อคาถามเกี่ยวกับปัญหาหรือสถานการณ์ต่าง ๆ รวมทั้งกาหนดวิธีการศึกษาและการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เหมาะสม มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย ทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยง คณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ตัวชี้วัด ค 6.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5 จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ นักเรียนสามารถ : อธิบายวิธีการเกี่ยวกับการนาเสนอข้อมูลโดยใช้ตารางแจก แจงความถี่ ด้านทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ นักเรียนสามารถ การแก้ปัญหา : ใช้ความรู้เชิงปริภูมิในการอธิบายการนาเสนอข้อมูลโดยใช้ตาราง แจกแจงความถี่ การให้เหตุผล : ให้เหตุผลเกี่ยวกับการนาเสนอข้อมูลโดยใช้ตารางแจกแจงความถี่ อย่างสมเหตุสมผล การสื่อสาร สื่อความหมายและการนาเสนอ : การสื่อสาร สื่อความหมายในการ อธิบายเกี่ยวกับลักษณะและสมบัติของปริซึมได้อย่างชัดเจน การเชื่อมโยง : เชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์กับสิ่งแวดล้อมและหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างเหมาะสม ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ นักเรียนเป็นผู้ที่ 1. มีความสนใจและเอาใจใส่ต่องานที่ได้รับมอบหมาย 2. กล้าคิด กล้าแสดงออกถึงแนวคิดและเหตุผลของตนเองด้วยความเชื่อมั่น 3. มีความรับผิดชอบ ให้ความร่วมมือในการทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่น 4. ทางานที่ได้รับมอบหมายตรงตามเวลา 5. มีความละเอียดรอบคอบในการทางาน การบูรณาการ - บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรูการงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยีรายวิชาเกษตร ้ และรายวิชาสังคมศึกษาเรื่องอาเซียน - บูรณาการโดยใช้ Kutchum E-SE-Project Model ; Chart I คือ
  • 11. 11 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 1 . ใฝ่เรียนรู้ 2. มีวินัย 3 . มุ่งมั่นในการทางาน 4. รักความเป็นไทย 5. อยู่อย่างพอเพียง สมรรถนะสาคัญนักเรียน 1. ความสามารถในการคิด คิดอย่างสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ 2. ความสามารถในการแก้ปัญหา บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. ความสามารถในการสื่อสาร สาระการเรียนรู้ ความรู้(K) การอ่านแปลและความหมาย และวิเคราะห์ข้อมูลจาการนาเสนอข้อมูลที่ กาหนดให้การอภิปราย ให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูล ข่าวสารทางสถิติ ที่สมเหตุสมผลและนาเสนอ ข้อมูลในรูปแบบที่เหมาะสม การนาเสนอข้อมูล เป็นวิธีการนาข้อมูลที่รวบรวมได้มาเสนอ หรือ เผยแพร่ให้ผู้สนใจในข้อมูลนั้นทราบ หรือเพื่อความสะดวกในการคานวณ หรือวิเคราะห์สิ่งที่ต้องการ เพื่อนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป ในการนาเสนอข้อมูลทาได้ทั้งอย่างไม่มีแบบแผน และอย่างมีแบบ แผน การนาเสนอข้อมูลอย่างไม่มีแบบแผน หมายถึงการนาเสนอที่ไม่มีกฎเกณฑ์อะไรที่จะต้องถือเป็น หลักมากนัก การนาเสนอแบบนี้ได้แก่การแทรกข้อมูลลงในบทความความและข้อเขียนต่างๆ การนาเสนอข้อมูลอย่างมีแบบแผน เป็นการนาเสนอที่จะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่ได้ กาหนดไว้เป็นมาตรฐาน เช่น การนาเสนอในรูปตาราง รูปกราฟ และรูปแผนภูมิ เป็นต้น ทักษะ/และกระบวนการ(P) ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะกระบวนการกลุ่ม และทักษะการคิดคานวณ คุณลักษณะ(A) การนาเสนอข้อมูล มี 2 ลักษณะ คือ 1) การนาเสนอข้อมูลอย่างไม่เป็นแบบแผน 2) การนาเสนอข้อมูลอย่างเป็นแบบแผน หลักฐานหรือร่องรอยการเรียนรู้ / การวัดและการประเมินผล ด้านความรู้ ภาระงาน / ชิ้นงาน กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 4 เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน เติมคาตอบพร้อมให้เหตุผลได้ถูกต้อง เติมคาตอบพร้อมให้เหตุผลได้ถูกต้อง เติมคาตอบพร้อมให้เหตุผลได้ถูกต้อง เติมคาตอบพร้อมให้เหตุผลได้ถูกต้อง ผู้ประเมิน เพื่อน , ครู เพื่อน , ครู เพื่อน , ครู เพื่อน , ครู
  • 12. 12 ด้านทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ใช้การประเมินเชิงคุณภาพในภาพรวม โดยพิจารณาจากการให้เหตุผลของคาตอบ สื่อสารที่ แสดงแนวความคิดที่มาซึ่งคาตอบ ตลอดจนการเชื่อมโยงการนาไปใช้ในชีวิตประจาวันและตามหลัก หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน โดยไม่มีการให้คะแนน ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใช้การประเมินเชิงคุณภาพในภาพรวม โดยพิจารณาจากความตั้งใจและเอาใจใส่ต่อการเรียน และงานที่ได้รับมอบหมาย กล้าแสดงความคิดเห็นถึงแนวคิดของตนเองอย่างมั่นใจ เป็นการประเมิน คุณภาพเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน โดยไม่มีการให้คะแนน กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1 ขั้นการสร้างความสนใจ นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาถึงการนาเสนอข้อมูลที่รวบรวมได้จากกิจกรรมที่ผ่านมาเพื่อ ความสะดวกในการคานวณ หรือวิเคราะห์หาสิ่งที่ต้องการเพื่อนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป ขั้นการสารวจและค้นหา 1. นักเรียนแบ่งกลุ่มคละความสามารถกลุ่มละ 4-5 คน ร่วมกันสืบค้นและศึกษาเนื้อหา ใบความรู้ที่ 1 2. เมื่อเข้าใจดีแล้วจึงทากิจกรรมที่ 1 เมื่อเสร็จแล้วให้นาเสนอหน้าชั้นเรียน โดยแต่ละ กลุ่มสร้างแผนภาพประกอบการนาเสนอ 3. บูรณาการโดยใช้ E-SE-Project Model ; Chart I ขั้นการอธิบาย 1. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับในการนาเสนอข้อมูลทาได้ทั้ง อย่างไม่มีแบบแผน และอย่างมีแบบแผน การนาเสนอข้อมูลอย่างไม่มีแบบแผน หมายถึงการนาเสนอ ที่ไม่มีกฎเกณฑ์อะไรที่จะต้องถือเป็นหลักมากนัก การนาเสนอแบบนี้ได้แก่การแทรกข้อมูลลงใน บทความความและข้อเขียนต่างๆ การนาเสนอข้อมูลอย่างมีแบบแผน เป็นการนาเสนอที่จะต้อง ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่ได้กาหนดไว้เป็นมาตรฐาน เช่น การนาเสนอในรูปตาราง รูปกราฟ และรูป แผนภูมิ เป็นต้น 2.ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันวิเคราะห์กิจกรรมที1ว่าสอดคล้องตามหลักแนวคิดปรัชญา ่ ของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างไรทั้งเรื่องของความพอประมาณการมีเหตุผลการมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี เงื่อนไขความรู้ และเงื่อนไขคุณธรรมที่ได้รับลงสู่สมดุล 4 มิติ แล้วร่วมกันสรุปบทเรียนที่ได้รับสู่หลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยมีครูคอยเป็นที่ปรึกษาให้คาแนะนาเพิ่มเติมกับนักเรียนในใบ กิจกรรมที่ 2 ขั้นการขยายความรู้ นักเรียนและครูขยายความรู้เรื่องการนาเสนอข้อมูล การนาเสนอข้อมูลอย่างไม่มีแบบแผน หมายถึงการนาเสนอที่ไม่มีกฎเกณฑ์อะไรที่จะต้องถือเป็นหลักมากนัก การนาเสนอแบบนี้ได้แก่การ แทรกข้อมูลลงในบทความความและข้อเขียนต่างๆ การนาเสนอข้อมูลอย่างมีแบบแผน เป็นการนาเสนอที่จะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่ได้ กาหนดไว้เป็นมาตรฐาน เช่น การนาเสนอในรูปตาราง รูปกราฟ และรูปแผนภูมิ เป็นต้น ขั้นการประเมินความรู้ 1. ให้นักเรียนทากิจกรรม แล้วให้นักเรียนช่วยกันสรุปเนื้อหาโดยครูใช้คาถามตรวจสอบ ความถูกต้องร่วมกับนักเรียน
  • 13. 13 ชั่วโมงที่ 2 – 3 – 4 คณิตศาสตร์กับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่อาเซียน ขั้นการสร้างความสนใจ นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาถึงการนาเสนอข้อมูลที่รวบรวมได้จากกิจกรรมที่ผ่านมาเพื่อ ความสะดวกในการคานวณ หรือวิเคราะห์หาสิ่งที่ต้องการเพื่อนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์และสอดคล้อง กับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ขั้นการสารวจและค้นหา 1. นักเรียนแบ่งกลุ่มคละความสามารถกลุ่มละ 4-5 คน ร่วมกันสืบค้นและศึกษาเนื้อหา ใบความรู้ที่ 2 2. เมื่อเข้าใจดีแล้วจึงทากิจกรรมที่ 3 ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนนาเสนอข้อมูลด้าน ต่างๆของประเทศในกลุ่มอาเซียนเพื่อเป็นการกระตุ้นและเตรียมความพร้อมของนักเรียนสู่อาเซียน เมื่อเสร็จแล้วให้นาเสนอหน้าชั้นเรียน โดยแต่ละกลุ่มสร้างแผนภาพประกอบการนาเสนอชั่วโมงต่อไป 3. บูรณาการโดยใช้ E-SE-Project Model ; Chart I ขั้นการอธิบาย 1. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับในการนาเสนอข้อมูลแบบ แผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแท่ง แบบต่างๆ 2.ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันวิเคราะห์กิจกรรมที3ว่าสอดคล้องตามหลักแนวคิดปรัชญา ่ ของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างไรทั้งเรื่องของความพอประมาณการมีเหตุผลการมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี เงื่อนไขความรู้ และเงื่อนไขคุณธรรมที่ได้รับลงสู่สมดุล 4 มิติ แล้วร่วมกันสรุปบทเรียนที่ได้รับสู่หลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยมีครูคอยเป็นที่ปรึกษาให้คาแนะนาเพิ่มเติมกับนักเรียนในใบ กิจกรรมที่ 3 ให้นาเสนอในชั่วโมงที่ 3 ขั้นการขยายความรู้ นักเรียนและครูขยายความรู้เรื่องการนาเสนอข้อมูลแบบแผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแท่ง แบบ ต่างๆ ขั้นการประเมินความรู้ 1. ให้นักเรียนทากิจกรรม แล้วให้นักเรียนช่วยกันสรุปเนื้อหาโดยครูใช้คาถามตรวจสอบ ความถูกต้องร่วมกับนักเรียน 2. นักเรียนทาแบบฝึกหัดโดยให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าและให้นาเสนอข้อมูลในรูปตามที่ เห็นสมควรโดยให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลต่างๆเกี่ยวกันประเทศอาเซียนกลุ่มละ 1 เรื่อง ไม่ซ้ากัน และเชื่อมโยงว่าสอด ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันวิเคราะห์กิจกรรมที3ว่าสอดคล้องตาม ่ หลักแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างไรนาเสนอชั่วโมงที่ 4 สื่อ อุปกรณ์และแหล่งการเรียนรู้ 1. ใบความรู้ที่ 1 2. ใบความรู้ที่ 2 3. กิจกรรมที่ 1 4. กิจกรรมที่ 2 5. กิจกรรมที่ 3 6. กิจกรรมที่ 4 7. หนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 8. เวปไซน์ ครูทับทิม เจริญตา
  • 14. 14 บันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผลการจัดการเรียนรู้ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ปัญหาและอุปสรรค …............................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................ ...................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... แนวทางการแก้ไขปัญหา …............................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................ ...................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ลงชือ ……………………………………ผู้บันทึก ่ (นางทับทิม เจริญตา) ตาแหน่ง ครูวทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ ิ วันที่ ………เดือน…………………….พ.ศ. 2555
  • 15. 15 ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ …………….………………………………………………………………………………………………………...……………...…… ………………………………………………………………………………………………….……………………………...….……… ………………………………………………………………………………………………….…………………………...…….……… ………………………………………………………………………………….…………….…………………………………………… ………………………………………………………………….……………………………..……………………………..…….……… ลงชือ ่ (นายโยธิน สิงค์คา) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ วันที่.................เดือน...............................พ.ศ…….. ความคิดเห็นของรองกลุ่มบริหารงานวิชาการ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ลงชื่อ (นายพิเชษฐ์ เทียมชัยภูมิ) รองผู้ ผูอานวยการกลุมบริหารวิชาการ ้ ่ วันที่.................เดือน...............................พ.ศ ................. ความคิดเห็นของผู้อานวยการโรงเรียน ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ลงชื่อ (นายไตรสรณ์ สุวพงษ์) ผูอานวยการโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม ้ วันที่.................เดือน...............................พ.ศ
