SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  78
Télécharger pour lire hors ligne
หลักธรรมทางศาสนาพุทธ
        ธรรมมีอุปการมาก 2 อยาง
1.สติ คือความระลึกได หมายความวาระลึก
       ไดขณะพูด ขณะคิด ขณะทํา
2. สัมปชัญญะ คือความรูตัว หมายความวา
       รูตัวขณะพูด ขณะคิด ขณะทํา
ธรรมที่คุมครองโลก 2 อยาง( เทวธรรม )
 1.หิริ คือความละอาแกใจ หมายความ
        วาละอายตอบาป ละอายตอสิ่งที่
        ที่ทําความชั่ว
2. โอตตัปปะ คือความเกรงกลัวตอบาป
       ที่ตัวเองไดทํา
ธรรมอันธรรมใหงาม 2 อยาง
1.ขันติ คือความอดทน อดทนตอความ
        ลําบาก อดทนตอความไมสบายใจ
2. โสรัจจะ คือความเสงียม ความเจียมตัว
                      ่
ไตรลักษณ ( สามัญลักษณ )
 1.อนิจตา(อนิจจัง) คือความไมเที่ยง
2. ทุกขตา(ทุกขัง) คือความเปนทุกข
 3. อนัตตตา(อนัตตา) คือความไมมี
                   ตัวตน
บุตรมี 3 ประเภท
1. อวชาตบุตร คือบุตรที่ดวยกวาบิดามารดา
 2. อนุชาตบุตร คือบุตรที่มีความเสมอบิดา
               มารดา
 3. อภิชาตบุตร คือบุตรที่ดีกวาบิดามารดา
สมาธิ 3
   1.ขณิกสมาธิ คือสมาธิชั่วขณะ
  2. อุปจารสมาธิ คือสมาธิเฉียด ๆ
3. อัปปนาสมาธิ คือสมาธิแนวแนที่
    เขาฌานสมาบัติคือบรรลุธรรม
ปญญา 3
1. สุตมยปญญา คือปญญาเกิดจากการฟง
2. จินตามยปญญา คือปญญาเกิดจาก
    ความคิด คือคิดกอนทําคิดกอนพูด
3. ภาวนามยปญญา คือปญญาเกิดจากการ
            บรมการฝกสมาธิ
สุตมยปญญา มี 2 ดับ
           ตมย
1.ระดับธรรมดา ไดแกการศึกษาเลาเรียน
  เชน การพูด การฟง การอาน การเขียน
 ผูเรียนจะตองมีความสนใจและความตั้งใจ
  เรียนตาสมควร
2. ระดับสูง
เปนการศึกษาระดับสูงไดแก พหูสูต
หรือนักปราชญ มี 5 ประการไดแก
สุตา ตั้งใจ 2. ธตา จําได 3.วจสา ปริจตา
    ทองไดหรือพูดใหผูอนฟงได
                         ื่
4.มนสานุเปกขิตา 5.ทิฏฐิยา สุปฏิวิทยา
2. จินตามยปญญา มี 2 ระดับ
1.ระดับธรรมดา หมายถึงการนํารูที่
กระจัดกระจายอยูมาจัดใหเปนระบบ มี
  ความสัมพันธกันเรื่อง ๆ ไป
2. ระดับสูง มีดังนี้
1.กาจัดโดยปริมาณ คือความมากนอย
  จํานวนหรือขนาด
2.การจัดโดยคุณภาพ คือดีเยี่ยม ดีมาก ดี
  ปานกลาง
3.การจัดโดยกาลเวลาเปนยุค สมัย ศตวรรษ
2. ระดับสูง (ตอ)
4.การจัดโดยสถานที่ ไดแก ทวีป ภูมภาค
                                  ิ
  ประเทศ จังหวัด อําเภอ ตําบล หมูบาน
5.การจัดตามเหตุผล วาอะไรเปนเหตุ
