SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12
Télécharger pour lire hors ligne
มะเร็งเตานม
คําจํากัดความของมะเร็งเตานม
        มะเร็งเตานม คือ เซลลของเนื้อเยื่อเตานมที่มีการเปลี่ยนแปลงภายในจนทําใหมีการเจริญเติบโต
ไดอยางรวดเร็วมากขึ้นจนรางกายไมสามารถควบคุมไดและสามารถแพรกระจายไปยังเนื้อเยื่อใกลเคียง
ตลอดจนเนื้อเยื่อทั่วรางกาย และแพรกระจายไปยังอวัยวะสวนตาง ๆ ของรางกายโดยทางเดินน้ําเหลือง
และทางกระแสเลือด รวมถึงการแพรกระจายลุกลามเฉพาะที่ดวย เชน การแพรกระจายสูกระดูก ตับ
ปอด และสมอง เปนตน
กายวิภาคของเตานม
           เตานมตั้งอยูหนากลามเนื้อ Pectoralis major Muscle เตานมเปนGlandular Structure อยูในชั้น
Subcutaneous Tissue ของรางกายอยูระหวาง Superficial Fascia กับ Deep Fascia ยกเวน Axillary Tail
ที่ยื่นตอ Deep Fascia เตานม มีอาณาเขตตั้งแตซี่โครงที่ 2 ถึง 6 และจากขอบ Sternum และขอบรักแร




                                                     รูปที่ 1 แสดงลักษณะทางกายภาพของเตานมปกติ




ลักษณะภายนอกของเตานม
         เตานมปกติมีลักษณะเปนรูปกรวยคว่ํา มีอยู 2 ขาง มีหนาที่สรางน้ํานมเพื่อบํารุงเลี้ยงเด็ก และ
มีหัวนมอยูที่ยอด (Nipple) บริเวณ Nipple นี้มีรูของ Milk Duct และผิวหนังที่อยูรอบ ๆ หัวนมจะมีสี
คล้ํากวาผิวหนังทั่วไปของเตานม ผิวหนังบริเวณนี้เรียกวา ปานนม หรือ Areola เปนตอม Compound
Gland ซึ่งแบงเปนสวน ๆ มีประมาณ 20 lobe แบงโดย Connective Tissue และ lobe หนึ่ง ๆ จะมี
Excretory Duct ของมันเองซึ่งมีปลายของหลอดที่จะมาเปดที่หัวนม พื้นที่ขยายพองโตเพื่อขังน้ํานมไว
ในเวลาที่ตอมน้ํานมทําหนาที่สรางน้ํานมออกมา และ Duct เหลานี้ตางก็ไปที่ผิวของหัวนมโดยตรง
lobe ตาง ๆ เหลานี้ยังแบงออกเปน lobe เล็ก ๆ หรือที่เรียกวา Lobular


                                                      รูปที่ 2 แสดงลักษณะภายนอกของเตานม
ลักษณะภายในของเตานม
            ภายในเตานมประกอบดวย ไขมัน เนื้อเยื่อตอมน้ํานม Glandular Tissue ซึ่งมีโครงสรางเชน
เดียวกับ Exocrine Gland ทั่ว ๆ ไป ประกอบดวย Acini Areola และทอน้ํานมหรือ Ductal System
ภายใน Glandular Tissue มี Fibrous Septum แบงตอมออกเปน lobe ประมาณ 15-20 lobes ภายใน
lobe ประกอบดวย lobules และมีถุง bulbs ติดอยูกับทอน้ํานมซึ่งจะเปดยังหัวนม ซึ่ง Fibrous septum จะ
แผ รั ศ มี อ อกจากศู น ย ก ลางคื อ หั ว นม (Nipple) และต อ มน้ํ า นมฝ ง อยู ใ นชั้ น ไขมั น ใต ผิ ว หนั ง
(Subcutaneous fat) โดยมีไขมันแทรกอยูในระหวางเนื้อตอมน้ํานมดวย ถามีไขมันแทรกอยูมากใน
ระหวาง lobe และ lobular เราจะไมสามารถมองเห็นหรือสัมผัสออนนุม (soft) หรือคอนขางแนนตึง ไม
แข็ง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับไขมันที่แทรกอยูระหวาง Glandular Tissue นอกจากนี้ภายในเตานมยังมีหลอด
เลือด และทอน้ําเหลือง( lymph) ซึ่งจะไปรวมกันยังตอมน้ําเหลืองที่รักแร ( axillary lymph node)




                                        รูปที่ 3 แสดงลักษณะภายในของเตานม




            รูปที่ 4 แสดงลักษณะและความแตกตางของความผิดปกติของเตานมชนิดตาง ๆ
ผิวหนังจะเหมือนเปลือกสม




                            ผิวหนังจะมีรอยบุมของเตานมซาย




                  รูปที่ 5 แสดงลักษณะที่ผิดปกติของเตานมที่ควรรีบพบแพทย


อาการและอาการแสดงของมะเร็งเตานม
       ผูปวยที่เปนมะเร็งเตานม มักจะไมมอาการ โดยมากมักจะรูไดโดยมีอาการแสดงของความ
                                           ี
ผิดปกติที่เกิดขึ้นที่เตานมทีอาจเปนอาการของโรคมะเร็งเตานมดังนี้
                             ่
    1. คลําไดกอนหรือเนื้อที่เปนไตแข็งผิดปกติที่เตานมหรือรักแร

    2. มีการเปลี่ยนแปลงขนาด รูปรางและลักษณะของเตานมทีผิดปกติไป
                                                               ่
    3. มีน้ําเหลืองหรือเลือดไหลออกจากหัวนม

    4. หัวนมถูกดึงรังจนผิดปกติ
                         ้
    5. สีและผิวหนังบริเวณเตานมเปลี่ยน มีรอยบุมคลายผิวเปลือกสม หรือบวม แดง รอนผิดปกติ
                                                 
    6. เตานมทั้งสองขางไมอยูในระดับเดียวกัน
สาเหตุและปจจัยสงเสริมการเกิดโรคมะเร็งเตานม
         สาเหตุของมะเร็งเตานม ปจจุบันยังไมเปนที่ทราบแนชัดถึงสาเหตุที่แทจริงของการเกิด แตเชื่อ
วามีสาเหตุสงเสริมหลายอยางรวมกัน การปฎิบัติตัวที่ดจะลดการเกิดมะเร็งเตานม
                                                      ี
     • เปลี่ยนแปลงอาหาร เชนลดพวกเนื้อสัตวลง ลดอาหารไขมัน

     • เลือกรับประทานอาหารผักหรือผลไม

     • ควบคุมน้ําหนักมิใหอวน
     • ออกกําลังกายสัปดาหละ 5 วันวันละ 30 นาที

     • งดบุหรี่ และแอลกอฮอล
 
ปจจัยเสี่ยงที่ทําใหเกิดโรค
          ขอมูลทางการแพทยเพียงสนับสนุนใหเราทราบวาอะไรเปนปจจัยเสียงที่ทาให สตรีมีโอกาส
                                                                          ่       ํ
เพิ่มขึ้นที่จะเปนโรคมะเร็งเตานมเทานั้น ไดแก
          1. อายุ หลังเขาสูวัยหมดประจําเดือนหรือวัยทอง (Menopause) ยิ่งอายุเพิ่มขึ้นโอกาสเปนโรคก็
สูงขึ้นตามไปดวย สวนมากจะเปนกันชวงอายุ 60 ปขึ้นไป แตระยะหลังดูเหมือนอายุเฉลี่ยที่พบโรคนี้จะ
ลดลงต่ําเรื่อยๆ
          2. ประวัติเคยเปนโรคมะเร็งเตานมขางหนึง มีโอกาสสูงขึ้นที่จะตรวจพบโรคมะเร็งไดที่เตานม
                                                  ่
อีกขางหนึ่งในเวลาตอมา
          3. ประวัติโรคมะเร็งเตานมในญาติสายตรง (มารดา, พี่สาวนองสาวหรือลูกสาว)
          4. เคยตรวจพบการเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยือเตานม บางชนิดมากอน จากการตัดชิ้นเนื้อไป
                                                    ่
ตรวจในอดีต แมครั้งนั้นจะยังไมใชโรคมะเร็งก็ตาม เชน เนื้อเยื่อชนิด Atypical hyperplasia, ชนิด
Lobular carcinoma in situ เปนตน
          5. ความผิดปกติทางพันธุกรรมบางตัว การเปลี่ยนแปลงของยีนจําเพาะบางชนิด เชน BRCA 1,
BRCA 2
          6. ประวัติทางนรีเวชที่บงชีแนวโนม เชน การมีบุตรคนแรกเมื่ออายุมากหรือไมเคยมีบุตรเลย,
                                     ้
เริ่มมีประจําเดือนครั้งแรกอายุนอยๆ (เชน นอยกวา 12 ป), หมดประจําเดือนชาหลังอายุ 55 ป, และการ
ใชฮอรโมนทดแทนในสตรีวัยทองโดยเฉพาะฮอรโมนชนิดรวม (Estrogen and progestin) สวนประวัติ
การแทงบุตรไมพบวามีความสัมพันธกับการเกิดโรคนี้
          7. เชื้อชาติ สตรีกลุมชนผิวขาวมีโอกาสพบโรคมะเร็งเตานมไดบอยกวาสตรีเชื้อชาติอื่น
          8. ประวัติการไดรบรังสีรักษาบริเวณหนาอก เมื่ออายุนอย เชน ใชเพื่อการรักษาโรคมะเร็งตอม
                              ั
น้ําเหลืองบางชนิด
9. ประวัติการไดรับยาฮอรโมนกันแทง Diethylstilbestrol (DES) ซึ่งเคยเปนทีนิยมใชในสตรี
                                                                                         ่
ตั้งครรภยุคกอน ค.ศ. 1970
         10. การตรวจพบเนื้อเตานมที่มความหนาแนน หรือมีการสะสมไขมันเยอะจากการตรวจแมม
                                            ี
โมแกรม (Mammogram) อาจพบโรคมะเร็งเตานมไดบอยขึ้น
         11. ภาวะโรคอวน ลงพุง น้ําหนักเกิน ในสตรีวัยหมดประจําเดือน
         12. การขาดการออกกําลังกาย หรือการใชชีวิตที่ออกแนวเฉื่อยชา ทําใหมีโอกาสเปนโรคอวน
และน้ําหนักเกินไดงาย
         13. การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล ยิ่งดื่มมากพบวามีโอกาสสูงขึ้นที่จะเปนมะเร็งเตานม
         การหลีกเลี่ยงจากปจจัยเสี่ยงที่พอจะเลี่ยงไดจะชวยลดความเสี่ยงตอการเกิดโรคมะเร็งเตานม
อยางไรก็ดี สตรีสวนใหญแมมีปจจัยเสียงก็ไมไดหมายความวาจะเปนโรคมะเร็ง ในขณะที่มีสตรีทเี่ ปน
                                          ่
มะเร็งเตานมหลายรายไมพบมีปจจัยเสียงเหลานี้เลย แมแตขอเดียว
                                        ่
 
