SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12
Télécharger pour lire hors ligne
 
 
บทที่ 1
บทนํา
ที่มาและความสําคัญของการศึกษา
ปจจุบันสื่อหนังสือพิมพทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยกําลังเผชิญกับความทาทายครั้งใหญ
ในการบริหารองคกรทามกลางการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของยุคดิจิทัล ทุกวันนี้เทคโนโลยี
เขามีบทบาทในการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจ มีบทบาทตอการดําเนินธุรกิจ และบทบาทตอการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการรับขาวสารของประชาชน
ธุรกิจหนังสือพิมพถูกกดดันจากหลายปจจัย ทําใหตองปรับตัวและเปลี่ยนแปลงวิธีการ
ทําธุรกิจเพื่อความอยูรอด ทั้งนี้ ปจจัยที่สงผลกระทบตอธุรกิจหนังสือพิมพ ไดแก ปจจัยดาน
เทคโนโลยีและนวัตกรรม ปจจัยดานเศรษฐกิจ ปจจัยดานโฆษณา และปจจัยดานตนทุนของ
ธุรกิจหนังสือพิมพ เชนเดียวกับเครือเนชั่นซึ่งเปนองคกรสื่อที่มีธุรกิจหนังสือพิมพเปนธุรกิจที่
สรางรายไดหลักใหกับองคกรกําลังเผชิญการกดดันจากปจจัยตางๆ สงผลใหเครือเนชั่นตองมี
ปรับตัวและเปลี่ยนแปลงวิธีการทําธุรกิจเพื่อความอยูรอ
1.ปจจัยดานเทคโนโลยีและนวัตกรรม
ปจจัยดานเทคโนโลยีและนวัตกรรมสงผลกระทบตอธุรกิจหนังสือพิมพทั้งเชิงบวกและ
เชิงลบ ผลกระทบเชิงบวก คือ เทคโนโลยีและนวัตกรรมสรางโอกาสทางธุรกิจและสรางรูปแบบ
ธุรกิจใหมใหกับธุรกิจหนังสือพิมพ ในขณะเดียวกันเทคโนโลยีและนวัตกรรมก็สงผลกระทบเชิง
ลบ คือ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการอานหนังสือพิมพ
ประชาชนบริโภคขาวสารจากหนังสือพิมพนอยลงแตหันไปบริโภคขาวสารจากสื่ออื่นๆ แทน
โดยเทคโนโลยีอินเทอรเน็ต ออนไลน และแอพพลิเคชั่นทําใหเกิดเนื้อหาและบริการมากขึ้นและ
หลากหลายขึ้น
2 
 
และทําใหประชาชนเกิดพฤติกรรมเลือกเปดรับสื่อตามความตองการและความสนใจของ
ตนเอง (สุรัตนวสดี คงปน, 2555)
พฤติกรรมการเปดรับขาวสารจากหลากหลายชองทางของประชาชนนั้นสอดคลองกับ
รายงานการวิจัยของบริษัท เอซีนีลสัน จํากัด ที่ระบุวาจํานวนผูอานหนังสือพิมพในประเทศไทย
ในป พ.ศ. 2555 มีประมาณ 9.5 ลานคน ลดลงจาก 16.1 ลานคนในป พ.ศ. 2551 ซึ่งจํานวน
ผูอานหนังสือพิมพใประเทศไทยลดลงถึง 6.6 ลานคนในชวงเวลาเพียง 4 ป (ราชดําเนิน, 2555)
ในขณะที่ขอมูลการสํารวจจากสํานักงานสถิติแหงชาติ ระบุวา ในป พ.ศ. 2551 ประชากรอายุ
ตั้งแต 6 ปขึ้นไปมีจํานวน 60,308,193 คน ในจํานวนนี้มีประชากรจํานวน 31,919,617 คนบอก
วาไมอานหนังสือพิมพ โดยเหตุผลหลักที่ไมอานหนังสือพิมพ คือ ประชากรจํานวนนี้สนใจรับ
ขาวสารจากสื่อประเภทอื่นๆ มากกวาการรับขาวสารจากการอานหนังสือพิมพกระดาษ (เพิ่ง
อาง) ซึ่งผลการสํารวจของสํานักงานสถิติแหงชาตินี้ สอดคลองกับผลการวิจัยเรื่อง “พฤติกรรม
การบริโภคขาวของคนตางวัยในสังคมไทย” ของบุปผา เมฆศรีทองคํา และคณะ (2556) ที่ระบุ
วาประชาชนนิยมบริโภคขาวสารผานสื่อโทรทัศนมากที่สุด ในขณะที่ประชาชนในวัยเรียนนิยม
ติดตามขาวสารในเฉพาะเรื่องที่ตนสนใจผานทาง Facebook
ในขณะเดียวกัน รายงาน “ธุรกิจจะเดินอยางไรในยุคสื่อสังคมออนไลน” จัดทําโดย
Economic Intelligence Center ธนาคารไทยพาณิชย (2011) ระบุวา ชองทางการรับขาวสารที่
คนไทยเขาถึงอินเทอรเน็ตนิยมใชเพื่อติดตามขาวสารมากที่สุด คือ โทรทัศน รองลงมา คือ
อินเทอรเน็ต หนังสือพิมพ และวิทยุ ตามลําดับ
พฤติกรรมการบริโภคขาวสารผานสื่อที่หลากหลายของคนไทยนั้นสอดคลองกับ
พฤติกรรมการบริโภคขาวของผูบริโภคทั่วโลก Frank N. (2012) ระบุในรายงาน 2012
Newspaper Multiplatform Usage Study วา ผูบริโภคชาวอเมริกันมีพฤติกรรมการบริโภคขาว
หนังสือพิมพผสมผสานหลายชองทางไมเฉพาะจากการอานหนังสือพิมพฉบับกระดาษเทานั้น
แตนิยมอานหนังสือพิมพในรูปแบบดิจิทัลดวย โดยอานขาวจากเว็บไซตผานคอมพิวเตอรตั้งโตะ
คอมพิวเตอรพกพา อานขาวจากแอพพลิเคชั่น (Application) ขาวจากสมารทโฟน
(Smartphone) และแท็บเล็ต (Tablet) โดยในรายงานฉบับนี้ยังระบุวา ผูบริโภคชาวอเมริกัน
จํานวนมากชอบหนังสือพิมพที่สามารถนําเสนอขาวใหสามารถเขาถึงไดหลากหลายรูปแบบ ณ
ชวงเวลาใดเวลาหนึ่งที่พวกเขาสะดวก
3 
 
