SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12
Télécharger pour lire hors ligne
สวนประกอบของหุนยนต

         ในหุนยนตหนึ่งตัวจะประกอบดวยอุปกรณและชิ้นสวนตางๆมากมาย ซึ่งอุปกรณแตละชนิดนั้นจะมี
หนาที่แตกตางกันไป ตามลักษณะและวัตถุประสงคของการใชงาน การเลือกใชจึงจําเปนตองอาศัยความรูความ
เขาใจรวมถึงความเหมาะสม เพื่อใหหุนยนตสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว คงทน และ
ประหยัดพลังงาน
หุนยนตจะแบงสวนประกอบใหญๆ เปน 4 สวน ไดแก

   1. อุปกรณทางกล แมคคานิค (mechanic)
   2. อุปกรณขับเรา แอคชูเอเตอร (actuator)
   3. อุปกรณไฟฟา อิเลคทรอนิกส (electronic)
   4. อุปกรณควบคุม คอนโทรลเลอร (controller)


1. อุปกรณทางกล แมคคานิค (mechanic)
       คือ ชิ้นสวนกลไกตางๆของหุนยนต เชน โครงสราง เพลา เฟอง สกรูสงกําลัง สายพาน โซ สปริง ขอ
ตอสวมเพลา คลัตช เบรก ขอตอ กานตอโยง ตลับลูกปนและปลอกสวม


โครงสราง (frame)
           โครงสรางเปนสวนประกอบหลักสําคัญของหุนยนต ทําหนาที่ยึดจับอุปกรณตางๆ ในตัวหุนยนต
และยังปองกันอุปกรณตางๆไมใหไดรับอันตรายจากภายนอก โครงสรางของหุนยนตเปรียบไดกับโครงกระดูก
ของมนุษย ซึ่งจะมีลักษณะแตกตางกันไปตามหนาที่การทํางานและวัตถุประสงคของหุนยนตนั้นๆ เชนหุนยนต
ถูกสรางขึ้นเพื่อลอกเลียนแบบการทํางานหรือการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต โครงสรางนั้นจะถูกออกแบบมาใหมี
ลักษณะคลายกับสิ่งมีชีวิตชนิดนั้นๆ วัสดุที่นิยมนํามาสรางเปนโครงสรางของหุนยนต ไดแก อะลูมิเนียม เหล็ก
พลาสติก ฯลฯ ซึ่งการจะเลือกใชวัสดุนั้นขึ้นอยูกับลักษณะการนําไปใชงาน เชน หากตองการสรางหุนที่มี
น้ําหนักเบา ควรพิจารณาเลือกใชอะลูมิเนียมเปนวัสดุหลักเปนตน นอกจากนี้การเลือกใชวัสดุควรคํานึงถึง
ปจจัยอื่นๆ เชน กระบวนการผลิตและราคาประกอบดวย


เพลา (shaft)
       เพลาเปนชิ้นสวนที่มีลักษณะเปนกานทรงกระบอกที่หมุนได ใชในการสงถายกําลังจากอุปกรณขับเรา
เชนมอเตอรไปยังสวนที่เคลื่อนไหวของหุนยนต เพลาเปนชิ้นสวนที่สําคัญมากในหุนยนตที่เคลื่อนไหวไดทุกชนิด
นอกจากเพลาแลว ยังมี แกน (axle) ซึ่งจะเปนชิ้นสวนลักษณะเดียวกันกับเพลาแตไมสามารถหมุนได สวน
ใหญทําหนาที่รองรับชิ้นสวนที่หมุน เชน ลอ เปนตน


เฟอง (gear)
        เฟองทําหนาที่สงกําลังจากเพลาหนึ่งไปยังอีกเพลาหนึ่ง โดยใชการขบกันของฟนเฟอง ในการสงถาย
กําลังของเฟองนั้นจะประกอบไปดวยเฟองสองตัวที่ขบกันอยู โดยมีเฟองตัวขับ (driving gear) หรือพิเนียน
(pinion) เปนตัวหมุนสงกําลังใหเฟองตาม (driven gear)


สกรูสงกําลัง (power screw)
       สกรูสงกําลังมีหนาที่สงกําลังโดยเปลี่ยนจากการหมุนเปนการเลื่อน มีอัตราการทดของเฟองที่สูงมาก
จึงสามารถใชในการสงถายกําลังไดดี นิยมใชในงานที่ตองแบกรับน้ําหนักมากๆ


สายพาน (belt)
       สายพานมีหนาที่สงกําลังจากเพลาหนึ่งไปยังอีกเพลาหนึ่งเชนเดียวกับเฟอง แตสายพานมีคุณสมบัติ
เฉพาะตัว คือออนตัวได (fexible) รับแรงกระตุกและแรงสั่นไดดีกวาเฟอง เสียงเบากวา แตก็มีขอเสียคืออัตรา
ทดไมแนนอนเนื่องจากการไถลตัวของสายพาน (slip) และไมสามารถรับอัตราทดที่สูงได การสงกําลังดวย
สายพานทําไดโดยติดตั้งวงลอสายพาน (pulley) ตั้งแตสองอันขึ้นไป ซึ่งแรงในแนวสัมผัสจะถูกสงถายจากวง
ลอสายพานขับไปยังวงลอสายพานตาม โดยอาศัยความเสียดทานระหวางสายพานและวงลอ
สายพาน นอกจากนี้แลวยังมีสายพานฟน (timing belt) ซึ่งมีลักษณะเหมือนกับสายพานแบน แตที่สายพาน
จะมีฟนเพื่อใชขบกับวงลอสายพานแบบเฟองทําใหไมมีการลื่นไถล


โซ (chain)
         โซมีหนาที่สงกําลังจากเพลาหนึ่งไปยังอีกเพลาหนึ่ง เชนเดียวกับเฟองและสายพาน ในการสงกําลังโซ
จะคลองอยูรอบเฟองโซ (sprocket) ตั้งแตสองอันขึ้นไป เฟองโซเปนลอที่มีฟนรูปรางพิเศษเพื่อรับกับรองของ
โซ ในการขับดวยโซนั้นขอโซจะขบกับฟนของเฟองโซจึงไมมีการลื่นไถล ทําใหการสงกําลังมีอัตราทดคงที่
เชนเดียวกับการขับดวยเฟอง แตการติดตั้งไมตองเที่ยงตรงเทากับเฟอง จึงเปนที่นิยมมาก แตก็มีขอเสียคือ มี
เสียงดัง การติดตั้งโซโดยปกตินิยมติดตั้งใหแนวจุดศูนยกลางของเฟองโซทั้งคูอยูในแนวระดับ หรือทํามุมกับ
แนวระดับไมเกิน 60 องศา และจะตองใหดานลางเปนดานหยอน ไมนิยมการติดตั้งใหแนวศูนยกลางของเฟอง
โซทั้งคูอยูในแนวดิ่ง หรือดานบนเปนดานหยอน เนื่องจากโซมักจะหลุดจากจานโซไดงายเมื่อโซเกิดการยืดเพียง
เล็กนอย
ขอตอ                                                                                        (joint)
เปนอุปกรณที่ใชเชื่อมตอชิ้นสวนที่เคลื่อนที่สัมพัทธกันของหุนยนต ซึ่งโดยทั่วไปมี ๒ ชนิด คือ ขอตอ
หมุน (rotational joint) เปนขอตอที่ตอกับชิ้นสวนที่เคลื่อนที่ในลักษณะที่มีการหมุนรอบขอตอ และขอตอเชิง
เสน (linear joint) เปนขอตอที่ตอกับชิ้นสวนที่มีการเคลื่อนที่ในลักษณะเปนเชิงเสน เชน เคลื่อนแบบไป-กลับ
ในแนวเสนตรงหรือโคง