การวินจฉัยโรค
      ิ
         เมื่อสตรีมาพบแพทยดวยอาการหรือการตรวจคัดกรองผิดปกติ จะไดรับการวินจฉัยตาม     ิ
ขั้นตอนดังนี้
1. การซักประวัติเพิ่มเติม ถามถึงปจจัยเสี่ยงตางๆ, ทําการตรวจรางกาย, อาจสงตรวจแมมโมแกรมหรือ
ตรวจทางรังสีวิทยา (เอกซเรย) ที่จําเปนเพิมกอนพิจารณาวานาสงสัยและจําเปนตองตรวจวินจฉัยตอไป
                                           ่                                                ิ
หรือจะ นัดตรวจติดตามอยางไร
2. การเก็บตัวอยางเนื้อเยื่อเพือพิสูจนทางพยาธิวิทยา (Biopsy)
                                ่
         • วิธีเจาะดูดของเหลวจากถุงน้ํา (Cyst) หรือกอนที่สงสัยดวยเข็มขนาดเล็ก (Fine-needle
aspiration - FNA) โดยแพทยจะใชเข็มเล็กๆ ดูดเอาของเหลวหรือเซลลออกจากกอนที่เตานม วิธีนี้ไม
คอยเจ็บ ในกรณีที่คลําไดกอนชัดเจน การเจาะดูดชิ้นเนือเพื่อนํามาตรวจจะไดผลทั้งในแงวินจฉัย โดย
                                                       ้                                     ิ
นํามาตรวจดวยวิธีเซลลวิทยา (cytology) และอาจเปนวิธีรักษา (therapeutic purpose) ในกรณีที่เปนรอย
โรคของถุงน้ําที่ไมใชมะเร็ง ซึ่งในกรณีหลังนี้ไมจาเปนตองตรวจหรือรักษาเพิ่มเติม ถาผลการตรวจ
                                                  ํ
เซลลวิทยายืนยันวาไมเปนมะเร็ง
         • การตัดชิ้นเนือสงตรวจดวยเข็มขนาดโต (Core needle biopsy) เนื้อเยื่อในบริเวณที่สงสัยจาก
                          ้
การตรวจดวย mammogram จะถูกตัดออกมา โดยการใชเข็มขนาดใหญกวา การตรวจดวยวิธี
FNA เนื้อเยื่อที่ไดจะถูกสงไปที่หองปฏิบัติการเพื่อทําการตรวจโดยพยาธิแพทย วาเปนมะเร็ง
หรือไม วิธีน้เี จ็บมากขึ้นเล็กนอย แตผลการตรวจมีความแมนยํากวาการตรวจแบบแรก
         • การตัดชิ้นเนือสงตรวจดวยการผาตัด (Surgical biopsy) การผามีอยู 2 อยาง คือ การผา
                        ้
บางสวนของกอนเนื้องอกไปตรวจ (incisional biopsy) หรือการผาเอากอนทั้งหมดไปตรวจ (excisional
biopsy) ซึ่งพยาธิแพทยจะตรวจเนื้อเยื่อจากกอนที่ตัดได โดยการนําไปสองดูดวยกลองจุลทรรศน
3. การตรวจเพิ่มเติมพิเศษ เชน MRI (Magnetic Resonance Imaging), การสงเนื้อเยือตรวจหาตัวรับ
                                                                              ่
ฮอรโมน (Hormone receptor) ซึ่งจะชวยบอกวาสตรีรายนันควรไดรับยา กลุมฮอรโมนหลังการรักษา
                                                    ้
มาตรฐานหรือไม, การตรวจหาโปรตีนหรือยีนส HER2 ในเนื้อเยื่อเตานมเพื่อบอกการพยากรณโรค

ระยะของโรค
      เมื่อไดรับการตรวจ และ/หรือ รวมกับการผาตัดแลว แพทยจะระบุระยะของโรคจากขนาดของกอน
เนื้อ การกระจายของโรคไปที่อวัยวะอืนและตอมน้ําเหลืองบริเวณใกลเคียงโดยเฉพาะ บริเวณรักแร การ
                                          ่
ทราบระยะของโรคมีความสําคัญในการวางแผนการรักษาและการพยากรณโรค
 ลักษณะการกระจายและสถานที่ตั้ง อาจแบงมะเร็งเตานมออกเปน 2 ลักษณะคือ
1. มะเร็งเริ่มเปน (EARLY)
           ระยะนี้พบบอยที่สุด โดยเซลลมะเร็งจะเริมตนที่เยื่อบุทอน้ํานม ทอน้ํานมนี้เชื่อมตอระหวาง
                                                    ่            
ตอมน้ํานมกับหัวนม มะเร็งประเภทที่พบบอยรองลงมา คือ ชนิดที่เกิดกับเนื้อตอมสรางน้ํานม ซึ่ง
ประกอบดวยเซลลผลิตน้ํานม ที่มาเรียงตอเปนกลีบเล็กกลีบนอย มะเร็งที่ตรวจพบไดตั้งแตยังเริ่มเปนอยู
ภายในทอน้ํานม จะมีโอกาสหายขาดไดมากกวา 95% ที่ไม 100% เพราะวา แมจะผาตัดกอนมะเร็ง
ออกไปแลว ยังอาจมีโอกาสที่เซลลมะเร็งไดลุกลามไปที่อื่นแลว จุดออนขณะนี้คือ ยังไมสามารถ
พยากรณ ไดวา มะเร็งรายใดจะลุกลามและรายใดจะคงเปนเฉพาะในเตานม อยางไรก็ตาม แมจะวินจฉัย
                                                                                                   ิ
มะเร็งไดเนิ่นๆ แตมะเร็งยังอาจเกิดไดในอนาคต
2. มะเร็งชนิดรุกราน (INVASIVE)
           มะเร็งชนิดนี้จะลุกลามไปนอกกลีบ หรือเนื้อตอมน้ํานมสูเนื้อเตานมทัวไป การคลํากอนแข็งที่
                                                                                ่
เตานมได มักจะเปนอาการแสดงของมะเร็งชนิดรุกราน มะเร็งเตานมสวนใหญจะปรากฏอยูหลายป กวา
จะคลํากอนได มะเร็ง มะเร็งรุกรานบางราย จะคงอยูในเตานมในขณะที่บางราย ลุกลามไปที่ตอม
น้ําเหลือง
3. มะเร็งชนิดลุกลาม (METASTATIC)
           คํานี้ใชอธิบายมะเร็งที่ไดลุกลามไปยังสวนอื่นๆ ของรางกาย รวมทั้งตอมน้ําเหลือง กระดูก
ปอด ตับ และสมอง

การรักษามะเร็งเตานม
         แผนการรักษามักขึ้นอยูกับระยะของโรค ขนาดของกอน รวมถึงขอพิจารณาอื่นๆ เชน อายุ
                              