  อะไรเปนผล
3. ภาวนามยปญญามี 2 ระดับ
1. ระดับธรรมดา หมายถึง การลงมือ
  ปฏิบัติดวยตนเอง เมือไดศึกษาทฤษฎี
                       ่
   ก็ศึกษาภาคปฏิบัติตอไป เชน การทดลอง
   วิทยาศาสตร เปนตน
2. ระรับสูง
คือปญญาที่เกิดจากการเจริญสมาธิ เรียกวา
วิปสสนาปญญา เปนปญญาที่รูแจงเห็นจริง
และสามารถกําจัดกิเลสใหนอยลงหรือหมด
  สิ้นไปได
ไตรสิกขา 3
1.สีลสิกขา คือการปฏิบัติรักษาศีลดวย
              กาย วาจา ใจ
2. จิตตสิกขา คือการปฏิบัติในทางสมาธิให
              เกิดขึ้นกับตนเอง
 3. ปญญาสิกขา คือการปฏิบัติกรรมฐานให
               บรรลุถึงปญญา
ทุจริต 3 อยาง
1. กายทุจริต ประพฤติชั่วดวยกาย
2. วจีทุจริต ประพฤติชั่วดวยวาจา
3. มโนทุจริต ประพฤติชั่วดวยใจ
สุจริต 3 อยาง
1. กายสุจริต ประพฤติชอบดวยกาย
2. วจีสุตจริต ประพฤติชอบดวยวาจา
3. มโนสุจริต ประพฤติชอบดวยใจ
ไตรลักษณ 3 อยาง
1. อนิจจตา ความเปนของไมเทียง
2. ทุกตา ความเปนทุกข
3. อนัตตตา ความเปนของไมใชตน
บุญกิริยาวัตถุ 3
1.ทานมัย บุญสําเร็จดวยการบริจาคทาน
2.สีลมัย บุญสําเร็จดวยการรักษาศีล
3.ภาวนามัย บุญสําเร็จดวยการเจริญภาวนา
บุญกิริยาวัตถุ 3
  บุญ คือ ความดี
  กิริยา คือ การกระทํา
  วัตถุ คือ ที่ตั้ง รวมแลว
หมายความวาที่ตั้งแหงการทําความดี
หัวใจโอวาทปาฏิโมกข 3
                          โมกข
1.สัพพปาปสสะ อะกะระณัง
    เวนจากการทําชั่วทั้งปวง
2.กุลสสูปสัมปทา ทําแตความดี
     ั
3.สจิตตปริโยทปทัง ทําจิตใจใหบริสุทธิ์
อบายมุข (หนทางแหงความเสือม)
                          ่
            อบายมุข 4
      1.เปนนักเลงผูหญิง
      2.เปนนักเลงสุรา
      3.เปนนักเลงการพนัน
      4.คบคนชั่วเปนมิตร
อบายมุข 6
1.ดื่มน้ําเมา
2.เที่ยวกลางคืน
3.เที่ยวดูการละเลน
4.เลนการพนัน
5.คบคนชั่วเปนมิตร
6.เกียจครานทําการงาน
อิทธิบาท 4
1.   ฉันทะ คือความพอใจรักใครในสิงนั้น
                                   ่
2.   วิริยะ คือความขยันหมั่นเพียร
3.   จิตตะ คือการเอาใจฝกใฝในสิ่งนั้น
4.   วิมังสา คือการหมั่นตริตรองพิจาณา
              เหตุผลในสิ่งที่ทํา
พรหมวิหาร 4
1. เมตตา คือความปรารถนาใหผูอนเปนสุข
                                ื่
2. กรุณา คือคิดจะชวยใหผูอนใหพนทุกข
                            ื่       
3. มุทิตา คือความพลอยยินดีเมื่อผูอื่นไดดี
                                   
4. อุเบกขา คือความวางเฉยไมดีใจไมเสียใจ
อริยสัจ 4

1. ทุกข คือความไมสบายกายไมสบายใจ
          เรียกวาทุกข
2. สมุทัย คือเหตุใหเกิดความทุกข
3. นิโรธ คือความดับทุกข
4. มรรค คือหนทางในการปฏิบัติใหถึง
                   ั     
อริยสัจจะ 4
     ทุกข แบงออกเปน 2 ประเภท
1.ทุกขประจํา มี 3 ประการ ความเกิด
               ความแก ความตาย
หัวใจนักปราชญ 4 ประการ
1.   สุ = สุตะ คือการฟง
2.   จิ = จิตนา คือความคิด
3.   ปุ = ปุจฉา คือคําถาม
4.   ลิ = ลิขิต คือขีดเขียนจดบันทึก
เบญจศีล 5 ประการ
1.   เวนจากการฆาสัตว
2.   เวนจากการลักขโมย
3.   เวนจากประพฤติในกาม
4.   เวนจากการพูดเท็จ
5.   เวนจากการดื่นสุรา
เบญจธรรม 5 ประการ
1.เมตตากรุณา ตอสัตวและมนุษยดวยกัน
2.สัมมาอาชีวะ การเลียงชีพชอบ
                    ้
3.กามสังวร ใหเดินสายกลาง
4.สัจจะ      พูดแตความจริง
5.สติสัมปชัญญะ ควรระลึกอยูเ สมอ
คุณสมบัติกลยาณมิตรธรรมมี 7 ประการ
           ั
1. ปโย หรือ ปยะ นารัก เปนกันเอง
2. ครุ       นาเคารพ
3. ภาวนิโย มีความรูจริง
4. วัตตา รูจักชี้แจงใหเขาใจ
5. วจนักขโม อดทนที่จะรับฟง
กัลยาณมิตรธรรม 7 ประการ (ตอ)
6. คัมภีรัญจะ กะถัง กัตตา
       แถลงเรื่องล้ําลึกได
7. โน จัฏฐาเน นิโยชะเย
      ไมชักจูงไปทางเสือมเสีย
                        ่
อปริหานิยาธรรม 7 ( ฝายอาณาจักร)
1.หมั่นประชุมกันเนื่องนิตย
2.เมือประชุมกันก็พรอมเพรียงกันประชุม
     ่
  เมือเลิกก็พรอมกันเลิก
       ่
3.ไมบัญญัติขอทีพระพุทธเจาไมบัญญัติ
                 ่
4.ทานเหลาใดเปนใหญประธานในที่ประชุม
อปริหานิยาธรรม 7 (ตอ)
5.ไมลแกอานาจแกความอยากที่เกิดขึ้น
      ุ ํ
6.ยินดีในเสนาสนะของตนเอง
7.จัดใหความอารักขาคุมครองปองกัน
2. ทุกขจรมี 8 ประการ (ตอ)
1.ความโศก ไดแก ความเศราใจ
2.ความพิไรรําพัน ไดแก ความคร่ําครวญ
3.ความทุกขทางกาย ไดแก ความเจ็บไข
4.ความโทมนัส ไดแก ความไมสบายใจ
5.ความคับแคนใจ ไดแก ความตรอมใจ
2.ทุกขจร (ตอ)
6. ความพลัดพรากจากสิ่งที่รักที่ชอบใจ
7.ความประสบกับสิ่งที่ไมรักไมชอบใจ
8. ความปรารถนาสิ่งใดแลวไมไดสิ่งนั้น
2.สมุทัย มี 3 ประการ
1.กามตัณหา คือความยากในกาม
2.ภวตัณหา คืออยากเปนนั้นอยากเปนนี้
3.วิภวตัณหา คือความทะยานอยากใน
   ในความไมเปน
3.นิโรธ
นิโรธ หรือ ทุกขนิโรธ แปลวา ความ
 ดับทุกขหมายความวากับดับกิเลส
 หมายเหตุ ทุกข-นิโรธ เปน ผล
 สมุทัย-มรรค เปน เหตุ
อคติ 4 คือการลําเอียง
1.ฉันทาคติ   คือลําเอียงเพราะรักใคร
2.โทสาคติ    คือลําเอียงเพราะไมชอบ
3.โมหาคติ    คือลําเอียงเขลา
4.ภยาคติ     คือลําเอียงเพราะกลัว
คุณธรรมที่ทําใหมนุษยเจริญรุงเรือง
1.สัปปุริสูปสังเสวะ คือกระทําชอบทั้งกายวาจาใจ
2.สัทธัมมัสสวนะ คือฟงคําสั่งสอนของทาน
3.โยนิโสมนสิการ คือพิจาณาตริตรองสิงดีและ่
                  ไมดี
4. ธัมมานุธมมปฏิบัติ คือประพฤติตามธรรมะ
            ั
สังคหวัตถุ 4
1.ทาน การใหปนสิ่งของแกคนที่ควรใหปน
2.ปยวาจา การเจรจาที่ออนหวาน
                      