สปริง (spring)
         สปริงเปนชิ้นสวนที่มีความยืดหยุน ทําหนาที่ไดหลายประเภท เชน สงแรงจากชิ้นสวนหนึ่งไปยังอีก
ชิ้นสวนหนึ่ง รองรับแรงกระแทก เปนแหลงพลังงานใหกับกลไก และทําหนาที่ใหชิ้นสวนกลับคืนสูตําแหนงเดิม
สปริงที่นิยมใชในหุนยนตมีดังนี้ สปริงขด (helical spring) สปริงขดแบบดึง (tension spring) สปริงขดแบบ
บิด (helical torsion spring) สปริงแผน (leaf spring) สปริงแหวน (conical disc spring) และสปริงลาน
(spiral sping)


ขอตอสวมเพลา (coupling)
       ขอตอสวมเพลาเปนอุปกรณที่ทําหนาที่สงถายแรงบิดระหวางเพลาสองเพลา โดยเพลาที่ตอกับตนกําลัง
จะเปนเพลาขับและอีกดานหนึ่งจะเปนเพลาตาม ขอตอสวมเพลาที่นิยมใชกับหุนยนตสามารถแบงไดดังนี้ ขอ
ตอสวมเพลาแบบแข็งเกร็ง (rigid coupling) ใชในการตอเพลาที่ศูนยของเพลาทั้งสองตรงกัน ขอตอสวมเพลา
แบบยืดหยุนได (flexible coupling) มีความยืดหยุนเล็กนอย จึงชวยประกอบเพลาสองเพลาที่มีการเยื้องศูนย
ได และยังชวยลดการเกิดแรงกระชากหรือแรงสั่นไดอีกดวย ขอตอสวมเพลานิรภัย (safety coupling) ใช
ปองกันการเกิดการเกินภาระ (over load)


คลัตช (clutch)
คลัตชเปนอุปกรณที่ทําหนาที่สงถายแรงบิดระหวางเพลาสองเพลา เชนเดียวกับขอตอสวมเพลา แต
สามารถที่จะตัดตอกําลังในการสงถายไดในขณะที่เพลากําลังหมุนอยู คลัตชแบงเปน๒ประเภทใหญๆดังนี้ คือ
คลัตชที่ใชแรงเสียดทานระหวางผิวสัมผัส (friction clutch) คลัตชประเภทนี้จะเกิดการไถลได ทําใหลดแรง
กระแทกที่เกิดขึ้นที่ขอตอเพลาลง แตขอเสียคือมีความรอนสูง ไดแก คลัตชแผน(disc clutch) คลัตชลิ่ม
(cone clutch) คลัตชกามปู (shoes clutch) และคลัตชแมเหล็กไฟฟา (electro-magnetic clutch) สวนอีก
ประเภทหนึ่งคือคลัตชที่ไมใชความเสียดทานระหวางผิวสัมผัส (positive contact clutch) ไดแก คลัตชที่ใช
วิธีการลอคทางกลโดยตรง (direct mechanical lock-up) ขอดีคือไมมีการไถล ทําใหไมมีความรอน สวน
ขอเสียคือ ไมสามารถตัดตอเพลาที่หมุนดวยความเร็วรอบสูงได และจะเกิดแรงกระแทกขึ้นทุกครั้ง


เบรก (break)
          เบรกเปนอุปกรณควบคุมการเคลื่อนที่ของชิ้นสวน โดยการทําใหการเคลื่อนที่ชาลง หรือหยุดการ
เคลื่อนที่ของชิ้นสวนนั้นๆ โดยใชความเสียดทาน (friction) ระหวางผิวสัมผัส เบรกแบงออกเปนประเภทใหญๆ
ไดดังนี้ เบรกแผนคาด (band break) เบรกกามปู (shoe break) และเบรกแบบจาน (disc break)


ตลับลูกปนและปลอกสวม (bearing and bush)
       ตลับลูกปนและปลอกสวม ตางก็เปนอุปกรณที่ใชรองรับจุดหมุน หรือจุดตางๆที่เคลื่อนที่ของหุนยนต
ทําหนาที่ลดแรงเสียดทานที่เกิดจากการเคลื่อนไหวของอุปกรณ

กานตอโยง (link)
        กานตอโยงในที่นี้หมายถึงชื่อเรียกชิ้นสวนของวัตถุที่นํามาเชื่อมตอเพื่อสรางการเคลื่อนไหวของหุนยนต
ซึ่งหากนํากานตอโยงหลายๆอันมาตอรวมกันจะเรียกวา กลไกกานตอโยง




2. อุปกรณขับเรา แอคชูเอเตอร (actuator)
คือ อุปกรณที่สามารถเปลี่ยนแปลงพลังงานไฟฟาที่ปอนเขาใหกลายเปนการกระจัด การเคลื่อนที่ หรือ
แรง เชน มอเตอรไฟฟา ระบบนิวแมติกส และระบบไฮโดรลิกส

มอเตอรไฟฟา (electric motor)
       มอเตอรไฟฟา เปนอุปกรณเปลี่ยนพลังงานไฟฟาเปนพลังงานกล ทําหนาที่เปนตัวขับใหกลไกตางๆของ
หุนยนตเคลื่อนไหว เปรียบเสมือนกลามเนื้อของมนุษย ที่ทําหนาที่ขับเคลื่อนอวัยวะตางๆใหเคลื่อนไหว เชน
เมื่อตอมอเตอรเขาขอตอ หุนยนตก็จะสามารถหมุนขอตอนั้นได หรือตอมอเตอรเขากับชุดลอ หุนยนตก็จะ
สามารถขับเคลื่อนที่ไดเปนตน มอเตอรไฟฟาแบบหมุนตอเนื่อง จะประกอบไปดวย ๒ สวน คือ สวนที่อยูกับที่
สเตเตอร (stator) และสวนที่เคลื่อนที่ โรเตอร (rotor) มีหลักการทํางานดังนี้ กระแสไฟฟาที่ถูกจายเขาไปเปน
พลังงานใหกับมอเตอร ทําใหเกิดสนามแมเหล็กไฟฟาในขดลวดสเตเตอรและขดลวดโรเตอร การผลักกันของ
สนามแมเหล็กไฟฟาทั้งสอง ทําใหเพลาที่ตออยูกับโรเตอรหมุนอยางตอเนื่องไปเรื่อยๆ ซึ่งจะหยุดหมุนก็ตอเมื่อ
มีการปดจายพลังงานไฟฟา หรือแรงหมุนของมอเตอรไมสามารถเอาชนะภาระที่มากระทําตอมอเตอรได
(stalled)