ผูปวย สถานภาพของประจําเดือน สุขภาพทั่วไป เปนตน
         ในปจจุบนมีวธีการรักษาหลากหลายวิธี ไมวาจะเปนการผาตัด, รังสีรักษา, เคมีบําบัด, ฮอรโมน
                 ั ิ
บําบัดและสารประกอบชีวภาพ (Biological therapy) แพทยผูดูแลมักแนะนําใหใชการรักษาแบบ
ผสมผสานเพื่อผลการรักษาและการพยากรณ โรคที่ดีที่สุดโดยคํานึงถึงคุณภาพชีวตของผูปวยเปนสําคัญ
                                                                             ิ
หลักการใหการรักษาโรคมะเร็งเตานมแบงเปน
           การรักษาเฉพาะที่ (Local therapy) ไดแก การผาตัดและรังสีรักษา โดยใชการตัดเนื้อราย
ออกหรือทําลายเซลลมะเร็งเฉพาะบริเวณรอยโรคที่ตรวจพบ เชน ที่เตานม หรือใชเมือมีการกระจายของ
                                                                               ่
โรคไปปรากฏขึ้นเฉพาะที่อวัยวะใดอวัยวะหนึ่ง
           การรักษาแบบทั้งรางกาย (Systemic therapy) ไดแก ยาเคมีบําบัด, ฮอรโมนบําบัด และ
สารประกอบชีวภาพ เมื่อกินหรือฉีดสารเหลานี้จะซึมผานเขาในกระแสเลือดไปยังทุกสวนของรางกาย
ชวยทําลายและยับยั้งการเจริญของเซลลมะเร็ง การรักษาแบบทั้งรางกายนี้มักใชผสมผสานเสริมกับการ
รักษาเฉพาะที่เพื่อ ปองกันการกลับเปนซ้ําของโรคและในกรณีที่มการกระจายของโรคออกจากบริเวณ
                                                             ี
เตานม

แนวทางการปองกันมะเร็งเตานม
          โรคมะเร็งเปนโรคที่พบไดบอยโดยเฉพาะในปจจุบันซึ่งมีมลภาวะจากการพัฒนาประเทศ และ
ประชาชนขาดความเอาใจใสตอสุขภาพตนเอง ขาดการออกกําลังกาย รับประทานอาหารไมเลือก
เหลานี้ลวนเปนสาเหตุใหมีโอกาสเปนมะเร็งเพิ่มขึ้น โรคมะเร็งเปนโรคที่ปองกันได และสามารถรักษา
ใหหายขาดไดหากสามารถวินิจฉัยไดตั้งแตเริ่มเปน
          มะเร็งเกือบทุกชนิดหากคนพบในระยะเริ่มแรกจะใหการรักษาไดผลดี ดังนั้นการคนพบตั้งแต
เริ่มเปนจึงมีความสําคัญเปนอยางยิ่ง มะเร็งเตานมเปนมะเร็งที่พบไดบอย เปนเรื่องที่ไมไกลตัวสําหรับ
ผูหญิงทั้งหลาย และโรคนี้สามารถพบไดในผูชาย ดังนั้นไมวาจะเปนหญิงหรือชายควรจะตรวจเตานม
ตัวเอง การตรวจเตานมดวยตัวเอง ควรจะตรวจอยางนอยเดือนละครั้ง ระยะเวลาที่เหมาะสมในการ
ตรวจคือหลังจากประจําเดือนหมด สวนการตรวจเตานมโดยแพทย ควรตรวจตั้งแตอายุ 20 ปขึ้นไปโดย
ตรวจทุก 3 ป สวนผูที่อายุมากกวา 40 ปขึ้นไปควรตรวจเปนประจําทุก 1 ป และเมื่อมีอาการและ
อาการแสดงหรือตรวจพบสิงผิดปกติดังตอไปนี้ควรที่จะตองรีบปรึกษาแพทย คือ
                            ่
               • พบกอนหรือเนื้อที่เปนไตแข็งผิดปกติที่เตานมถึงบริเวณรักแร
               • มีนําเหลืองและเลือดไหลจากหัวนม
                     ้
               • ผิวหนังบริเวณเตานมมีรอยบุม 
               • หัวนมถูกดึงรังจนผิดปกติ
                               ้
               • เตานมทั้งสองขางไมอยูในระดับเดียวกัน
               • ขนาด และรูปรางเตานมทั้งสองขางตางกันอยางผิดปกติ

การตรวจคัดกรองมะเร็งเตานม
      การตรวจคัดกรองเปนการชวยคนหาโรคตั้งแตระยะเริ่มตน ซึ่งชวยเพิ่มโอกาสการรักษาโรคให
หายขาด การตรวจคัดกรองมะเร็งเตานม ไดแก
1. การตรวจเตานมดวยตัวเอง (Breast self-examination) เมื่อเริ่มอายุ 20 ปขึ้นไป ควรทําการ
ตรวจ เตานมดวยตนเองทุกเดือนอยางนอยเดือนละครั้ง อยางถูกวิธี ชวงเวลาที่เหมาะสมสําหรับการ
ตรวจคือ 5 ถึง 7 วัน นับจากประจําเดือนหมด สวนสตรีที่หมดประจําเดือนใหกําหนดวันทีจดจํางายและ
                                                                                         ่
ตรวจในวันเดียวกันของทุก เดือน การตรวจเตานมดวยตนเองตองตรวจตามวิธีที่ถูกตองและสม่ําเสมอ
จะสามารถตรวจพบ กอนไดตั้งแตยังมีขนาดไมโตมากนักซึ่งการรักษาจะไดผลดี วิธการตรวจเตานม
                                                                                    ี
ดวยตนเอง ซึ่งจะกลาวถึงรายละเอียดวิธการตรวจเตานมดวยตนเองตอไป
                                           ี
         2. การตรวจเตานมโดยแพทยหรือเจาหนาที่ทางการแพทยที่มีความชํานาญ ควรตรวจตั้งแตอายุ
20ขึ้นไปโดยตรวจทุก 3 ป สวนผูที่อายุมากกวา 40 ปตวรจะตรวจดวยแพทยทุกป
         3. การตรวจดวย Mamogram สามารถตรวจพบกอนกอน 2 ป การตรวจ Mamogram เปนการ
ตรวจที่ดีทจะคนพบมะเร็งในระยะเริ่มตนแนะนําใหเริ่มตรวจตั้งแตอายุ 40 ปขึ้นไป โดยเฉพาะกลุมที่
           ี่                                                                                 
เสี่ยงตอการเกิดมะเร็งเตานม สําหรับผูที่มีความเสี่ยงตอการเกิดมะเร็งต่ําแนะนําใหตรวจ Mamogram
หลังอายุ 50 ป

วิธีการตรวจเตานมดวยตนเอง
1. ตรวจขณะยืนหนากระจก
         1.1 ยืนสองกระจก ปลอยแขนแนบขางลําตัวตามสบาย เปรียบเทียบเตานมทั้งสองขาง สังเกตดู
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของรูปราง, ขนาดหรือสีของหัวนม สังเกตดูระดับของหัวนมแตละขางวา
เทากันหรือไม มีปนหรือผื่นบนหัวนมหรือไม มีผิวหนังบุมลงหรือไม มีการบิดเบี้ยว การดึงรั้งของเตา
นมหรือหัวนม ความสูง-ต่ําของหัวนม หรือมีสิ่งผิดปกติอ่น ๆ หรือไม
                                                     ื




        1.2 ยืนประสานมือทั้งสองขางเหนือศีรษะ หันดานขางสองกระจกดูทีละขาง แลวกลับมาอยูใน
ทาทาวสะเอว พรอมทั้งตรวจดูสิ่งที่ผิดปกติ เหมือนในขอ 1.1
1.3 หันหนาตรงเขากระจกอีกครั้ง เอามือจับสะโพกทั้งสองขาง  และกดสะโพกไวแรงๆ จน
ทานรูสกวากลามเนื้อที่หนาอกของทานแข็งเกร็งขึ้นมา สังเกตความผิดปกติอีกครั้ง
        ึ




        1.4 ยืนโนมตัวโคงไปขางหนา โดยใชมอทั้งสองขางวางบนเขาใหหนาอกสองขางหอยดิ่งลง 
                                                ื
จะทําใหมองเห็นความผิดปกติไดชดเจนมากขึ้น สังเกตดูวามีรอยบุม หรือโปงพองของผิวหนังที่เตานม
                                 ั
หรือไม สังเกตดูรูปรางของเตานม และสังเกตวามีรอยบุมที่หัวนมทั้งสองขางหรือไม 




                             รูปที่ 7 แสดงการตรวจเตานมขณะยืน

2. ตรวจขณะนอนราบ
         2.1 นอนราบในทาที่สบายแลวสอดหมอน หรือมวนผาใตไหลขางใดขางหนึ่ง ยกแขนดาน
เดียวกับเตานมที่จะตรวจเหนือศีรษะเพื่อใหเตานมดานนันลอยขึ้น ซึ่งจะทําใหคลําพบกอน หรือพบสิ่ง
                                                     ้
ผิดปกติไดงายขึ้น โดยเฉพาะสวนบนดานนอกของเตานม ซึ่งมีเนื้อนมหนามากที่สุด และเกิดมะเร็งบอย
กวาสวนอื่น มองสํารวจเตานมใหทวสังเกตดูลักษณะผิดปกติ
                                 ั่
2.2 เริ่มตรวจขางที่ถนัดกอน โดยใชปลายนิวมือสามนิ้ว คือ นิวชี้ นิ้วกลาง และนิ้วนาง คลํา
                                                        ้             ้
ทั่วทั้งเตานม น้ําหนักกดทีปลายนิ้วแรงและลึกพอสมควร ขึ้นอยูกับขนาดเตานม ที่สําคัญคือ หามบีบ
                            ่                                  
เนื้อเตานม เพราะอาจทําใหรูสึกวามีกอน ซึ่งจริงๆ แลวไมใช