  • 17. 17 ใบความรู้ที่ 1 สถิติ การนาเสนอข้อมูล การนาเสนอข้อมูล ทาได้ 2 ลักษณะ อย่างไม่เป็นแบบแผน - การนาเสนอในรูปบทความ - การนาเสนอในรูปข้อความกึ่งตาราง อย่างเป็นแบบแผน - การนาเสนอในรูปตาราง - การนาเสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิ และแผนภาพ - การนาเสนอข้อมูลในรูปกราฟ การนาเสนอข้อมูลในรูปตาราง การนาเสนอข้อมูลโดยตีตารางกรอกข้อมูลที่เป็นตัวเลขโดยแบ่งเป็นแถวตั้ง (columns) และ แถวนอน (rows) เพื่อจัดข้อมูลให้เป็นระเบียบ ลักษณะของตารางไม่ตายตัว ขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายของ ผู้จัดทา ส่วนประกอบของตารางที่จะต้องมีคือ 1) ชื่อเรื่อง (title) 2) ต้นขั้ว(stub) 3) หัวเรื่อง(caption) 4) ตัวเรื่อง(body) 5) หมายเหตุ(mote) 6) หน่วย ประโยชน์ของการนาเสนอโดยตารางนี้ คือทาให้ผู้อ่านทาความเข้าใจได้ง่ายและเร็วกว่าการ นาเสนอโดยบทความและการนาเสนอโดยบทความกึ่งตาราง นอกจากนี้ยังทาให้มองดูเรียบร้อย และชัดเจนดี ดังตัวอย่าง
  • 18. 18 ตัวอย่างที่ 1 สถิติปริมาณผลิตเสื้อผ้าสาเร็จรูปของไทย ปี 2525 - 2530 ปริมาณ : 1,000 ชิ้น ปี เสื้อสาเร็จรูปชนิดทอ เสื้อผ้าสาเร็จรูปชนิดถัก รวม % เพิ่ม/ลด จากปีก่อน 2525 522,715 241,379 764,094 2526 558,712 263,092 821,804 +7.55 2527 600,349 288,797 889,146 +8.19 2528 638,024 307,848 945,872 +6.38 2529 695,416 339,548 1,035,000 +9.42 2530 760,450 374,550 1,135,000 +9.66 ที่มา : กรมศุลกากร หมายเหตุ : 1/เป็นตัวเลขประมาณการ ตัวอย่างที่ 2 มูลค่าการส่งออกรองเท้าจาแนกตามประเภท ปี 2525 - 2539 มูลค่า : ล้านบาท รายการ รองเท้ากีฬา รองเท้าหนัง หนังอัด รองเท้าแตะ รองเท้าผ้าใบ ผ้าใบพื้นยาง รองเท้าพลาสติก อื่นๆ รวม ปี 2525 310.7 512.7 348.9 99.7 28.3 39.5 1,139.5 2526 406.4 671.6 502.6 82.6 31.9 47.7 1,742.8 2527 714.3 656.8 486.9 98.2 42.1 63.7 2,051.9 2528 1,105.3 621.2 412.8 75.9 57.7 93.7 2,367.0 ที่มา : ศูนย์สถิติการพาณิชย์ กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมลกากร หมายเหตุ : ปี 2529 ตัวเลขเบื้องต้น 2529 855.7 362.8 335.0 42.6 137.8 112.7 1,846.6
  • 19. 19 กิจกรรมที่ 1 จงนาเสนอข้อมูลในรูปตาราง 1) ผลผลิตมะละกอที่เกษตรกรสามารถผลิตได้แตกต่างกันค่อนข้างมาก โดยทั่วไปพบว่า ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีผลผลิตต่าที่สุด คือ เพียง 3.6 ก.ก./ต้น/เดือน และ 4.3 ก.ก./ต้น/ เดือน ในมะละกอพันธุ์แขกดา ส่วนภาคตะวันตก และภาคใต้มีผลผลิตสูงกว่าเท่าตัวคือ 7 ก.ก./ ต้น/เดือน และ8.6 ก.ก./ต้น/เดือน ส่วนภาคตะวันออก มีผลผลิตสูงสุด คือ 11.5 ก.ก./ต้น/เดือน (ที่มา : กรมส่งเสริมสหกรณ์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ………………………………………………………………………………………………………………….………………………… …………………………………………………………………………………………………………….……………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………….………………………………………………………………………… …………………………………………………………………..………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………..………………………………………………………………… ……………………………………………………………………..…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………..…………………………………………………………………… …………………………………………………………………..………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………..………………………………………………………………… ……………………………………………………………………..