มอเตอรแบบลําดับขั้น หรือสเตปเปอรมอเตอร (stepper motor)
         โดยทั่วไปแลวมอเตอรไฟฟาจะมีการหมุนที่ตอเนื่อง อาจไมสะดวกมากนักหากตองการสั่งการทํางานให
เคลื่อนที่เปนองศาตามที่กําหนด มอเตอรแบบลําดับขั้นจึงเปนอีกทางเลือกหนึ่งที่สามารถนําไปใชงานควบคุม
ทิศทางการหมุนตามตําแหนงที่ตองการได หากตําแหนงนั้นตรงกับลําดับขั้นของมอเตอรพอดี ลักษณะการ
ทํางานของมอเตอรแบบลําดับขั้น จะตองปอนสัญญาณพัลส (pulse) ใหกับขดลวดสเตเตอรทําใหเกิดแรงผลัก
ที่โรเตอร จึงเกิดการหมุนของมอเตอรแบบลําดับขั้น เมื่อหมุนครบ 1 รอบ เทากับ 360 องศา ถามอเตอรแบบ
ลําดับขั้นมีการหมุนเทากับ 5 องศาตอขั้น ดังนั้น ความละเอียดของการหมุนของมอเตอรแบบลําดับขั้นตัวนี้
เทากับ ๗๒ ขั้นตอรอบ โดยทั่วไปแลวมอเตอรแบบลําดับขั้นถูกใชงานอยางแพรหลายในปจจุบัน เพราะ
สามารถควบคุมการหมุนตําแหนงใดก็ได เชน หัวอาน ซีดีรอม (CD ROM) ฮารดดิสก (hard disk) ตลอดจน
อุตสาหกรรมผลิตตางๆ เชน หุนยนตอุตสาหกรรม ระบบสายพาน เปนตน


เซอรโวมอเตอร (Servo motor)
        เซอรโวมอเตอรเปนมอเตอรชนิดพิเศษที่สามารถควบคุมใหทํางานเฉพาะตําแหนงใดตําแหนงหนึ่งได
โดยที่เซอรโวมอเตอรจะประกอบดวย มอเตอรไฟฟา เซ็นเซอรจับตําแหนงของเพลา และวงจรอิเล็กทรอนิกสที่
ควบคุมมอเตอร เซอรโว (servo) มาจากระบบมีความสามารถที่จะควบคุมพฤติกรรมของตัวมันเองได ซึ่ง
สามารถวัดตําแหนงของตัวเองและชดเชยกําลังงานที่เสียไปดวยสัญญาณควบคุมที่ปอนกลับมา มอเตอรชนิดนี้
นิยมใชในงานที่ตองการความแมนยําของตําแหนงสูง
ระบบนิวแมติกส (pneumatic)
        ระบบนิวแมติกส คือระบบกําลังของไหล โดยใชแรงดันของอากาศ เปนตัวขับเคลื่อนอุปกรณตางๆ ให
เปนพลังงานกล เชน กระบอกสูบระบบนิวแมติกส และ มอเตอรระบบนิวแมติกส เนื่องจากของไหลที่ใชในการ
อัดคืออากาศมีการอัดยุบตัวได ระบบนิวแมติกสจึงไมสามารถแบกรับน้ําหนักมากได
ระบบไฮโดรลิกส (hydraulic)
        ระบบไฮโดรลิกส คือระบบกําลังของไหล โดยใชแรงดันของเหลว เปนตัวขับเคลื่อนอุปกรณตางๆ ให
เปนพลังงานกล โดยหลักการทํางานจะคลายกับระบบนิวแมติกส แตแตกตางตรงของไหลที่ใชในการอัด
เนื่องจากของไหลที่ใชในการอัดคือของเหลวซึ่งไมมีการยุบตัว ระบบไฮโดรลิกสจึงนิยมใชในงานที่ตองใชกําลัง
สูง




3. อุปกรณไฟฟา อิเลคทรอนิกส (electronic)
           คือ อุปกรณที่ใชสัญญาณทางระบบไฟฟา เชน อุปกรณตรวจรู วงจรขับตางๆ และอุปกรณ
แสดงผล


อุปกรณตรวจรู เซ็นเซอร (Sensor)
        อุปกรณตรวจรูใชสําหรับตรวจวัดปริมาณของตัวแปรตางๆ ใชในการรับคา (input) ปริมาณทางฟสิกส
(physic) เชน แสง สี อุณหภูมิ เสียง แรง ความดัน ความหนาแนน ระยะทาง ความเร็ว อัตราเรง ระดับความ
สูง และอัตราการไหลเปนตน แลวแปลงปริมาณทางฟสิกสที่ไดเปนสัญญาณทางไฟฟา หรือปริมาณการวัดใน
รูปแบบที่สามารถนําไปประมวลผลตอได
อุปกรณตรวจรู เปนสวนที่สําคัญในการทํางานของหุนยนต เปรียบเสมือนกับประสาทสัมผัสในการทํางานของ
มนุษย เชน อุปกรณตรวจรูแสงที่ทําหนาเหมือนตา โดยเปลี่ยน แสง สี ที่รับเขามาเปนสัญญาณไฟฟา และสง
ตอใหระบบประมวลผล อุปกรณตรวจรูมีมากมายหลายชนิด ตามสิ่งที่จะทําการตรวจวัด เชน อุปกรณตรวจรู
วัดตําแหนง (position sensor) อุปกรณตรวจรูวัดความเร็ว (velocity sensor) อุปกรณตรวจรูวัดความเรง
(acceleration sensor) อุปกรณตรวจรูวัดแรง (force sensor) อุปกรณตรวจรูวัดแรงบิด (torque sensor)
อุปกรณตรวจรูอินฟราเรด (infrared sensor) ใชบอกตําแหนงโดยการสะทอนของคลื่นแสงที่ความถี่ต่ํากวา
แสงสีแดง อุปกรณตรวจรูอัลตราโซนิค (ultrasonic sensor) ใชบอกตําแหนงโดยการสะทอนของคลื่นเสียงที่มี
ความถี่สูง เลเซอรเรนจฟายเดอร (laser rangefinder sensor) ใชในการกะระยะนําทางโดยใชแสงเลเซอร
และอุปกรณตรวจรู จีพีเอส (GPS : Global Position System) ใชในการระบุตําแหนงโดยใชการอางอิงจาก
ดาวเทียมเปนตน


เอนโคดเดอร                                                                        (Encoder)
         เอนโคดเดอร เปนอุปกรณตรวจรูรูปแบบหนึ่ง ซึ่งมีความสําคัญมากใชในการวัดมุมเพลาของมอเตอร
เอนโคดเดอรประกอบดวย จานหมุน และอุปกรณตรวจจับ โดยจานหมุนจะมีชองเล็กๆ เมื่อเพลาของมอเตอร
หมุนจะทําใหจานหมุนไปตัดลําแสงของอุปกรณตรวจจับ ทําใหชุดรับแสงมีการรับสัญญาณเปนชวงๆ จึงทําให
สัญญาณที่ไดมีลักษณะเปนพัลส ซึ่งสัญญาณพัลสที่ไดจะแปรผันตรงกับการหมุนของเพลามอเตอร ซึ่งมีอยู 2
ชนิด คือ 1) เอนโคดเดอร อินคริเมนต (incremental encoder) โดยทั่วไปเรียกวาเอนโคดเดอรแบบโรตารี
(rotary encoder) เปนเอนโคดเดอรแสดงความเร็ว สัญญาณที่ไดจะเปนสัญญาณแบบดิจิตอล (digital) งาย
ตอการแปรผล 2) เอนโคดเดอรแบบสัมบูรณ (absolute encoder) หรือโดยทั่วไปเรียกวาโพเทนชิโอมิเตอร
(potentiometer) โดยทั่วไปแลวการทํางานคลายกับเอนโคดเดอรแบบโรตารี แตสัญญาณที่ไดจะเปน
เลขฐานสอง (binary) การใชงานจะยากกวาเอนโคดเดอรแบบโรตารี่ แตเอนโคดเดอรชนิดนี้จะใหความ
เที่ยงตรงและสามารถบอกไดทุกตําแหนงของการเคลื่อนที่
อุปกรณแสดงผล (output device )
          อุปกรณแสดงผล คืออุปกรณที่ใชแสดงคา (output) สถานะตางๆ ของหุนยนตใหมนุษยทราบ ซึ่ง
อุปกรณที่ใชแสดงผลของหุนยนตมีอยูดวยกันหลายรูปแบบ เชน จอภาพ (monitor) ใชในการบอกสถานะดวย
ภาพ ลําโพง (speaker)ใชในการบอกสถานะดวยเสียง หรือแมแตกระทั่งหลอดไฟ (lamp) ก็ใชในการบอก
สถานะของหุนยนตไดเชนกัน