        2.3 คลําที่ใตรักแร ถามีตอมน้ําเหลืองโตจะคลําไดเปนกอนที่ใตรักแร และตรวจคลําเตานมอีก
ขางในลักษณะเดียวกัน




                            รูปที่ 8 แสดงการตรวจเตานมขณะนอนราบ

3. ตรวจขณะอาบน้ํา วิธีนี้เหมาะสําหรับผูหญิงที่มีเตานมขนาดเล็ก
         3.1 ใหวางมือขางเดียวกับเตานมขางที่ตองการตรวจบนเหนือศีรษะ แลวใชมืออีกขางคลําใน
ทิศทางเดียวกับที่คลําในทายืนตรวจ
         3.2 สําหรับผูหญิงที่มีเตานมขนาดใหญ ใหใชมือขางนั้นประคองและตรวจคลําเตานมจาก
ดานลาง สวนมืออีกขางใหคลําจากดานบน




                                         รูปที่ 9 แสดงการตรวจเตานมขณะอาบน้ํา
## อยาลืม ใชปลายนิ้วหัวแมมือ และนิ้วชี้บีบตั้งแตขอบลานหัวนม (Areola) เขาหากันที่หวนม ดูวามี
                                                                                      ั      
สิ่งผิดปกติไหลออกจากหัวนมหรือไม ถามี ลักษณะของเหลวที่ออกมาเปนอยางไร




ลักษณะวิธีการคลํา มีหลายแบบดังนี้
การคลําแบบกนหอย
          คลําโดยเริ่มจากการคลําเปนวงกลมกวาง ๆ ดานนอกขอบเตานมกอน แลววนใหวงกลมนี้แคบ
เขาสูหัวนม โดยในการคลําใหใชปลายนิวมือออกแรงทังคลําและกดลงที่เตานมวนอยูกับที่เปนวงกลม
                                         ้           ้
เล็ก ๆ แลวคอยขยับยายทีใหทั่ว ๆ วนเปนวงรอบใหญจนกระทั่งถึงหัวนม น้ําหนักกดแรงหรือเบามาก
                          ่
นอยขึ้นอยูกับขนาดของเตานม
            




                        รูปที่ 10 แสดงลักษณะการคลําเตานมแบบกนหอย

การคลําแบบดาวกระจาย
         จินตนาการแบงเตานมออกเปนชวง ๆ ตามเข็มนาฬิกา เริ่มตน คลําจาก 12 นาฬิกา โดยเริ่มกด
จากหัวนมเปนเสนตรงผานลานหัวนมออกไปสูฐานของเตานม แลวขยับไปที่ 1, 2, 3 นาฬิกา คลํายาย
ไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งครบทัวพื้นที่เตานม
                          ่




                      รูปที่ 11 แสดงลักษณะการคลําเตานมแบบดาวกระจาย
การคลําแบบขึนและลง
                ้
           จินตนาการวา เตานมเปนลูกคลื่นในทะเล ใชปลายนิ้วมือคลําโดยกดวนเปนวงกลมเล็ก ๆ ย้ํา
อยูกับที่ และใหคลําเตานมยายที่ในทิศทางขึ้น และลงตามยอดคลื่น




                      รูปที่ 12 แสดงลักษณะการคลําเตานมแบบขึ้นและลง


 

 

 

 

 

 

รายการอางอิง 


ชาญวิทย ตันติ์พิพัฒน และธนิต วัชรพุกก. (2541). ตําราศัลยศาสตร. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ
        แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ชวนพิศ นรเดชานนท. (2547). เคมีบําบัด: หลักการพยาบาล. กรุงเทพฯ: คณะพยาบาลศาสตร
        มหาวิทยาลัยมหิดล.
พวงทิพย ชัยพิบาลสฤษดิ์ และคณะ. (2546). โครงการวิจัยเรื่องมาตรฐานการพยาบาลผูปวยโรคมะเร็ง
        เตานม. คณะพยาบาลศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย: กรุงเทพฯ.
สุจินดา ริมศรีทอง และคณะ. (2552). พยาธิสรีรวิทยาทางการพยาบาล. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ:
        ภาควิชาพยาบาลศาสตร คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล.
สุรพงษ สุภาภรณ และคณะ. (2547). มะเร็งเตานม. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพยาบาลพระมงกุฎ
        เกลา สมาคมศัลยแพทยนานาชาติแหงประเทศไทย.
 

Contenu connexe

Tendances

โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
Utai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
Chutchavarn Wongsaree
 
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
techno UCH
 
พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี
พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี
พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี
อบต. เหล่าโพนค้อ
 
34การเย็บฝีเย็บ
34การเย็บฝีเย็บ34การเย็บฝีเย็บ
34การเย็บฝีเย็บ
My Parents
 
Breastfeeding paeng(revised)
Breastfeeding paeng(revised)Breastfeeding paeng(revised)
Breastfeeding paeng(revised)
Paweena Phangs
 

Tendances (20)

มะเร็งปากมดลูก by swd57
มะเร็งปากมดลูก by swd57มะเร็งปากมดลูก by swd57
มะเร็งปากมดลูก by swd57
 
CA Cervix
CA CervixCA Cervix
CA Cervix
 
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม  การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
 
Gynecologic Malignancy
Gynecologic MalignancyGynecologic Malignancy
Gynecologic Malignancy
 
Slide cervarix p'pin
Slide cervarix p'pinSlide cervarix p'pin
Slide cervarix p'pin
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
 
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล วงค์สารี
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล  วงค์สารีการใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล  วงค์สารี
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล วงค์สารี
 
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
 
พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี
พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี
พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
34การเย็บฝีเย็บ
34การเย็บฝีเย็บ34การเย็บฝีเย็บ
34การเย็บฝีเย็บ
 
Present.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapdPresent.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapd
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Breastfeeding paeng(revised)
Breastfeeding paeng(revised)Breastfeeding paeng(revised)
Breastfeeding paeng(revised)
 
สรุปผลงานดีเด่น 1 ข้อ (จรรยาบรรณข้อ 3)
สรุปผลงานดีเด่น 1 ข้อ (จรรยาบรรณข้อ 3)สรุปผลงานดีเด่น 1 ข้อ (จรรยาบรรณข้อ 3)
สรุปผลงานดีเด่น 1 ข้อ (จรรยาบรรณข้อ 3)
 
วิระพล ภิมาลย์, เภสัชกรรมบำบัดโรคมะเร็งเต้านม
วิระพล ภิมาลย์, เภสัชกรรมบำบัดโรคมะเร็งเต้านม วิระพล ภิมาลย์, เภสัชกรรมบำบัดโรคมะเร็งเต้านม
วิระพล ภิมาลย์, เภสัชกรรมบำบัดโรคมะเร็งเต้านม
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
 

En vedette

Infrastructure no 4
Infrastructure no 4Infrastructure no 4
Infrastructure no 4
Santi Ch.
 
การเดินสายไฟในอาคาร
การเดินสายไฟในอาคารการเดินสายไฟในอาคาร
การเดินสายไฟในอาคาร
Chatu Tiktuk
 
Will Alarm System
Will Alarm SystemWill Alarm System
Will Alarm System
PHz
 
Infrastructure no 2
Infrastructure no 2Infrastructure no 2
Infrastructure no 2
Santi Ch.
 