…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………..…………………………………………………………………… 2.นอกจากการนามะละกอไปรับประทานสด ๆ แล้ว เรายังสามารถนาไปปรุงอาหาร เช่น ส้มตา แกง ส้ม ฯลฯ หรือนาไปหมักเนื้อให้นุ่มได้อีกด้วย เพราะในมะละกอมีเอนไซม์ชนิดหนึ่งเรียกว่า พา เพน (Papain) ซึ่งสามารถนาเอนไซม์ชนิดนี้ไปใส่ในผงหมักเนื้อสาเร็จรูป บางครั้งนาไปทาเป็นยาช่วย ย่อยสาหรับผู้ที่มีปัญหาอาหารไม่ย่อยก็ได้สาหรับสารอาหารในมะละกอนั้น มีดังต่อไปนี้คือ มีโปรตีน 0.5 กรัม ไขมัน 0.1 กรัม แคลเซียม24 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 22 มิลลิกรัม เหล็ก 0.6 มิลลิกรัม โซเดียม 4 มิลลิกรัม ไทอะมีน0.04 มิลลิกรัม ไรโบฟลาวิน 0.04 มิลลิกรัม ไนอะซิน 0.4 มิลลิกรัม และ กรดแอสคอร์บิก วิตามินซี 70 มิลลิกรัม ………………………………………………………………………………………………………………….………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………..…………………………………………………………… ……………………………………………………………………………..……………………………………………………………… ……………………………………………………………………………….…………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………..…………………………………………… …………………………………………………………………..………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………..………………………………………………………………… ……………………………………………………………………..……………………………………………………………………
  • 21. 21 ใบความรู้ที่ 2 สถิติ การนาเสนอข้อมูล การนาเสนอข้อมูล ทาได้ 2 ลักษณะ อย่างไม่เป็นแบบแผน - การนาเสนอในรูปบทความ - การนาเสนอในรูปข้อความกึ่งตาราง อย่างเป็นแบบแผน - การนาเสนอในรูปตาราง - การนาเสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิ และแผนภาพ - การนาเสนอข้อมูลในรูปกราฟ การนาเสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิและแผนภาพ แผนภูมิและแผนภาพที่ใช้สาหรับการนาเสนอข้อมูล ได้แก่ 1) แผนภูมิแท่ง (bar chart) 2) แผนภูมิรูปวงกลม (pie chart) 3) แผนภูมิรูปภาพ (pictogram) 4) แผนที่สถิติ (statistical map) การนาเสนอข้อมูลโดยใช้แผนภูมิและแผนภาพ ควรระบุรายละเอียดต่อไปนี้ 1) หมายเลขแผนภูมิหรือแผนภาพ (ในกรณีที่มากกว่าหนึ่ง) 2) ชื่อแผนภูมิหรือแผนภาพ 3) แหล่งที่มาของแผนภูมิหรือแผนภาพ ( หมายเหตุคานา หรือหมายเหตุล่าง อาจจะมีหรือไม่ก็ได้ )
  • 22. 22 แผนภูมิแท่ง แผนภูมิแท่ง คือ แผนภูมิที่ประกอบด้วย แกนสองแกน คือแกนนอนและแกนตั้ง และรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้าที่มีความกว้างของแต่ละรูปเท่ากัน ส่วนความยาวจะแปรตามขนาดของข้อมูล เรียกรูป สี่เหลี่ยมแต่ละรูปนี้ว่า แท่ง (bar) การนาเสนอข้อมูลอาจจัดให้แท่งแต่ละแท่งอยู่ในแนวตั้ง หรือ แนวนอนก็ได้ โดยวางเรียงให้ชิดกันหรือห่างกันเล็กน้อยเท่าๆกันก็ได้ พร้อมทั้งเขียนรายละเอียดของ แต่ละแท่งกากับไว้ นอกจากนี้ เพื่อความสวยงาม อาจจะใช้วิธีแรเงาหรือระบายสี เพื่อให้ดูสวยงาม และสะดวกในการศึกษาเปรียบเทียบ ข้อมูลที่เหมาะสาหรับการใช้แผนภูมิแท่งในการนาเสนอข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลที่จาแนกตาม คุณภาพ ตามกาลเวลา และตามภูมิศาสตร์ แผนภูมิแท่งจาแนกได้หลายประเภท ได้แก่ แผนภูมิแท่งเชิงเดียว