ชุดขับมอเตอร (motor driver)
          ชุดขับมอเตอรเปนสวนสําคัญที่จะทําใหมอเตอรเกิดการหมุน สวนใหญการทํางานของชุดขับจะ
เหมือนกับการทํางานของสวิทชที่เปดปดตามสัญญาณที่ชุดควบคุมสงออกมา ใชในการควบคุมตําแหนง และ
ความเร็วของมอเตอร ตัวอยางเชน การขับมอเตอรไฟฟากระแสตรง ความเร็วในการหมุนนั้นขึ้นกับขนาดของ
แรงดันและกระแสที่จายใหมอเตอร แตแรงดันและกระแสที่ปอนใหนั้นตองไมเกินคาที่มอเตอรสามารถรับได
ดวย ไมเชนนั้นจะทําใหเกิดความรอนขึ้นที่ตัวมอเตอรและเกิดความเสียหายขึ้น สวนทิศทางการหมุนของ
มอเตอรนั้นขึ้นกับขั้วของแหลงจายที่เราปอน


4. อุปกรณควบคุม คอนโทรลเลอร (controller)
     คือสมองกลที่ควบคุมการทํางานของหุนยนต เชน สมองกลที่ประดิษฐจากอุปกรณอิเลคทรอนิกส เครื่อง
ควบคุมขนาดเล็ก คอมพิวเตอรชนิดแผงวงจรสําเร็จรูป เครื่องควบคุมเชิงตรรกะที่สามารถโปรแกรมได และ
คอมพิวเตอรสวนบุคคล
สมองกลที่ประดิษฐจากอุปกรณอิเลคทรอนิกส
          ความแตกตางของหุนยนตกับเครื่องจักรกลทั่วไป ก็คือหุนยนตมีระดับขั้นการทํางานดวยตัวเองสูง
กวาเครื่องจักรกล สมองกลของหุนยนตเปรียบไดกับสมองของมนุษย ยกตัวอยางเชน ถาหากหุนยนตไมมีสมอง
กลไวสั่งการ ก็อาจจะเดินไปชนกับฝาผนังได ในการควบคุมหุนยนตที่ไมมีเงื่อนไขการทํางานมากนัก สามารถใช
อุปกรณอิเลคทรอนิกสพื้นฐาน เชน ตัวตานทาน (resistor) ตัวเก็บประจุ (capacitor) ตัวเหนี่ยวนํา
(inductor) ทรานซิสเตอร (transistor) และตัวตรวจรูมาประกอบกันเปนวงจรควบคุมการทํางานของหุนยนต
ได




เครื่องควบคุมขนาดเล็ก ไมโครคอนโทรลเลอร (microcontroller)
           ในหุนยนตที่มีเงื่อนไขการทํางานมากขึ้น เราจําเปนตองเพิ่มความสามารถใหกับสมองกลของ
หุนยนต เครื่องควบคุมขนาดเล็กจึงถูกคิดขึ้นมาเพื่อแทนที่วงจรอิเลคทรอนิกสพื้นฐานดังที่กลาวมาขางตน
เครื่องควบคุมขนาดเล็กสามารถเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการทํางานไดโดยงาย ดวยการเปลี่ยนโปรแกรมลําดับการ
ควบคุมบนเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล เนื่องจากเครื่องควบคุมขนาดเล็กมีราคาไมแพง ตองการแหลงจายไฟ
ต่ํา จึงเปนที่นิยมใชกันมากสําหรับการสรางสมองกลใหกับหุนยนต
คอมพิวเตอรชนิดแผงวงจรสําเร็จรูป (SBC : Single Board Computer)
          คอมพิวเตอรชนิดแผงวงจรสําเร็จรูป เปนเครื่องควบคุมที่มีการทํางานเหมือนกับคอมพิวเตอรสวน
บุคคล เพียงแตทุกอยางจะถูกยอลงมาอยูในแผงวงจรเล็กๆ เพียงแผงเดียว นิยมใชในหุนยนตที่มีเงื่อนไขในการ
ทํางานมาก หรือการควบคุมที่ซับซอน




เครื่องควบคุมเชิงตรรกะที่สามารถโปรแกรมได พีแอลซี (PLC : Programmable Logic Controller)
          เครื่องควบคุมเชิงตรรกะที่สามารถโปรแกรมได ถูกสรางและพัฒนาขึ้นมาเพื่อทดแทนวงจรรีเลย
(relay) ของการควบคุมระบบอัตโนมัติ (autonomous) นิยมใชมากในโรงงานอุตสาหกรรม เนื่องจากถูกสราง
ขึ้นใหทนตอสภาพแวดลอมในโรงงานอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ การใชงานสะดวก ปรับเปลี่ยนการทํางานไดงาย
สามารถใชงานไดอยางอเนกประสงค และยังงายตอการบํารุงรักษาอีกดวย
คอมพิวเตอรสวนบุคคล (PC : Personal Computer)
           คอมพิวเตอรสวนบุคคล เปนเครื่องควบคุมระดับสูงซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนการทํางานของหุนยนตได
อยางหลากหลาย มีประสิทธิภาพมากที่สุดในเครื่องควบคุมทั้งหมดที่กลาวมา แตไมนิยมใชในหุนยนตทั่วไปมาก
นัก เนื่องจากขนาดที่ใหญ น้ําหนักมาก และตองการพลังงานสูง




แหลงที่มา

สมาคมวิชาการหุนยนตแหงประเทศไทย

บทความเกี่ยวกับหุนยนต : http://www.trs.or.th/index.php/article

Contenu connexe

Tendances

ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
พัน พัน
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
พัน พัน
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
website22556
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
Aui Ounjai
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
panupong
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
Theerawat Duangsin
 
7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม
Wichai Likitponrak
 

Tendances (20)

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 
3 1
3 13 1
3 1
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 
สมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่นสมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่น
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
 

Similaire à ส่วนประกอบของหุ่นยนต์

พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
Thitikan
 
งานนำเสนอ กลุ่มที่6
งานนำเสนอ กลุ่มที่6งานนำเสนอ กลุ่มที่6
งานนำเสนอ กลุ่มที่6
Thitikan
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
Sarun Boonwong
 
09.แสงอาทิตย์
09.แสงอาทิตย์09.แสงอาทิตย์
09.แสงอาทิตย์
Kobwit Piriyawat
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
Pongsakorn Poosankam
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
pipopsin163
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
panupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
panupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
panupong
 