3.อัตถจิยา ประพฤติสิ่งที่เปนประโยชนแก
           ผูอน
               ื่
4.สมานัตตา การที่เปนคนเสมอตนเสมอ
    ปลาย
ธรรมของฆราวาส มี 4 ประการ
1.สัจจะ ซื่อสัตยตอกัน
2.ทมะ รูจักขมจิตองตัวเอง
3.ขันติ ความอดทน
4.จาคะ สละใหปนสิ่งของแกคนที่ควรใหปน
คนเราประกอบดวยธาตุ 4
 1.ปฐวีธาตุ คือธาตุดิน
 2.อาโปธาตุ คือธาตุน้ํา
 3.เตโชธาตุ คือธาตุไฟ
 4.วาโยธาตุ คือธาตุลม
ธาตุ 6
1.ปฐวีธาตุ คือธาตุดิน
2.อาโปธาตุ คือธาตุน้ํา
3.เตโชธาตุ คือธาตุไฟ
4.วาโยธาตุ คือธาตุลม
5.อากาศธาตุ คือชองวางที่มีในกาย
6.วิญญาณธาตุ คือความรูอะไรได
คนเราประกอบดวยขันธ 5
1.รูป ประกอบดวย ดิน น้ํา ไฟ ลม
2.เวทนา ประกอบดวย ไมสุข ไมทุกข
3.สัญญา ประกอบดวย จํารูป จําเสียง จํากลิ่น
         จํารส เรียกวาสัญญาคือความจํา
4.สังขาร คือการเปลี่ยนแปลงของรางกาย
5.วิญญาณ ความรูทางอารมณที่มากระทบ
อนันตริยกรรมหนัก 5 ประการ
1.มาตาฆาต คือ ฆามารดา
2.ปตุฆาต     คือ ฆาบิดา
3.อรหันตฆาต คือ ฆาพระอรหันต
4.โลหิตุปบาท คือทํารายพระพุทธเจายัง
            โลหิตใหหอ
                     
5.สังฆเภท คือทําใหพระสงฆแตกแยกกัน
คุณสมบัติของอุบาสก 5 ประการ
1.ประกอบดวยศรัทธา
2.มีศีลบริสุทธิ์
3.ไมถือมงคลตื่นขาวคือเชื่อกรรมไมเชื่อมงคล
4.ไมแสวงหาเขตบุญนอกพุทธศาสนา
5.บําเพ็ญบุญแตในพุทธศาสนา
ธรรมของการสื่อสาร( อายตนะภายใน 6 )

1.จักษุ = ตา     2.โสตะ = หู
3.ฆานะ = จมูก   4. ชิวหา = ลิน
                             ้
5.กายะ = กาย    6.มโน = ใจ
ทิศ 6
1.   ปุรัตถิมทิส ทิศเบื้องหนา คือบิดามารดา
2.   ทักขิณาทิส ทิศเบื้องขวา คืออาจารย
3.   ปจฉิมทิส ทิศเบื้องหลัง คือบุตรภรรยา
4.   อุตตรทิส ทิศเบื้องซาย คือมิตรสหาย
5.   เหฏฐิมทิส ทิศเบื้องต่ํา คือบาวคนรับใช
6.   อุปริมทิส ทิศเบื้องบน คือสมณะพราหมณ
สัปปุริสธรรม 7 ( ธรรมของคนดี)
        ริ
1.ธัมมัญุตา คือการรูจักเหตุ
2.อัตถัญุตา คือการรูจักผล
3.อัตตัญุตา คือการรูจักตน
4.มัตตัญุตา คือการรูจักประมาณ
5.กาลัญุตา คือการรูจักกาลเวลา
สัปปุริสธรรม 7 ประการ
            ริ
6. ปริสัญุตา คือการรูจักชุมชน
7. ปุคคลปโรปรัญุตา คือการรูเลือกคบคน
อริยทรัพย 7 ประการ
1.ศรัทธา คือเชือสิ่งที่ควรเชือ
               ่             ่
2.ศีล คือการรักษา กายวาใจใหเรียบรอย
3.หิริ คือความละอายตอบาปที่ทํา
4.โอตตัปปะ คือกลัวตอผลบาปทีทํา
5.พาหุสัจจะ คือผูไดฟงมามาก
                        
อริยทรัพย 7 ประการ ( ตอ )
6.จาคะ คือ การเสียสละการใหปน
7.ปญญา คือความรอบรู
เวสารัชชกรณธรรม (ธรรมคนเกลาหาญ)
 1.ศรัทธา คือเชือสิ่งที่ควรเชือ
                ่             ่
 2.ศีล คือมีความประพฤติที่ดีงาม
 3.พาหุสัจจะ คือไดศึกษามามาก
 4.วิริยารัมภะ คือความเพียรอยางจริงจัง
 5.ปญญา คือความรอบรู
มรรค 8 ประการ(ทางสายกลาง)
1.สัมมาทิฏฐิ คือความเห็นชอบ
2.สัมมาสังกัปปะ คือความดําริชอบ
3.สัมมาวาจา คือการพูดชอบ
4.สัมมากัมมันตะ คือการกระทําชอบ
5.สัมมาอาชีวะ คือการเลียงชีพชอบ
                       ้
มรรค 8 ประการ
6.สัมมาวายามะ คือความพยามยามชอบ
7.สัมมาสติ    คือความระลึกชอบ
8.สัมมาสมาธิ คือการตั้งจิตมั่นชอบ
โลกธรรม 8
1.ลาภ          5.เสื่อมลาภ
2.ยศ           6.เสื่อมยศ
3.สรรเสริญ     7.นินทา
4.สุข          8.ทุกข
มรรค 8 สรุปเขาไตรสิกขา 3 ดังนี้
1.ศีล ไดแก เพียรชอบ ระลึกชอบ
                ตั้งใจชอบ
2.สมาธิ ไดแกวาจาชอบ การงานชอบ
         เลียงชีพชอบ
            ้
3. ปญญา ไดแก เห็นชอบ ดําริชอบ
สามีตามหลักพระพุทธศาสนา
1. วธกภัสดา สามีเหมือนเพชฌฆาต
2. โจรภัสดา สามีเหมือนโจร
3. อัยยภัสดา สามีเหมือนนาย
4. ปตาภัสดา สามีเหมือนพอ
5. ภาตาภัสดา สามีเหมือนพีชาย
                          ่
สามีตามกลักพระพุทธศาสนา
 6. สขาภัสดา สามีเหมือนเพือน
                          ่
7. ทาสภัสดา สามีเหมือนทาสเหมือน
             คนรับใช
ภริยาตามหลักพระพุทธศาสนา
1.วธกภริยา ภริยาเหมือนเพชฌฆาต
2.โจรีภริยา ภริยาเหมือนโจร
3.อัยยภริยา ภริยาเหมือนนาย
4.มาตาภริยา ภริยาเหมือนแม
5.ภคินีภริยา ภริยาเหมือนพีสาว
                          ่
ภริยาตามหลักพระพุทธศาสนา
6. สขีภริยยา ภริยาเหมือนเพือน
                           ่
7. ทาสีภริยา ภริยาเหมือนคนรับใช
             เหมือนกับทาส
ภริยา 7 (ตอ)
 ภัสดา แปลวา ผูเลี้ยงดู
คําวา ภริยา แปลวา ผูถูกเลี้ยงดู
หมายความวา ในอดีตสามีเปนผูเลี้ยงดู
ภริยาฝายเดียว
ญาติในทางศาสนามี 2 ประเภท
1.ญาติทางโลก แบงออกเปน 2 ประเภท
   1. ญาติโดยสายโลหิต มี 7 ชั้น
  1.ชันพอแมของปูยาตายายของเรา ไดแก
        ้
          ปูทวด ยาทวด ตาทวด ยายทวด
  2.ชันพอแมของพอแมของเรา ปู ยา ตา ยาย
      ้
ญาติโดสายโลหิต 7 (ตอ)
3.ชันพอแมของเรา ไดแก พอ แม ลุง ปา
      ้
            นา อา
4.ชันเดียวกับเรา ไดแก พี่ นอง ลูกพี่
    ้
           ลูกนอง
5. ชั้นลูกของเรา ไดแกลก หลาน
                        ู
ญาติโดยสายโลหิต 7 (ตอ)
6.ชันหลานของเรา ไดแก ลูกของลูก
    ้
7.ชันเหลนของเรา ไดแก ลูกของหลาน
      ้
ญาติโดยสายโลหิต 7 ประการ
2. ญาติโดยความใกลชิดคุนเคย หมายถึง
   เพือนสนิทสนมกับเราโดยตรง หรือกับ
      ่
  ญาติทางสายโลหิตของเรา
2. ญาติทางธรรมมี 4 ประการ
1.เปนญาติเพราะบวชใหเปนภิกษุ
2.เปนญาติเพราะบวชใหสามเณร
3.เปนญาติเพราะใหนิสัย
4.เปนญาติเพราะสอนธรรมะให
หลักกาลามสูตร (เกสปุตตสูตร 10 ประการ)
1.มา อนุสสเวนะ อยาปลงใจเชื่อเพียง
  เพราะไดฟงถอความตาม ๆ กันมา
           