แผนภูมิแท่งเชิงซ้อน แผนภูมิแท่งส่วนประกอบ แผนภูมิแท่งบวก-ลบ แผนภูมิแท่งซ้อนกัน แผนภูมิแท่งปิระมิด ในชั้นนี้ จะกล่าวถึงแผนภูมิแท่งเชิงเดียวและแผนภูมิแท่งเชิงซ้อนเท่านั้น 1) แผนภูมิแท่งเชิงเดียว (simple bar chart) หมายถึง แผนภูมิที่ใช้สาหรับข้อมูลชุด เดียว และแสดงลักษณะของข้อมูลที่สนใจ เพียงลักษณะเดียว เช่น ความถี่ จานวนเงิน จานวนภาษี มูลค่าการส่งออก เป็นต้น ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนแผนภูมิเชิงเดียวแสดงการเปรียบ้ทียบผลการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ตั้งแต่ พ.ศ.2528 ถึง พ.ศ. 2532 พ.ศ. 2528 2529 2530 2531 2532 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 15,548.0 15,596.4 18,185.1 27,154.1 38.122.5 (ล้านบาท) ที่มา : กรมสรรพกร กระทรวงการคลัง แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบผลการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ตั้งแต่ พ.ศ. 2528 ถึง พ.ศ. 2532 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ล้านบาท) 38,122.5 30,000 27,154.1 20,000 15,548.0 15,596.4 18,185.1 10,000 0 2528 2529 ศ. ที่มา : กรมสรรพกร กระทรวงการคลัง 2530 2531 2532
  • 23. 23 2) แผนภูมิเชิงซ้อน (multiple bar chart) หมายถึง แผนภูมิแท่งที่แสดงการ เปรียบเทียบของข้อมูลสองชุดขึ้นไป หรือเปรียบเทียบลักษณะของข้อมูลที่เราสนใจตั้งแต่สองลักษณะ ขึ้นไป บนแกนเดียวกัน เช่น เปรียบเทียบรายรับรายจ่าย เปรียบเทียบจานวนนักเรียนชายกับ จานวนนักเรียนหญิง เป็นต้น ตัวอย่าง จงเขียนแผนภูมิแท่งเชิงซ้อน แสดงการเปรียบเทียบจานวนประมาณการของภาษี อากรทุกประเภทกับเงินที่เก็บได้จริง ปีงบประมาณ 2529 - 2532 ที่มา : กรมสรรพกร กระทรวงการคลัง ปีงบประมาณ จานวนประมาณการ จานวนเงินที่เก็บได้จริง (ล้านบาท) (ล้านบาท) 2529 67,640 65,417 2530 73,650 73,360 2531 77,950 101,644.60 2532 115,140 135,070.10 แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบ จานวนประมาณการของภาษีอากรทุกประเภทกับเงินที่เก็บได้จริง ปีงบประมาณ 2529 - 2532 จานวนเงิน(ล้านบาท) 140,000 120,000 ประมาณการ 100,000 เก็บได้จริง 80,000 60,000 40,000 20,000 0 2529 2530 ปีงบประมาณ ที่มา : กรมสรรพกร กระทรวงการคลัง 2531 2532
  • 24. 24 กิจกรรมที่ 3 1.จงพิจารณาข้อมูลต่อไปนี้แล้วนาเสนอข้อมูล แสดงพื้นที่ จานวนประชากร และ ความ หนาแน่นของประชากรในกลุ่มประเทศอาเซียน 10 ประเทศ ตามความเหมาะสม ประเทศ เมืองหลวง อินโดนีเซีย จาการ์ตา 1,904,569 240,271,522 126 พม่า เนปีดอ 678,000 51,020,000 74 ไทย กรุงเทพมหานคร 514,000 67,764,000 132 เวียดนาม ฮานอย 331,210 88,069,000 265 มาเลเซีย กัวลาลัมเปอร์ 329,750 33,318,000 83 ฟิลิปปินส์ มะนิลา 300,000 91,983,000 307 ลาว เวียงจันทน์ 236,800 6,320,000 27 กัมพูชา พนมเปญ 181,035 14,805,000 82 บรูไน บันดาร์เสรีเบกาวัน 5,765 400,000 70 สิงคโปร์ สิงคโปร์ 665 4,987,600 7,023 ที่มา : th.wikipedia.org) พื้นที่ (ตร.กม.) ประชากร (2552) ความหนาแน่น
  • 26. 26
  • 27. 27
  • 28. 28