ตัวชี้วัด ม.1
ตัวชี้วัด ม.1ตัวชี้วัด ม.1
ตัวชี้วัด ม.1
Tip Sukanya
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
Powergift_vip
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
Up To You's Toey
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
Up To You's Toey
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
Up To You's Toey
 

Similaire à ส่วนประกอบของหุ่นยนต์ (20)

ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
54101 unit10
54101 unit1054101 unit10
54101 unit10
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ กลุ่มที่6
งานนำเสนอ กลุ่มที่6งานนำเสนอ กลุ่มที่6
งานนำเสนอ กลุ่มที่6
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
09.แสงอาทิตย์
09.แสงอาทิตย์09.แสงอาทิตย์
09.แสงอาทิตย์
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
ตัวชี้วัด ม.1
ตัวชี้วัด ม.1ตัวชี้วัด ม.1
ตัวชี้วัด ม.1
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 

Plus de สุรินทร์ ดีแก้วเกษ

ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้นหลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 

Plus de สุรินทร์ ดีแก้วเกษ (20)

คู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานคู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคนเซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาทศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 
ง 30245 การสร้างงานมัลติมีเดีย
ง 30245 การสร้างงานมัลติมีเดีย ง 30245 การสร้างงานมัลติมีเดีย
ง 30245 การสร้างงานมัลติมีเดีย
 
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้นหลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
 
ระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยีระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยี
 