2.มา ปรัมปรายะ อยาปลงใจเชือเพียง
                            ่
  เพราะมีการนับถือสืบตอกันมา
กาลามสูตร 10 ประการ (ตอ)
3.มา อิติกิรายะ อยาปลงใจเชือเพียง
                              ่
       เพราะขาวที่เลาลือกันมา
4.มา ปฎกสัมปทาเนนะ อยาปลงใจเชือ  ่
  เพียงเพราะอางตําราหรือคัมภีร
กาลามสูตร 10 ประการ (ตอ)
5. มา ตักกเหตุ อยาปลงใจเชื่อเพียง
  เพราะการคาดเดาหรือกาคาดคะเนเอา
6. มา นยเหตุ อยาปลงใจเชือเพียง
                         ่
             เพราะอนุมาน
กาลามสูตร 10 ประการ (ตอ)
7. มา อาการปริวัตักเกนะ อยาปลงใจ
  เชื่อเพียงเพราะโดยการตริตรองตาม
  แนวเหตุผล
8. มา ทิฏฐินิชฌานักขันติยา อยาเชื่อ
  ใจเพียงใชทฤษฎีและความคิดของตน
กาลามสูตร 10 ประการ (ตอ)
9.มา ภัพพรูปะตายะ อยาเชื่อใจเพียง
  มองเห็นบุคลิกที่นาเชื่อถือ
10.มา สมโณ ครูติ อยาเชือใจเพียง
                            ่
  เพราะนับถือวาทานสมณะเปนครู
อุปกิเลสมี 16 ประการ
1.อภิชฌาวิสมโลภะ คือละโมบ
    2.โทสะ คือ รายกาจ
         3.โกธะ คือ โกรธ
           4.อุปนาหะ คือผูกโกรธ
อุปกิเลสมี 16 ประการ
5.มักขะ คือ ลบหลูคุณทาน
6.ปลาสะ คือ ตีตัวเสมอเทียนทาน
7.อิสสา คือ ริษยา
8.มัจฉริยะ คือ ตระหนี่
อุปกิเลสมี 16 ประการ (ตอ)
9.มายา คือ มารยาคือเจาเลห
10.สาเถยยะ คือ โออวด
11.ถัมภะ คือ หัวดื้อ
12.สารัมภะ คือ แขงดี
อุปกิเลสมี 16 ประการ (ตอ)
13.มานะ คือ ถือตัว
14.อติมานะ คือ ดูหมิ่นทาน
15.มทะ        คือ มัวเมา
16.ปมาทะ คือ เลินเลอ
สอนโดย