คู่มือการมุงกระเบื้องเซรามิก
คู่มือการมุงกระเบื้องเซรามิกคู่มือการมุงกระเบื้องเซรามิก
คู่มือการมุงกระเบื้องเซรามิก
thana bkk
 
Numerical Method Chapter 1
Numerical Method Chapter 1Numerical Method Chapter 1
Numerical Method Chapter 1
Suriya Ooh
 
งานผนัง เพดาน พื้น
งานผนัง เพดาน พื้นงานผนัง เพดาน พื้น
งานผนัง เพดาน พื้น
buntawee
 
ความหมาย การบริหาร1
ความหมาย การบริหาร1ความหมาย การบริหาร1
ความหมาย การบริหาร1
nursemoobin
 

En vedette (20)

Sodium silicate and lithium silicate comparison
Sodium silicate and lithium silicate comparisonSodium silicate and lithium silicate comparison
Sodium silicate and lithium silicate comparison
 
ทักษะการบริหารชีวิตตัวเอง
ทักษะการบริหารชีวิตตัวเองทักษะการบริหารชีวิตตัวเอง
ทักษะการบริหารชีวิตตัวเอง
 
Site Structure
Site StructureSite Structure
Site Structure
 
Banana project 602
Banana project 602Banana project 602
Banana project 602
 
กีตาร์และประเภทของกีตาร์
กีตาร์และประเภทของกีตาร์กีตาร์และประเภทของกีตาร์
กีตาร์และประเภทของกีตาร์
 
Sanitary Ware
Sanitary WareSanitary Ware
Sanitary Ware
 
Infrastructure no 4
Infrastructure no 4Infrastructure no 4
Infrastructure no 4
 
Corporate Finance: Land and Houses
Corporate Finance: Land and HousesCorporate Finance: Land and Houses
Corporate Finance: Land and Houses
 
การเดินสายไฟในอาคาร
การเดินสายไฟในอาคารการเดินสายไฟในอาคาร
การเดินสายไฟในอาคาร
 
Will Alarm System
Will Alarm SystemWill Alarm System
Will Alarm System
 
T07 flat slab
T07 flat slabT07 flat slab
T07 flat slab
 
Infrastructure no 2
Infrastructure no 2Infrastructure no 2
Infrastructure no 2
 
คู่มือการมุงกระเบื้องเซรามิก
คู่มือการมุงกระเบื้องเซรามิกคู่มือการมุงกระเบื้องเซรามิก
คู่มือการมุงกระเบื้องเซรามิก
 
Numerical Method Chapter 1
Numerical Method Chapter 1Numerical Method Chapter 1
Numerical Method Chapter 1
 
21 Century skills
21 Century skills 21 Century skills
21 Century skills
 
Intro to Computer Enginner
Intro to Computer EnginnerIntro to Computer Enginner
Intro to Computer Enginner
 
04 basic measurement
04 basic measurement04 basic measurement
04 basic measurement
 
ระบบผู้เชี่ยวชาญการทำงานบริษัทรับเหมา 55102010989
ระบบผู้เชี่ยวชาญการทำงานบริษัทรับเหมา 55102010989ระบบผู้เชี่ยวชาญการทำงานบริษัทรับเหมา 55102010989
ระบบผู้เชี่ยวชาญการทำงานบริษัทรับเหมา 55102010989
 
งานผนัง เพดาน พื้น
งานผนัง เพดาน พื้นงานผนัง เพดาน พื้น
งานผนัง เพดาน พื้น
 
ความหมาย การบริหาร1
ความหมาย การบริหาร1ความหมาย การบริหาร1
ความหมาย การบริหาร1
 

Similaire à Breast cancer

โรคมะเร็ง
โรคมะเร็งโรคมะเร็ง
โรคมะเร็ง
santti2055
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
Roongroeng
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
Anny Na Sonsawan
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
Anny Na Sonsawan
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
Wan Ngamwongwan
 
นิ้ง ป๊อบ3
นิ้ง  ป๊อบ3นิ้ง  ป๊อบ3
นิ้ง ป๊อบ3
supphawan
 

Similaire à Breast cancer (20)

การรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับการรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับ
 
Health today _may_12
Health today _may_12Health today _may_12
Health today _may_12
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
 
Bleeding in first half
Bleeding in first halfBleeding in first half
Bleeding in first half
 
โรคมะเร็ง
โรคมะเร็งโรคมะเร็ง
โรคมะเร็ง
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
Cpg obesity
Cpg obesityCpg obesity
Cpg obesity
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วนโครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
 
Benign Ovarian Tumor
Benign Ovarian TumorBenign Ovarian Tumor
Benign Ovarian Tumor
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
 
มะเร็ง
มะเร็งมะเร็ง
มะเร็ง
 
Sample 4 lifeyes
Sample 4 lifeyesSample 4 lifeyes
Sample 4 lifeyes
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
นิ้ง ป๊อบ3
นิ้ง  ป๊อบ3นิ้ง  ป๊อบ3
นิ้ง ป๊อบ3
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงMetabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
 
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียนสอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
 
J:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า แต่ยังไม่มีหัวข้อ
J:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า  แต่ยังไม่มีหัวข้อJ:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า  แต่ยังไม่มีหัวข้อ
J:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า แต่ยังไม่มีหัวข้อ
 

Plus de Piyapot Tantaphalin (9)

การใช้ซอฟต์แวร์การเขียนโปรแกรมแบบชุดคำสั่งแบบภาพเพื่อกระตุ้นความสนใจของนักเรียน
การใช้ซอฟต์แวร์การเขียนโปรแกรมแบบชุดคำสั่งแบบภาพเพื่อกระตุ้นความสนใจของนักเรียนการใช้ซอฟต์แวร์การเขียนโปรแกรมแบบชุดคำสั่งแบบภาพเพื่อกระตุ้นความสนใจของนักเรียน
การใช้ซอฟต์แวร์การเขียนโปรแกรมแบบชุดคำสั่งแบบภาพเพื่อกระตุ้นความสนใจของนักเรียน
 