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์
 
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
 
Googlesites v.2
Googlesites v.2Googlesites v.2
Googlesites v.2
 

ส่วนประกอบของหุ่นยนต์

  • 1. สวนประกอบของหุนยนต ในหุนยนตหนึ่งตัวจะประกอบดวยอุปกรณและชิ้นสวนตางๆมากมาย ซึ่งอุปกรณแตละชนิดนั้นจะมี หนาที่แตกตางกันไป ตามลักษณะและวัตถุประสงคของการใชงาน การเลือกใชจึงจําเปนตองอาศัยความรูความ เขาใจรวมถึงความเหมาะสม เพื่อใหหุนยนตสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว คงทน และ ประหยัดพลังงาน หุนยนตจะแบงสวนประกอบใหญๆ เปน 4 สวน ไดแก 1. อุปกรณทางกล แมคคานิค (mechanic) 2. อุปกรณขับเรา แอคชูเอเตอร (actuator) 3. อุปกรณไฟฟา อิเลคทรอนิกส (electronic) 4. อุปกรณควบคุม คอนโทรลเลอร (controller) 1. อุปกรณทางกล แมคคานิค (mechanic) คือ ชิ้นสวนกลไกตางๆของหุนยนต เชน โครงสราง เพลา เฟอง สกรูสงกําลัง สายพาน โซ สปริง ขอ ตอสวมเพลา คลัตช เบรก ขอตอ กานตอโยง ตลับลูกปนและปลอกสวม โครงสราง (frame) โครงสรางเปนสวนประกอบหลักสําคัญของหุนยนต ทําหนาที่ยึดจับอุปกรณตางๆ ในตัวหุนยนต และยังปองกันอุปกรณตางๆไมใหไดรับอันตรายจากภายนอก โครงสรางของหุนยนตเปรียบไดกับโครงกระดูก ของมนุษย ซึ่งจะมีลักษณะแตกตางกันไปตามหนาที่การทํางานและวัตถุประสงคของหุนยนตนั้นๆ เชนหุนยนต ถูกสรางขึ้นเพื่อลอกเลียนแบบการทํางานหรือการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต โครงสรางนั้นจะถูกออกแบบมาใหมี ลักษณะคลายกับสิ่งมีชีวิตชนิดนั้นๆ วัสดุที่นิยมนํามาสรางเปนโครงสรางของหุนยนต ไดแก อะลูมิเนียม เหล็ก พลาสติก ฯลฯ ซึ่งการจะเลือกใชวัสดุนั้นขึ้นอยูกับลักษณะการนําไปใชงาน เชน หากตองการสรางหุนที่มี น้ําหนักเบา ควรพิจารณาเลือกใชอะลูมิเนียมเปนวัสดุหลักเปนตน นอกจากนี้การเลือกใชวัสดุควรคํานึงถึง ปจจัยอื่นๆ เชน กระบวนการผลิตและราคาประกอบดวย เพลา (shaft) เพลาเปนชิ้นสวนที่มีลักษณะเปนกานทรงกระบอกที่หมุนได ใชในการสงถายกําลังจากอุปกรณขับเรา เชนมอเตอรไปยังสวนที่เคลื่อนไหวของหุนยนต เพลาเปนชิ้นสวนที่สําคัญมากในหุนยนตที่เคลื่อนไหวไดทุกชนิด
  • 2. นอกจากเพลาแลว ยังมี แกน (axle) ซึ่งจะเปนชิ้นสวนลักษณะเดียวกันกับเพลาแตไมสามารถหมุนได สวน ใหญทําหนาที่รองรับชิ้นสวนที่หมุน เชน ลอ เปนตน เฟอง (gear) เฟองทําหนาที่สงกําลังจากเพลาหนึ่งไปยังอีกเพลาหนึ่ง โดยใชการขบกันของฟนเฟอง ในการสงถาย กําลังของเฟองนั้นจะประกอบไปดวยเฟองสองตัวที่ขบกันอยู โดยมีเฟองตัวขับ (driving gear) หรือพิเนียน (pinion) เปนตัวหมุนสงกําลังใหเฟองตาม (driven gear) สกรูสงกําลัง (power screw) สกรูสงกําลังมีหนาที่สงกําลังโดยเปลี่ยนจากการหมุนเปนการเลื่อน มีอัตราการทดของเฟองที่สูงมาก จึงสามารถใชในการสงถายกําลังไดดี นิยมใชในงานที่ตองแบกรับน้ําหนักมากๆ สายพาน (belt) สายพานมีหนาที่สงกําลังจากเพลาหนึ่งไปยังอีกเพลาหนึ่งเชนเดียวกับเฟอง แตสายพานมีคุณสมบัติ เฉพาะตัว คือออนตัวได (fexible) รับแรงกระตุกและแรงสั่นไดดีกวาเฟอง เสียงเบากวา แตก็มีขอเสียคืออัตรา ทดไมแนนอนเนื่องจากการไถลตัวของสายพาน (slip) และไมสามารถรับอัตราทดที่สูงได การสงกําลังดวย สายพานทําไดโดยติดตั้งวงลอสายพาน (pulley) ตั้งแตสองอันขึ้นไป ซึ่งแรงในแนวสัมผัสจะถูกสงถายจากวง ลอสายพานขับไปยังวงลอสายพานตาม โดยอาศัยความเสียดทานระหวางสายพานและวงลอ สายพาน นอกจากนี้แลวยังมีสายพานฟน (timing belt) ซึ่งมีลักษณะเหมือนกับสายพานแบน แตที่สายพาน จะมีฟนเพื่อใชขบกับวงลอสายพานแบบเฟองทําใหไมมีการลื่นไถล โซ (chain) โซมีหนาที่สงกําลังจากเพลาหนึ่งไปยังอีกเพลาหนึ่ง เชนเดียวกับเฟองและสายพาน ในการสงกําลังโซ จะคลองอยูรอบเฟองโซ (sprocket) ตั้งแตสองอันขึ้นไป เฟองโซเปนลอที่มีฟนรูปรางพิเศษเพื่อรับกับรองของ โซ ในการขับดวยโซนั้นขอโซจะขบกับฟนของเฟองโซจึงไมมีการลื่นไถล ทําใหการสงกําลังมีอัตราทดคงที่ เชนเดียวกับการขับดวยเฟอง แตการติดตั้งไมตองเที่ยงตรงเทากับเฟอง จึงเปนที่นิยมมาก แตก็มีขอเสียคือ มี เสียงดัง การติดตั้งโซโดยปกตินิยมติดตั้งใหแนวจุดศูนยกลางของเฟองโซทั้งคูอยูในแนวระดับ หรือทํามุมกับ แนวระดับไมเกิน 60 องศา และจะตองใหดานลางเปนดานหยอน ไมนิยมการติดตั้งใหแนวศูนยกลางของเฟอง โซทั้งคูอยูในแนวดิ่ง หรือดานบนเปนดานหยอน เนื่องจากโซมักจะหลุดจากจานโซไดงายเมื่อโซเกิดการยืดเพียง เล็กนอย ขอตอ (joint)
  • 3. เปนอุปกรณที่ใชเชื่อมตอชิ้นสวนที่เคลื่อนที่สัมพัทธกันของหุนยนต ซึ่งโดยทั่วไปมี ๒ ชนิด คือ ขอตอ หมุน (rotational joint) เปนขอตอที่ตอกับชิ้นสวนที่เคลื่อนที่ในลักษณะที่มีการหมุนรอบขอตอ และขอตอเชิง เสน (linear joint) เปนขอตอที่ตอกับชิ้นสวนที่มีการเคลื่อนที่ในลักษณะเปนเชิงเสน เชน เคลื่อนแบบไป-กลับ ในแนวเสนตรงหรือโคง สปริง (spring) สปริงเปนชิ้นสวนที่มีความยืดหยุน ทําหนาที่ไดหลายประเภท เชน สงแรงจากชิ้นสวนหนึ่งไปยังอีก ชิ้นสวนหนึ่ง รองรับแรงกระแทก เปนแหลงพลังงานใหกับกลไก และทําหนาที่ใหชิ้นสวนกลับคืนสูตําแหนงเดิม สปริงที่นิยมใชในหุนยนตมีดังนี้ สปริงขด (helical spring) สปริงขดแบบดึง (tension spring) สปริงขดแบบ บิด (helical torsion spring) สปริงแผน (leaf spring) สปริงแหวน (conical disc spring) และสปริงลาน (spiral sping) ขอตอสวมเพลา (coupling) ขอตอสวมเพลาเปนอุปกรณที่ทําหนาที่สงถายแรงบิดระหวางเพลาสองเพลา โดยเพลาที่ตอกับตนกําลัง จะเปนเพลาขับและอีกดานหนึ่งจะเปนเพลาตาม ขอตอสวมเพลาที่นิยมใชกับหุนยนตสามารถแบงไดดังนี้ ขอ ตอสวมเพลาแบบแข็งเกร็ง (rigid coupling) ใชในการตอเพลาที่ศูนยของเพลาทั้งสองตรงกัน ขอตอสวมเพลา แบบยืดหยุนได (flexible coupling) มีความยืดหยุนเล็กนอย จึงชวยประกอบเพลาสองเพลาที่มีการเยื้องศูนย ได และยังชวยลดการเกิดแรงกระชากหรือแรงสั่นไดอีกดวย ขอตอสวมเพลานิรภัย (safety coupling) ใช ปองกันการเกิดการเกินภาระ (over load) คลัตช (clutch)