คุณครูปริวัฒน   บุญเชิญ

Contenu connexe

Tendances

วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
A-NKR Ning
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Sivagon Soontong
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
พัน พัน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
akke1881
 

Tendances (20)

วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดกใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
 
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปรายหน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
Budda
BuddaBudda
Budda
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรีกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
 

En vedette

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
magicgirl123
 
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
Napakan Srionlar
 
Organization theory
Organization theoryOrganization theory
Organization theory
sarativat
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
Onpa Akaradech
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
jinnipaatirattana
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
Tongsamut vorasan
 
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธเศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
Kasetsart University
 

En vedette (20)

074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
มงคลชีวิต
มงคลชีวิตมงคลชีวิต
มงคลชีวิต
 
ใบความรู้ เบญจศีล เบญจธรรม ป.3+449+dltvp3+54soc p03f 35-4page
ใบความรู้ เบญจศีล เบญจธรรม ป.3+449+dltvp3+54soc p03f 35-4pageใบความรู้ เบญจศีล เบญจธรรม ป.3+449+dltvp3+54soc p03f 35-4page
ใบความรู้ เบญจศีล เบญจธรรม ป.3+449+dltvp3+54soc p03f 35-4page
 
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรม
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรมพระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรม
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรม
 
Good word
Good wordGood word
Good word
 
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
 
Cjpowerpoint2
Cjpowerpoint2Cjpowerpoint2
Cjpowerpoint2
 
073หลักธรรมพื้นฐาน
073หลักธรรมพื้นฐาน073หลักธรรมพื้นฐาน
073หลักธรรมพื้นฐาน
 
Organization theory
Organization theoryOrganization theory
Organization theory
 
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Edu9
Edu9Edu9
Edu9
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
 
สไลด์ พุทธศาสนาสุภาษิต ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f27-1page
สไลด์ พุทธศาสนาสุภาษิต ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f27-1pageสไลด์ พุทธศาสนาสุภาษิต ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f27-1page
สไลด์ พุทธศาสนาสุภาษิต ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f27-1page
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
Test
TestTest
Test
 
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธเศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
 
ยกเคลื่องความคิด พลิกชีวิตการงาน
ยกเคลื่องความคิด พลิกชีวิตการงานยกเคลื่องความคิด พลิกชีวิตการงาน
ยกเคลื่องความคิด พลิกชีวิตการงาน
 

Similaire à หลักธรรมพุทธศาสนา

ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
Taweedham Dhamtawee
 
แนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมแนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคม
Jinwara Sriwichai
 
The buddhist s_discipline
The buddhist s_disciplineThe buddhist s_discipline
The buddhist s_discipline
Chawalit Jit
 
บทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาบทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทา
Onpa Akaradech
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ampy48
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
thnaporn999
 

Similaire à หลักธรรมพุทธศาสนา (20)

รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีรวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
 
นวโกวาท
นวโกวาทนวโกวาท
นวโกวาท
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
04 develop2
04 develop204 develop2
04 develop2
 
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุขทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
 
แนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมแนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคม
 
Onet social
Onet socialOnet social
Onet social
 
Onet social
Onet socialOnet social
Onet social
 
The buddhist s_discipline
The buddhist s_disciplineThe buddhist s_discipline
The buddhist s_discipline
 
คุณธรรม
คุณธรรมคุณธรรม
คุณธรรม
 
บทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาบทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทา
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
ข้อสอบโควตา ม
ข้อสอบโควตา มข้อสอบโควตา ม
ข้อสอบโควตา ม
 
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 

หลักธรรมพุทธศาสนา