Manual breastscreen
Manual breastscreenManual breastscreen
Manual breastscreen
 
Case01
Case01Case01
Case01
 
Cdg
CdgCdg
Cdg
 
Web Technology
Web TechnologyWeb Technology
Web Technology
 
FOS
FOSFOS
FOS
 
FOS
FOSFOS
FOS
 
2726344 M1 L1
2726344 M1 L12726344 M1 L1
2726344 M1 L1
 
What is E-learning
What is E-learningWhat is E-learning
What is E-learning
 

Breast cancer

  • 1. มะเร็งเตานม คําจํากัดความของมะเร็งเตานม มะเร็งเตานม คือ เซลลของเนื้อเยื่อเตานมที่มีการเปลี่ยนแปลงภายในจนทําใหมีการเจริญเติบโต ไดอยางรวดเร็วมากขึ้นจนรางกายไมสามารถควบคุมไดและสามารถแพรกระจายไปยังเนื้อเยื่อใกลเคียง ตลอดจนเนื้อเยื่อทั่วรางกาย และแพรกระจายไปยังอวัยวะสวนตาง ๆ ของรางกายโดยทางเดินน้ําเหลือง และทางกระแสเลือด รวมถึงการแพรกระจายลุกลามเฉพาะที่ดวย เชน การแพรกระจายสูกระดูก ตับ ปอด และสมอง เปนตน กายวิภาคของเตานม เตานมตั้งอยูหนากลามเนื้อ Pectoralis major Muscle เตานมเปนGlandular Structure อยูในชั้น Subcutaneous Tissue ของรางกายอยูระหวาง Superficial Fascia กับ Deep Fascia ยกเวน Axillary Tail ที่ยื่นตอ Deep Fascia เตานม มีอาณาเขตตั้งแตซี่โครงที่ 2 ถึง 6 และจากขอบ Sternum และขอบรักแร รูปที่ 1 แสดงลักษณะทางกายภาพของเตานมปกติ ลักษณะภายนอกของเตานม เตานมปกติมีลักษณะเปนรูปกรวยคว่ํา มีอยู 2 ขาง มีหนาที่สรางน้ํานมเพื่อบํารุงเลี้ยงเด็ก และ มีหัวนมอยูที่ยอด (Nipple) บริเวณ Nipple นี้มีรูของ Milk Duct และผิวหนังที่อยูรอบ ๆ หัวนมจะมีสี คล้ํากวาผิวหนังทั่วไปของเตานม ผิวหนังบริเวณนี้เรียกวา ปานนม หรือ Areola เปนตอม Compound Gland ซึ่งแบงเปนสวน ๆ มีประมาณ 20 lobe แบงโดย Connective Tissue และ lobe หนึ่ง ๆ จะมี Excretory Duct ของมันเองซึ่งมีปลายของหลอดที่จะมาเปดที่หัวนม พื้นที่ขยายพองโตเพื่อขังน้ํานมไว ในเวลาที่ตอมน้ํานมทําหนาที่สรางน้ํานมออกมา และ Duct เหลานี้ตางก็ไปที่ผิวของหัวนมโดยตรง lobe ตาง ๆ เหลานี้ยังแบงออกเปน lobe เล็ก ๆ หรือที่เรียกวา Lobular รูปที่ 2 แสดงลักษณะภายนอกของเตานม
  • 2. ลักษณะภายในของเตานม ภายในเตานมประกอบดวย ไขมัน เนื้อเยื่อตอมน้ํานม Glandular Tissue ซึ่งมีโครงสรางเชน เดียวกับ Exocrine Gland ทั่ว ๆ ไป ประกอบดวย Acini Areola และทอน้ํานมหรือ Ductal System ภายใน Glandular Tissue มี Fibrous Septum แบงตอมออกเปน lobe ประมาณ 15-20 lobes ภายใน lobe ประกอบดวย lobules และมีถุง bulbs ติดอยูกับทอน้ํานมซึ่งจะเปดยังหัวนม ซึ่ง Fibrous septum จะ แผ รั ศ มี อ อกจากศู น ย ก ลางคื อ หั ว นม (Nipple) และต อ มน้ํ า นมฝ ง อยู ใ นชั้ น ไขมั น ใต ผิ ว หนั ง (Subcutaneous fat) โดยมีไขมันแทรกอยูในระหวางเนื้อตอมน้ํานมดวย ถามีไขมันแทรกอยูมากใน ระหวาง lobe และ lobular เราจะไมสามารถมองเห็นหรือสัมผัสออนนุม (soft) หรือคอนขางแนนตึง ไม แข็ง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับไขมันที่แทรกอยูระหวาง Glandular Tissue นอกจากนี้ภายในเตานมยังมีหลอด เลือด และทอน้ําเหลือง( lymph) ซึ่งจะไปรวมกันยังตอมน้ําเหลืองที่รักแร ( axillary lymph node) รูปที่ 3 แสดงลักษณะภายในของเตานม รูปที่ 4 แสดงลักษณะและความแตกตางของความผิดปกติของเตานมชนิดตาง ๆ
  • 3. ผิวหนังจะเหมือนเปลือกสม ผิวหนังจะมีรอยบุมของเตานมซาย รูปที่ 5 แสดงลักษณะที่ผิดปกติของเตานมที่ควรรีบพบแพทย อาการและอาการแสดงของมะเร็งเตานม ผูปวยที่เปนมะเร็งเตานม มักจะไมมอาการ โดยมากมักจะรูไดโดยมีอาการแสดงของความ ี ผิดปกติที่เกิดขึ้นที่เตานมทีอาจเปนอาการของโรคมะเร็งเตานมดังนี้ ่ 1. คลําไดกอนหรือเนื้อที่เปนไตแข็งผิดปกติที่เตานมหรือรักแร 2. มีการเปลี่ยนแปลงขนาด รูปรางและลักษณะของเตานมทีผิดปกติไป ่ 3. มีน้ําเหลืองหรือเลือดไหลออกจากหัวนม 4. หัวนมถูกดึงรังจนผิดปกติ ้ 5. สีและผิวหนังบริเวณเตานมเปลี่ยน มีรอยบุมคลายผิวเปลือกสม หรือบวม แดง รอนผิดปกติ  6. เตานมทั้งสองขางไมอยูในระดับเดียวกัน
  • 4. สาเหตุและปจจัยสงเสริมการเกิดโรคมะเร็งเตานม สาเหตุของมะเร็งเตานม ปจจุบันยังไมเปนที่ทราบแนชัดถึงสาเหตุที่แทจริงของการเกิด แตเชื่อ วามีสาเหตุสงเสริมหลายอยางรวมกัน การปฎิบัติตัวที่ดจะลดการเกิดมะเร็งเตานม ี • เปลี่ยนแปลงอาหาร เชนลดพวกเนื้อสัตวลง ลดอาหารไขมัน • เลือกรับประทานอาหารผักหรือผลไม • ควบคุมน้ําหนักมิใหอวน • ออกกําลังกายสัปดาหละ 5 วันวันละ 30 นาที • งดบุหรี่ และแอลกอฮอล   ปจจัยเสี่ยงที่ทําใหเกิดโรค ขอมูลทางการแพทยเพียงสนับสนุนใหเราทราบวาอะไรเปนปจจัยเสียงที่ทาให สตรีมีโอกาส ่ ํ เพิ่มขึ้นที่จะเปนโรคมะเร็งเตานมเทานั้น ไดแก 1. อายุ หลังเขาสูวัยหมดประจําเดือนหรือวัยทอง (Menopause) ยิ่งอายุเพิ่มขึ้นโอกาสเปนโรคก็ สูงขึ้นตามไปดวย สวนมากจะเปนกันชวงอายุ 60 ปขึ้นไป แตระยะหลังดูเหมือนอายุเฉลี่ยที่พบโรคนี้จะ ลดลงต่ําเรื่อยๆ 2. ประวัติเคยเปนโรคมะเร็งเตานมขางหนึง มีโอกาสสูงขึ้นที่จะตรวจพบโรคมะเร็งไดที่เตานม ่ อีกขางหนึ่งในเวลาตอมา 3. ประวัติโรคมะเร็งเตานมในญาติสายตรง (มารดา, พี่สาวนองสาวหรือลูกสาว) 4. เคยตรวจพบการเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยือเตานม บางชนิดมากอน จากการตัดชิ้นเนื้อไป ่ ตรวจในอดีต แมครั้งนั้นจะยังไมใชโรคมะเร็งก็ตาม เชน เนื้อเยื่อชนิด Atypical hyperplasia, ชนิด Lobular carcinoma in situ เปนตน 5. ความผิดปกติทางพันธุกรรมบางตัว การเปลี่ยนแปลงของยีนจําเพาะบางชนิด เชน BRCA 1, BRCA 2 6. ประวัติทางนรีเวชที่บงชีแนวโนม เชน การมีบุตรคนแรกเมื่ออายุมากหรือไมเคยมีบุตรเลย, ้ เริ่มมีประจําเดือนครั้งแรกอายุนอยๆ (เชน นอยกวา 12 ป), หมดประจําเดือนชาหลังอายุ 55 ป, และการ ใชฮอรโมนทดแทนในสตรีวัยทองโดยเฉพาะฮอรโมนชนิดรวม (Estrogen and progestin) สวนประวัติ การแทงบุตรไมพบวามีความสัมพันธกับการเกิดโรคนี้ 7. เชื้อชาติ สตรีกลุมชนผิวขาวมีโอกาสพบโรคมะเร็งเตานมไดบอยกวาสตรีเชื้อชาติอื่น 8. ประวัติการไดรบรังสีรักษาบริเวณหนาอก เมื่ออายุนอย เชน ใชเพื่อการรักษาโรคมะเร็งตอม ั น้ําเหลืองบางชนิด