  • 4. คลัตชเปนอุปกรณที่ทําหนาที่สงถายแรงบิดระหวางเพลาสองเพลา เชนเดียวกับขอตอสวมเพลา แต สามารถที่จะตัดตอกําลังในการสงถายไดในขณะที่เพลากําลังหมุนอยู คลัตชแบงเปน๒ประเภทใหญๆดังนี้ คือ คลัตชที่ใชแรงเสียดทานระหวางผิวสัมผัส (friction clutch) คลัตชประเภทนี้จะเกิดการไถลได ทําใหลดแรง กระแทกที่เกิดขึ้นที่ขอตอเพลาลง แตขอเสียคือมีความรอนสูง ไดแก คลัตชแผน(disc clutch) คลัตชลิ่ม (cone clutch) คลัตชกามปู (shoes clutch) และคลัตชแมเหล็กไฟฟา (electro-magnetic clutch) สวนอีก ประเภทหนึ่งคือคลัตชที่ไมใชความเสียดทานระหวางผิวสัมผัส (positive contact clutch) ไดแก คลัตชที่ใช วิธีการลอคทางกลโดยตรง (direct mechanical lock-up) ขอดีคือไมมีการไถล ทําใหไมมีความรอน สวน ขอเสียคือ ไมสามารถตัดตอเพลาที่หมุนดวยความเร็วรอบสูงได และจะเกิดแรงกระแทกขึ้นทุกครั้ง เบรก (break) เบรกเปนอุปกรณควบคุมการเคลื่อนที่ของชิ้นสวน โดยการทําใหการเคลื่อนที่ชาลง หรือหยุดการ เคลื่อนที่ของชิ้นสวนนั้นๆ โดยใชความเสียดทาน (friction) ระหวางผิวสัมผัส เบรกแบงออกเปนประเภทใหญๆ ไดดังนี้ เบรกแผนคาด (band break) เบรกกามปู (shoe break) และเบรกแบบจาน (disc break) ตลับลูกปนและปลอกสวม (bearing and bush) ตลับลูกปนและปลอกสวม ตางก็เปนอุปกรณที่ใชรองรับจุดหมุน หรือจุดตางๆที่เคลื่อนที่ของหุนยนต ทําหนาที่ลดแรงเสียดทานที่เกิดจากการเคลื่อนไหวของอุปกรณ กานตอโยง (link) กานตอโยงในที่นี้หมายถึงชื่อเรียกชิ้นสวนของวัตถุที่นํามาเชื่อมตอเพื่อสรางการเคลื่อนไหวของหุนยนต ซึ่งหากนํากานตอโยงหลายๆอันมาตอรวมกันจะเรียกวา กลไกกานตอโยง 2. อุปกรณขับเรา แอคชูเอเตอร (actuator)
  • 5. คือ อุปกรณที่สามารถเปลี่ยนแปลงพลังงานไฟฟาที่ปอนเขาใหกลายเปนการกระจัด การเคลื่อนที่ หรือ แรง เชน มอเตอรไฟฟา ระบบนิวแมติกส และระบบไฮโดรลิกส มอเตอรไฟฟา (electric motor) มอเตอรไฟฟา เปนอุปกรณเปลี่ยนพลังงานไฟฟาเปนพลังงานกล ทําหนาที่เปนตัวขับใหกลไกตางๆของ หุนยนตเคลื่อนไหว เปรียบเสมือนกลามเนื้อของมนุษย ที่ทําหนาที่ขับเคลื่อนอวัยวะตางๆใหเคลื่อนไหว เชน เมื่อตอมอเตอรเขาขอตอ หุนยนตก็จะสามารถหมุนขอตอนั้นได หรือตอมอเตอรเขากับชุดลอ หุนยนตก็จะ สามารถขับเคลื่อนที่ไดเปนตน มอเตอรไฟฟาแบบหมุนตอเนื่อง จะประกอบไปดวย ๒ สวน คือ สวนที่อยูกับที่ สเตเตอร (stator) และสวนที่เคลื่อนที่ โรเตอร (rotor) มีหลักการทํางานดังนี้ กระแสไฟฟาที่ถูกจายเขาไปเปน พลังงานใหกับมอเตอร ทําใหเกิดสนามแมเหล็กไฟฟาในขดลวดสเตเตอรและขดลวดโรเตอร การผลักกันของ สนามแมเหล็กไฟฟาทั้งสอง ทําใหเพลาที่ตออยูกับโรเตอรหมุนอยางตอเนื่องไปเรื่อยๆ ซึ่งจะหยุดหมุนก็ตอเมื่อ มีการปดจายพลังงานไฟฟา หรือแรงหมุนของมอเตอรไมสามารถเอาชนะภาระที่มากระทําตอมอเตอรได (stalled) มอเตอรแบบลําดับขั้น หรือสเตปเปอรมอเตอร (stepper motor) โดยทั่วไปแลวมอเตอรไฟฟาจะมีการหมุนที่ตอเนื่อง อาจไมสะดวกมากนักหากตองการสั่งการทํางานให เคลื่อนที่เปนองศาตามที่กําหนด มอเตอรแบบลําดับขั้นจึงเปนอีกทางเลือกหนึ่งที่สามารถนําไปใชงานควบคุม ทิศทางการหมุนตามตําแหนงที่ตองการได หากตําแหนงนั้นตรงกับลําดับขั้นของมอเตอรพอดี ลักษณะการ ทํางานของมอเตอรแบบลําดับขั้น จะตองปอนสัญญาณพัลส (pulse) ใหกับขดลวดสเตเตอรทําใหเกิดแรงผลัก ที่โรเตอร จึงเกิดการหมุนของมอเตอรแบบลําดับขั้น เมื่อหมุนครบ 1 รอบ เทากับ 360 องศา ถามอเตอรแบบ ลําดับขั้นมีการหมุนเทากับ 5 องศาตอขั้น ดังนั้น ความละเอียดของการหมุนของมอเตอรแบบลําดับขั้นตัวนี้ เทากับ ๗๒ ขั้นตอรอบ โดยทั่วไปแลวมอเตอรแบบลําดับขั้นถูกใชงานอยางแพรหลายในปจจุบัน เพราะ สามารถควบคุมการหมุนตําแหนงใดก็ได เชน หัวอาน ซีดีรอม (CD ROM) ฮารดดิสก (hard disk) ตลอดจน อุตสาหกรรมผลิตตางๆ เชน หุนยนตอุตสาหกรรม ระบบสายพาน เปนตน เซอรโวมอเตอร (Servo motor) เซอรโวมอเตอรเปนมอเตอรชนิดพิเศษที่สามารถควบคุมใหทํางานเฉพาะตําแหนงใดตําแหนงหนึ่งได โดยที่เซอรโวมอเตอรจะประกอบดวย มอเตอรไฟฟา เซ็นเซอรจับตําแหนงของเพลา และวงจรอิเล็กทรอนิกสที่ ควบคุมมอเตอร เซอรโว (servo) มาจากระบบมีความสามารถที่จะควบคุมพฤติกรรมของตัวมันเองได ซึ่ง สามารถวัดตําแหนงของตัวเองและชดเชยกําลังงานที่เสียไปดวยสัญญาณควบคุมที่ปอนกลับมา มอเตอรชนิดนี้ นิยมใชในงานที่ตองการความแมนยําของตําแหนงสูง
  • 6. ระบบนิวแมติกส (pneumatic) ระบบนิวแมติกส คือระบบกําลังของไหล โดยใชแรงดันของอากาศ เปนตัวขับเคลื่อนอุปกรณตางๆ ให เปนพลังงานกล เชน กระบอกสูบระบบนิวแมติกส และ มอเตอรระบบนิวแมติกส เนื่องจากของไหลที่ใชในการ อัดคืออากาศมีการอัดยุบตัวได ระบบนิวแมติกสจึงไมสามารถแบกรับน้ําหนักมากได
  • 7. ระบบไฮโดรลิกส (hydraulic) ระบบไฮโดรลิกส คือระบบกําลังของไหล โดยใชแรงดันของเหลว เปนตัวขับเคลื่อนอุปกรณตางๆ ให เปนพลังงานกล โดยหลักการทํางานจะคลายกับระบบนิวแมติกส แตแตกตางตรงของไหลที่ใชในการอัด เนื่องจากของไหลที่ใชในการอัดคือของเหลวซึ่งไมมีการยุบตัว ระบบไฮโดรลิกสจึงนิยมใชในงานที่ตองใชกําลัง สูง 3. อุปกรณไฟฟา อิเลคทรอนิกส (electronic) คือ อุปกรณที่ใชสัญญาณทางระบบไฟฟา เชน อุปกรณตรวจรู วงจรขับตางๆ และอุปกรณ แสดงผล อุปกรณตรวจรู เซ็นเซอร (Sensor) อุปกรณตรวจรูใชสําหรับตรวจวัดปริมาณของตัวแปรตางๆ ใชในการรับคา (input) ปริมาณทางฟสิกส (physic) เชน แสง สี อุณหภูมิ เสียง แรง ความดัน ความหนาแนน ระยะทาง ความเร็ว อัตราเรง ระดับความ สูง และอัตราการไหลเปนตน แลวแปลงปริมาณทางฟสิกสที่ไดเปนสัญญาณทางไฟฟา หรือปริมาณการวัดใน รูปแบบที่สามารถนําไปประมวลผลตอได
  • 8. อุปกรณตรวจรู เปนสวนที่สําคัญในการทํางานของหุนยนต เปรียบเสมือนกับประสาทสัมผัสในการทํางานของ มนุษย เชน อุปกรณตรวจรูแสงที่ทําหนาเหมือนตา โดยเปลี่ยน แสง สี ที่รับเขามาเปนสัญญาณไฟฟา และสง ตอใหระบบประมวลผล อุปกรณตรวจรูมีมากมายหลายชนิด ตามสิ่งที่จะทําการตรวจวัด เชน อุปกรณตรวจรู วัดตําแหนง (position sensor) อุปกรณตรวจรูวัดความเร็ว (velocity sensor) อุปกรณตรวจรูวัดความเรง (acceleration sensor) อุปกรณตรวจรูวัดแรง (force sensor) อุปกรณตรวจรูวัดแรงบิด (torque sensor) อุปกรณตรวจรูอินฟราเรด (infrared sensor) ใชบอกตําแหนงโดยการสะทอนของคลื่นแสงที่ความถี่ต่ํากวา แสงสีแดง อุปกรณตรวจรูอัลตราโซนิค (ultrasonic sensor) ใชบอกตําแหนงโดยการสะทอนของคลื่นเสียงที่มี ความถี่สูง เลเซอรเรนจฟายเดอร (laser rangefinder sensor) ใชในการกะระยะนําทางโดยใชแสงเลเซอร และอุปกรณตรวจรู จีพีเอส (GPS : Global Position System) ใชในการระบุตําแหนงโดยใชการอางอิงจาก ดาวเทียมเปนตน เอนโคดเดอร (Encoder) เอนโคดเดอร เปนอุปกรณตรวจรูรูปแบบหนึ่ง ซึ่งมีความสําคัญมากใชในการวัดมุมเพลาของมอเตอร เอนโคดเดอรประกอบดวย จานหมุน และอุปกรณตรวจจับ โดยจานหมุนจะมีชองเล็กๆ เมื่อเพลาของมอเตอร หมุนจะทําใหจานหมุนไปตัดลําแสงของอุปกรณตรวจจับ ทําใหชุดรับแสงมีการรับสัญญาณเปนชวงๆ จึงทําให สัญญาณที่ไดมีลักษณะเปนพัลส ซึ่งสัญญาณพัลสที่ไดจะแปรผันตรงกับการหมุนของเพลามอเตอร ซึ่งมีอยู 2 ชนิด คือ 1) เอนโคดเดอร อินคริเมนต (incremental encoder) โดยทั่วไปเรียกวาเอนโคดเดอรแบบโรตารี (rotary encoder) เปนเอนโคดเดอรแสดงความเร็ว สัญญาณที่ไดจะเปนสัญญาณแบบดิจิตอล (digital) งาย ตอการแปรผล 2) เอนโคดเดอรแบบสัมบูรณ (absolute encoder) หรือโดยทั่วไปเรียกวาโพเทนชิโอมิเตอร (potentiometer) โดยทั่วไปแลวการทํางานคลายกับเอนโคดเดอรแบบโรตารี แตสัญญาณที่ไดจะเปน เลขฐานสอง (binary) การใชงานจะยากกวาเอนโคดเดอรแบบโรตารี่ แตเอนโคดเดอรชนิดนี้จะใหความ เที่ยงตรงและสามารถบอกไดทุกตําแหนงของการเคลื่อนที่
  • 9. อุปกรณแสดงผล (output device ) อุปกรณแสดงผล คืออุปกรณที่ใชแสดงคา (output) สถานะตางๆ ของหุนยนตใหมนุษยทราบ ซึ่ง อุปกรณที่ใชแสดงผลของหุนยนตมีอยูดวยกันหลายรูปแบบ เชน จอภาพ (monitor) ใชในการบอกสถานะดวย ภาพ ลําโพง (speaker)ใชในการบอกสถานะดวยเสียง หรือแมแตกระทั่งหลอดไฟ (lamp) ก็ใชในการบอก สถานะของหุนยนตไดเชนกัน ชุดขับมอเตอร (motor driver) ชุดขับมอเตอรเปนสวนสําคัญที่จะทําใหมอเตอรเกิดการหมุน สวนใหญการทํางานของชุดขับจะ เหมือนกับการทํางานของสวิทชที่เปดปดตามสัญญาณที่ชุดควบคุมสงออกมา ใชในการควบคุมตําแหนง และ ความเร็วของมอเตอร ตัวอยางเชน การขับมอเตอรไฟฟากระแสตรง ความเร็วในการหมุนนั้นขึ้นกับขนาดของ แรงดันและกระแสที่จายใหมอเตอร แตแรงดันและกระแสที่ปอนใหนั้นตองไมเกินคาที่มอเตอรสามารถรับได ดวย ไมเชนนั้นจะทําใหเกิดความรอนขึ้นที่ตัวมอเตอรและเกิดความเสียหายขึ้น สวนทิศทางการหมุนของ มอเตอรนั้นขึ้นกับขั้วของแหลงจายที่เราปอน 4. อุปกรณควบคุม คอนโทรลเลอร (controller) คือสมองกลที่ควบคุมการทํางานของหุนยนต เชน สมองกลที่ประดิษฐจากอุปกรณอิเลคทรอนิกส เครื่อง ควบคุมขนาดเล็ก คอมพิวเตอรชนิดแผงวงจรสําเร็จรูป เครื่องควบคุมเชิงตรรกะที่สามารถโปรแกรมได และ คอมพิวเตอรสวนบุคคล
  • 10. สมองกลที่ประดิษฐจากอุปกรณอิเลคทรอนิกส ความแตกตางของหุนยนตกับเครื่องจักรกลทั่วไป ก็คือหุนยนตมีระดับขั้นการทํางานดวยตัวเองสูง กวาเครื่องจักรกล สมองกลของหุนยนตเปรียบไดกับสมองของมนุษย ยกตัวอยางเชน ถาหากหุนยนตไมมีสมอง กลไวสั่งการ ก็อาจจะเดินไปชนกับฝาผนังได ในการควบคุมหุนยนตที่ไมมีเงื่อนไขการทํางานมากนัก สามารถใช อุปกรณอิเลคทรอนิกสพื้นฐาน เชน ตัวตานทาน (resistor) ตัวเก็บประจุ (capacitor) ตัวเหนี่ยวนํา (inductor) ทรานซิสเตอร (transistor) และตัวตรวจรูมาประกอบกันเปนวงจรควบคุมการทํางานของหุนยนต ได เครื่องควบคุมขนาดเล็ก ไมโครคอนโทรลเลอร (microcontroller) ในหุนยนตที่มีเงื่อนไขการทํางานมากขึ้น เราจําเปนตองเพิ่มความสามารถใหกับสมองกลของ หุนยนต เครื่องควบคุมขนาดเล็กจึงถูกคิดขึ้นมาเพื่อแทนที่วงจรอิเลคทรอนิกสพื้นฐานดังที่กลาวมาขางตน เครื่องควบคุมขนาดเล็กสามารถเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการทํางานไดโดยงาย ดวยการเปลี่ยนโปรแกรมลําดับการ ควบคุมบนเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล เนื่องจากเครื่องควบคุมขนาดเล็กมีราคาไมแพง ตองการแหลงจายไฟ ต่ํา จึงเปนที่นิยมใชกันมากสําหรับการสรางสมองกลใหกับหุนยนต
  • 11. คอมพิวเตอรชนิดแผงวงจรสําเร็จรูป (SBC : Single Board Computer) คอมพิวเตอรชนิดแผงวงจรสําเร็จรูป เปนเครื่องควบคุมที่มีการทํางานเหมือนกับคอมพิวเตอรสวน บุคคล เพียงแตทุกอยางจะถูกยอลงมาอยูในแผงวงจรเล็กๆ เพียงแผงเดียว นิยมใชในหุนยนตที่มีเงื่อนไขในการ ทํางานมาก หรือการควบคุมที่ซับซอน เครื่องควบคุมเชิงตรรกะที่สามารถโปรแกรมได พีแอลซี (PLC : Programmable Logic Controller) เครื่องควบคุมเชิงตรรกะที่สามารถโปรแกรมได ถูกสรางและพัฒนาขึ้นมาเพื่อทดแทนวงจรรีเลย (relay) ของการควบคุมระบบอัตโนมัติ (autonomous) นิยมใชมากในโรงงานอุตสาหกรรม เนื่องจากถูกสราง ขึ้นใหทนตอสภาพแวดลอมในโรงงานอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ การใชงานสะดวก ปรับเปลี่ยนการทํางานไดงาย สามารถใชงานไดอยางอเนกประสงค และยังงายตอการบํารุงรักษาอีกดวย
  • 12. คอมพิวเตอรสวนบุคคล (PC : Personal Computer) คอมพิวเตอรสวนบุคคล เปนเครื่องควบคุมระดับสูงซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนการทํางานของหุนยนตได อยางหลากหลาย มีประสิทธิภาพมากที่สุดในเครื่องควบคุมทั้งหมดที่กลาวมา แตไมนิยมใชในหุนยนตทั่วไปมาก นัก เนื่องจากขนาดที่ใหญ น้ําหนักมาก และตองการพลังงานสูง แหลงที่มา สมาคมวิชาการหุนยนตแหงประเทศไทย บทความเกี่ยวกับหุนยนต : http://www.trs.or.th/index.php/article