  • 5. 9. ประวัติการไดรับยาฮอรโมนกันแทง Diethylstilbestrol (DES) ซึ่งเคยเปนทีนิยมใชในสตรี ่ ตั้งครรภยุคกอน ค.ศ. 1970 10. การตรวจพบเนื้อเตานมที่มความหนาแนน หรือมีการสะสมไขมันเยอะจากการตรวจแมม ี โมแกรม (Mammogram) อาจพบโรคมะเร็งเตานมไดบอยขึ้น 11. ภาวะโรคอวน ลงพุง น้ําหนักเกิน ในสตรีวัยหมดประจําเดือน 12. การขาดการออกกําลังกาย หรือการใชชีวิตที่ออกแนวเฉื่อยชา ทําใหมีโอกาสเปนโรคอวน และน้ําหนักเกินไดงาย 13. การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล ยิ่งดื่มมากพบวามีโอกาสสูงขึ้นที่จะเปนมะเร็งเตานม การหลีกเลี่ยงจากปจจัยเสี่ยงที่พอจะเลี่ยงไดจะชวยลดความเสี่ยงตอการเกิดโรคมะเร็งเตานม อยางไรก็ดี สตรีสวนใหญแมมีปจจัยเสียงก็ไมไดหมายความวาจะเปนโรคมะเร็ง ในขณะที่มีสตรีทเี่ ปน ่ มะเร็งเตานมหลายรายไมพบมีปจจัยเสียงเหลานี้เลย แมแตขอเดียว ่   การวินจฉัยโรค ิ เมื่อสตรีมาพบแพทยดวยอาการหรือการตรวจคัดกรองผิดปกติ จะไดรับการวินจฉัยตาม ิ ขั้นตอนดังนี้ 1. การซักประวัติเพิ่มเติม ถามถึงปจจัยเสี่ยงตางๆ, ทําการตรวจรางกาย, อาจสงตรวจแมมโมแกรมหรือ ตรวจทางรังสีวิทยา (เอกซเรย) ที่จําเปนเพิมกอนพิจารณาวานาสงสัยและจําเปนตองตรวจวินจฉัยตอไป ่ ิ หรือจะ นัดตรวจติดตามอยางไร 2. การเก็บตัวอยางเนื้อเยื่อเพือพิสูจนทางพยาธิวิทยา (Biopsy) ่ • วิธีเจาะดูดของเหลวจากถุงน้ํา (Cyst) หรือกอนที่สงสัยดวยเข็มขนาดเล็ก (Fine-needle aspiration - FNA) โดยแพทยจะใชเข็มเล็กๆ ดูดเอาของเหลวหรือเซลลออกจากกอนที่เตานม วิธีนี้ไม คอยเจ็บ ในกรณีที่คลําไดกอนชัดเจน การเจาะดูดชิ้นเนือเพื่อนํามาตรวจจะไดผลทั้งในแงวินจฉัย โดย  ้ ิ นํามาตรวจดวยวิธีเซลลวิทยา (cytology) และอาจเปนวิธีรักษา (therapeutic purpose) ในกรณีที่เปนรอย โรคของถุงน้ําที่ไมใชมะเร็ง ซึ่งในกรณีหลังนี้ไมจาเปนตองตรวจหรือรักษาเพิ่มเติม ถาผลการตรวจ ํ เซลลวิทยายืนยันวาไมเปนมะเร็ง • การตัดชิ้นเนือสงตรวจดวยเข็มขนาดโต (Core needle biopsy) เนื้อเยื่อในบริเวณที่สงสัยจาก ้ การตรวจดวย mammogram จะถูกตัดออกมา โดยการใชเข็มขนาดใหญกวา การตรวจดวยวิธี FNA เนื้อเยื่อที่ไดจะถูกสงไปที่หองปฏิบัติการเพื่อทําการตรวจโดยพยาธิแพทย วาเปนมะเร็ง หรือไม วิธีน้เี จ็บมากขึ้นเล็กนอย แตผลการตรวจมีความแมนยํากวาการตรวจแบบแรก • การตัดชิ้นเนือสงตรวจดวยการผาตัด (Surgical biopsy) การผามีอยู 2 อยาง คือ การผา ้ บางสวนของกอนเนื้องอกไปตรวจ (incisional biopsy) หรือการผาเอากอนทั้งหมดไปตรวจ (excisional biopsy) ซึ่งพยาธิแพทยจะตรวจเนื้อเยื่อจากกอนที่ตัดได โดยการนําไปสองดูดวยกลองจุลทรรศน
  • 6. 3. การตรวจเพิ่มเติมพิเศษ เชน MRI (Magnetic Resonance Imaging), การสงเนื้อเยือตรวจหาตัวรับ ่ ฮอรโมน (Hormone receptor) ซึ่งจะชวยบอกวาสตรีรายนันควรไดรับยา กลุมฮอรโมนหลังการรักษา ้ มาตรฐานหรือไม, การตรวจหาโปรตีนหรือยีนส HER2 ในเนื้อเยื่อเตานมเพื่อบอกการพยากรณโรค ระยะของโรค เมื่อไดรับการตรวจ และ/หรือ รวมกับการผาตัดแลว แพทยจะระบุระยะของโรคจากขนาดของกอน เนื้อ การกระจายของโรคไปที่อวัยวะอืนและตอมน้ําเหลืองบริเวณใกลเคียงโดยเฉพาะ บริเวณรักแร การ ่ ทราบระยะของโรคมีความสําคัญในการวางแผนการรักษาและการพยากรณโรค ลักษณะการกระจายและสถานที่ตั้ง อาจแบงมะเร็งเตานมออกเปน 2 ลักษณะคือ 1. มะเร็งเริ่มเปน (EARLY) ระยะนี้พบบอยที่สุด โดยเซลลมะเร็งจะเริมตนที่เยื่อบุทอน้ํานม ทอน้ํานมนี้เชื่อมตอระหวาง ่  ตอมน้ํานมกับหัวนม มะเร็งประเภทที่พบบอยรองลงมา คือ ชนิดที่เกิดกับเนื้อตอมสรางน้ํานม ซึ่ง ประกอบดวยเซลลผลิตน้ํานม ที่มาเรียงตอเปนกลีบเล็กกลีบนอย มะเร็งที่ตรวจพบไดตั้งแตยังเริ่มเปนอยู ภายในทอน้ํานม จะมีโอกาสหายขาดไดมากกวา 95% ที่ไม 100% เพราะวา แมจะผาตัดกอนมะเร็ง ออกไปแลว ยังอาจมีโอกาสที่เซลลมะเร็งไดลุกลามไปที่อื่นแลว จุดออนขณะนี้คือ ยังไมสามารถ พยากรณ ไดวา มะเร็งรายใดจะลุกลามและรายใดจะคงเปนเฉพาะในเตานม อยางไรก็ตาม แมจะวินจฉัย  ิ มะเร็งไดเนิ่นๆ แตมะเร็งยังอาจเกิดไดในอนาคต 2. มะเร็งชนิดรุกราน (INVASIVE) มะเร็งชนิดนี้จะลุกลามไปนอกกลีบ หรือเนื้อตอมน้ํานมสูเนื้อเตานมทัวไป การคลํากอนแข็งที่ ่ เตานมได มักจะเปนอาการแสดงของมะเร็งชนิดรุกราน มะเร็งเตานมสวนใหญจะปรากฏอยูหลายป กวา จะคลํากอนได มะเร็ง มะเร็งรุกรานบางราย จะคงอยูในเตานมในขณะที่บางราย ลุกลามไปที่ตอม น้ําเหลือง 3. มะเร็งชนิดลุกลาม (METASTATIC) คํานี้ใชอธิบายมะเร็งที่ไดลุกลามไปยังสวนอื่นๆ ของรางกาย รวมทั้งตอมน้ําเหลือง กระดูก ปอด ตับ และสมอง การรักษามะเร็งเตานม แผนการรักษามักขึ้นอยูกับระยะของโรค ขนาดของกอน รวมถึงขอพิจารณาอื่นๆ เชน อายุ  ผูปวย สถานภาพของประจําเดือน สุขภาพทั่วไป เปนตน ในปจจุบนมีวธีการรักษาหลากหลายวิธี ไมวาจะเปนการผาตัด, รังสีรักษา, เคมีบําบัด, ฮอรโมน ั ิ บําบัดและสารประกอบชีวภาพ (Biological therapy) แพทยผูดูแลมักแนะนําใหใชการรักษาแบบ ผสมผสานเพื่อผลการรักษาและการพยากรณ โรคที่ดีที่สุดโดยคํานึงถึงคุณภาพชีวตของผูปวยเปนสําคัญ ิ
  • 7. หลักการใหการรักษาโรคมะเร็งเตานมแบงเปน การรักษาเฉพาะที่ (Local therapy) ไดแก การผาตัดและรังสีรักษา โดยใชการตัดเนื้อราย ออกหรือทําลายเซลลมะเร็งเฉพาะบริเวณรอยโรคที่ตรวจพบ เชน ที่เตานม หรือใชเมือมีการกระจายของ ่ โรคไปปรากฏขึ้นเฉพาะที่อวัยวะใดอวัยวะหนึ่ง การรักษาแบบทั้งรางกาย (Systemic therapy) ไดแก ยาเคมีบําบัด, ฮอรโมนบําบัด และ สารประกอบชีวภาพ เมื่อกินหรือฉีดสารเหลานี้จะซึมผานเขาในกระแสเลือดไปยังทุกสวนของรางกาย ชวยทําลายและยับยั้งการเจริญของเซลลมะเร็ง การรักษาแบบทั้งรางกายนี้มักใชผสมผสานเสริมกับการ รักษาเฉพาะที่เพื่อ ปองกันการกลับเปนซ้ําของโรคและในกรณีที่มการกระจายของโรคออกจากบริเวณ ี เตานม แนวทางการปองกันมะเร็งเตานม โรคมะเร็งเปนโรคที่พบไดบอยโดยเฉพาะในปจจุบันซึ่งมีมลภาวะจากการพัฒนาประเทศ และ ประชาชนขาดความเอาใจใสตอสุขภาพตนเอง ขาดการออกกําลังกาย รับประทานอาหารไมเลือก เหลานี้ลวนเปนสาเหตุใหมีโอกาสเปนมะเร็งเพิ่มขึ้น โรคมะเร็งเปนโรคที่ปองกันได และสามารถรักษา ใหหายขาดไดหากสามารถวินิจฉัยไดตั้งแตเริ่มเปน มะเร็งเกือบทุกชนิดหากคนพบในระยะเริ่มแรกจะใหการรักษาไดผลดี ดังนั้นการคนพบตั้งแต เริ่มเปนจึงมีความสําคัญเปนอยางยิ่ง มะเร็งเตานมเปนมะเร็งที่พบไดบอย เปนเรื่องที่ไมไกลตัวสําหรับ ผูหญิงทั้งหลาย และโรคนี้สามารถพบไดในผูชาย ดังนั้นไมวาจะเปนหญิงหรือชายควรจะตรวจเตานม ตัวเอง การตรวจเตานมดวยตัวเอง ควรจะตรวจอยางนอยเดือนละครั้ง ระยะเวลาที่เหมาะสมในการ ตรวจคือหลังจากประจําเดือนหมด สวนการตรวจเตานมโดยแพทย ควรตรวจตั้งแตอายุ 20 ปขึ้นไปโดย ตรวจทุก 3 ป สวนผูที่อายุมากกวา 40 ปขึ้นไปควรตรวจเปนประจําทุก 1 ป และเมื่อมีอาการและ อาการแสดงหรือตรวจพบสิงผิดปกติดังตอไปนี้ควรที่จะตองรีบปรึกษาแพทย คือ ่ • พบกอนหรือเนื้อที่เปนไตแข็งผิดปกติที่เตานมถึงบริเวณรักแร • มีนําเหลืองและเลือดไหลจากหัวนม ้ • ผิวหนังบริเวณเตานมมีรอยบุม  • หัวนมถูกดึงรังจนผิดปกติ ้ • เตานมทั้งสองขางไมอยูในระดับเดียวกัน • ขนาด และรูปรางเตานมทั้งสองขางตางกันอยางผิดปกติ การตรวจคัดกรองมะเร็งเตานม การตรวจคัดกรองเปนการชวยคนหาโรคตั้งแตระยะเริ่มตน ซึ่งชวยเพิ่มโอกาสการรักษาโรคให หายขาด การตรวจคัดกรองมะเร็งเตานม ไดแก
  • 8. 1. การตรวจเตานมดวยตัวเอง (Breast self-examination) เมื่อเริ่มอายุ 20 ปขึ้นไป ควรทําการ ตรวจ เตานมดวยตนเองทุกเดือนอยางนอยเดือนละครั้ง อยางถูกวิธี ชวงเวลาที่เหมาะสมสําหรับการ ตรวจคือ 5 ถึง 7 วัน นับจากประจําเดือนหมด สวนสตรีที่หมดประจําเดือนใหกําหนดวันทีจดจํางายและ ่ ตรวจในวันเดียวกันของทุก เดือน การตรวจเตานมดวยตนเองตองตรวจตามวิธีที่ถูกตองและสม่ําเสมอ จะสามารถตรวจพบ กอนไดตั้งแตยังมีขนาดไมโตมากนักซึ่งการรักษาจะไดผลดี วิธการตรวจเตานม ี ดวยตนเอง ซึ่งจะกลาวถึงรายละเอียดวิธการตรวจเตานมดวยตนเองตอไป ี 2. การตรวจเตานมโดยแพทยหรือเจาหนาที่ทางการแพทยที่มีความชํานาญ ควรตรวจตั้งแตอายุ 20ขึ้นไปโดยตรวจทุก 3 ป สวนผูที่อายุมากกวา 40 ปตวรจะตรวจดวยแพทยทุกป 3. การตรวจดวย Mamogram สามารถตรวจพบกอนกอน 2 ป การตรวจ Mamogram เปนการ ตรวจที่ดีทจะคนพบมะเร็งในระยะเริ่มตนแนะนําใหเริ่มตรวจตั้งแตอายุ 40 ปขึ้นไป โดยเฉพาะกลุมที่ ี่  เสี่ยงตอการเกิดมะเร็งเตานม สําหรับผูที่มีความเสี่ยงตอการเกิดมะเร็งต่ําแนะนําใหตรวจ Mamogram หลังอายุ 50 ป วิธีการตรวจเตานมดวยตนเอง 1. ตรวจขณะยืนหนากระจก 1.1 ยืนสองกระจก ปลอยแขนแนบขางลําตัวตามสบาย เปรียบเทียบเตานมทั้งสองขาง สังเกตดู การเปลี่ยนแปลงลักษณะของรูปราง, ขนาดหรือสีของหัวนม สังเกตดูระดับของหัวนมแตละขางวา เทากันหรือไม มีปนหรือผื่นบนหัวนมหรือไม มีผิวหนังบุมลงหรือไม มีการบิดเบี้ยว การดึงรั้งของเตา นมหรือหัวนม ความสูง-ต่ําของหัวนม หรือมีสิ่งผิดปกติอ่น ๆ หรือไม ื 1.2 ยืนประสานมือทั้งสองขางเหนือศีรษะ หันดานขางสองกระจกดูทีละขาง แลวกลับมาอยูใน ทาทาวสะเอว พรอมทั้งตรวจดูสิ่งที่ผิดปกติ เหมือนในขอ 1.1
  • 9. 1.3 หันหนาตรงเขากระจกอีกครั้ง เอามือจับสะโพกทั้งสองขาง  และกดสะโพกไวแรงๆ จน ทานรูสกวากลามเนื้อที่หนาอกของทานแข็งเกร็งขึ้นมา สังเกตความผิดปกติอีกครั้ง ึ 1.4 ยืนโนมตัวโคงไปขางหนา โดยใชมอทั้งสองขางวางบนเขาใหหนาอกสองขางหอยดิ่งลง  ื จะทําใหมองเห็นความผิดปกติไดชดเจนมากขึ้น สังเกตดูวามีรอยบุม หรือโปงพองของผิวหนังที่เตานม ั หรือไม สังเกตดูรูปรางของเตานม และสังเกตวามีรอยบุมที่หัวนมทั้งสองขางหรือไม  รูปที่ 7 แสดงการตรวจเตานมขณะยืน 2. ตรวจขณะนอนราบ 2.1 นอนราบในทาที่สบายแลวสอดหมอน หรือมวนผาใตไหลขางใดขางหนึ่ง ยกแขนดาน เดียวกับเตานมที่จะตรวจเหนือศีรษะเพื่อใหเตานมดานนันลอยขึ้น ซึ่งจะทําใหคลําพบกอน หรือพบสิ่ง ้ ผิดปกติไดงายขึ้น โดยเฉพาะสวนบนดานนอกของเตานม ซึ่งมีเนื้อนมหนามากที่สุด และเกิดมะเร็งบอย กวาสวนอื่น มองสํารวจเตานมใหทวสังเกตดูลักษณะผิดปกติ ั่
  • 10. 2.2 เริ่มตรวจขางที่ถนัดกอน โดยใชปลายนิวมือสามนิ้ว คือ นิวชี้ นิ้วกลาง และนิ้วนาง คลํา ้ ้ ทั่วทั้งเตานม น้ําหนักกดทีปลายนิ้วแรงและลึกพอสมควร ขึ้นอยูกับขนาดเตานม ที่สําคัญคือ หามบีบ ่  เนื้อเตานม เพราะอาจทําใหรูสึกวามีกอน ซึ่งจริงๆ แลวไมใช 2.3 คลําที่ใตรักแร ถามีตอมน้ําเหลืองโตจะคลําไดเปนกอนที่ใตรักแร และตรวจคลําเตานมอีก ขางในลักษณะเดียวกัน รูปที่ 8 แสดงการตรวจเตานมขณะนอนราบ 3. ตรวจขณะอาบน้ํา วิธีนี้เหมาะสําหรับผูหญิงที่มีเตานมขนาดเล็ก 3.1 ใหวางมือขางเดียวกับเตานมขางที่ตองการตรวจบนเหนือศีรษะ แลวใชมืออีกขางคลําใน ทิศทางเดียวกับที่คลําในทายืนตรวจ 3.2 สําหรับผูหญิงที่มีเตานมขนาดใหญ ใหใชมือขางนั้นประคองและตรวจคลําเตานมจาก ดานลาง สวนมืออีกขางใหคลําจากดานบน รูปที่ 9 แสดงการตรวจเตานมขณะอาบน้ํา
  • 11. ## อยาลืม ใชปลายนิ้วหัวแมมือ และนิ้วชี้บีบตั้งแตขอบลานหัวนม (Areola) เขาหากันที่หวนม ดูวามี ั  สิ่งผิดปกติไหลออกจากหัวนมหรือไม ถามี ลักษณะของเหลวที่ออกมาเปนอยางไร ลักษณะวิธีการคลํา มีหลายแบบดังนี้ การคลําแบบกนหอย คลําโดยเริ่มจากการคลําเปนวงกลมกวาง ๆ ดานนอกขอบเตานมกอน แลววนใหวงกลมนี้แคบ เขาสูหัวนม โดยในการคลําใหใชปลายนิวมือออกแรงทังคลําและกดลงที่เตานมวนอยูกับที่เปนวงกลม ้ ้ เล็ก ๆ แลวคอยขยับยายทีใหทั่ว ๆ วนเปนวงรอบใหญจนกระทั่งถึงหัวนม น้ําหนักกดแรงหรือเบามาก ่ นอยขึ้นอยูกับขนาดของเตานม  รูปที่ 10 แสดงลักษณะการคลําเตานมแบบกนหอย การคลําแบบดาวกระจาย จินตนาการแบงเตานมออกเปนชวง ๆ ตามเข็มนาฬิกา เริ่มตน คลําจาก 12 นาฬิกา โดยเริ่มกด จากหัวนมเปนเสนตรงผานลานหัวนมออกไปสูฐานของเตานม แลวขยับไปที่ 1, 2, 3 นาฬิกา คลํายาย ไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งครบทัวพื้นที่เตานม ่ รูปที่ 11 แสดงลักษณะการคลําเตานมแบบดาวกระจาย
  • 12. การคลําแบบขึนและลง ้ จินตนาการวา เตานมเปนลูกคลื่นในทะเล ใชปลายนิ้วมือคลําโดยกดวนเปนวงกลมเล็ก ๆ ย้ํา อยูกับที่ และใหคลําเตานมยายที่ในทิศทางขึ้น และลงตามยอดคลื่น รูปที่ 12 แสดงลักษณะการคลําเตานมแบบขึ้นและลง             รายการอางอิง  ชาญวิทย ตันติ์พิพัฒน และธนิต วัชรพุกก. (2541). ตําราศัลยศาสตร. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ชวนพิศ นรเดชานนท. (2547). เคมีบําบัด: หลักการพยาบาล. กรุงเทพฯ: คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล. พวงทิพย ชัยพิบาลสฤษดิ์ และคณะ. (2546). โครงการวิจัยเรื่องมาตรฐานการพยาบาลผูปวยโรคมะเร็ง เตานม. คณะพยาบาลศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย: กรุงเทพฯ. สุจินดา ริมศรีทอง และคณะ. (2552). พยาธิสรีรวิทยาทางการพยาบาล. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ภาควิชาพยาบาลศาสตร คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. สุรพงษ สุภาภรณ และคณะ. (2547). มะเร็งเตานม. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพยาบาลพระมงกุฎ เกลา สมาคมศัลยแพทยนานาชาติแหงประเทศไทย.