งานวิจัยของ Pew Research Center (2010) ระบุวา ผูบริโภคชาวอเมริกันใชเวลาใน
การบริโภคขาวสารเพิ่มมากขึ้น ในป พ.ศ. 2543 ผูบริโภคชาวอเมริกันใชเวลาโดยเฉลี่ย 57 นาที
ตอวันในการบริโภคขาวสาร ในขณะที่ในป พ.ศ. 2553 ผูบริโภคชาวอเมริกันใชเวลาโดยเฉลี่ย
70 นาทีตอวันในการบริโภคขาวสาร โดยเวลาที่เพิ่มขึ้นนั้นเปนการบริโภคขาวสารผานทาง
ออนไลน ในขณะที่รายงานอีกชิ้นของ Pew Research Center (2012) ที่ชื่อ In Changing
News Landscape, Even Television is Vulnerable, Trends in News Consumption: 1991 –
2012 พบวา ผูบริโภคชาวอเมริกันเปดรับขอมูลขาวสารผานชองทางออนไลน ชองทางดิจิทัล
และชองทางสื่อสังคมออนไลนเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่รายงานวิจัยฉบับนี้ยังพบวา ผูบริโภคชาว
อเมริกันเปดรับขอมูลขาวสารผานชองทางสื่อแบบดั้งเดิม ไดแก หนังสือพิมพ วิทยุ และโทรทัศน
ลดลง ซึ่งสอดคลองกับบทความ Predictions for Digital Journalism in 2013 ที่สัมภาษณ
บรรณาธิการหนังสือพิมพยักษใหญในสหรัฐอเมริกาถึงแนวโนมและทิศทางของธุรกิจ
หนังสือพิมพพบวา New York Times, WSJ.com, FT.com และ The Daily Post ตาง
คาดการณอนาคตของอุตสาหกรรมขาวไปในทิศทางเดียวกันวาจะมุงสูการนําเสนอขาวบน
อุปกรณเคลื่อนที่ จะคิดคาบริการขาวในรูปแบบออนไลน และจะมีการนําเสนอขาวผานเครือขาย
สังคมออนไลน (Marshall, 2012)
ในประเทศไทย เครือเนชั่นเปนเครือธุรกิจสื่อสิ่งพิมพที่อยูในตลาดหลักทรัพยแหง
ประเทศไทย และเปนองคกรธุรกิจสื่อที่สื่อหลากหลายรูปแบบ ไดแก สื่อหนังสือพิมพ สื่อวิทยุ
สื่อโทรทัศน สื่อออนไลน และสื่อดิจิทัล ไดมีความพยายามในการลดความเสี่ยงจากการพึ่งพิง
แหลงรายไดหลักจากธุรกิจหนังสือพิมพ ดวยการพยายามเพิ่มสัดสวนรายไดจากสื่อประเภท
อื่นๆ ทําใหเครือเนชั่นตองมีการปรับตัวเพื่อใหสอดคลองกับทิศทางธุรกิจดังกลาว
2. ปจจัยดานเศรษฐกิจ
แหลงรายไดหลักของธุรกิจหนังสือพิมพ คือ รายไดจากโฆษณาในหนังสือพิมพ ซึ่ง
มูลคาตลาดโฆษณามีความสัมพันธกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ขอมูลจากสํานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แสดงถึงความสัมพันธระหวางมูลคาตลาด
ของธุรกิจสื่อโฆษณากับผลิตภัณฑมวลรวม (GDP) ตั้งแตป พ.ศ. 2550/2551 ถึง พ.ศ.
2556/2557 (อางถึงใน VGI, รายงานประจําป 2556/2557)
4 
 
ภาพที่ 1.1 กราฟแสดงการเติบโตของตลาดของธุรกิจสื่อโฆษณาเปรียบเทียบกับการเติบโตของ
ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) ป พ.ศ. 2550/2551 ถึง พ.ศ. 2556/2557
ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (อางถึงในรายงาน
ประจําป พ.ศ. 2556/2557 ของบริษัท VGI)
จากภาพที่ 1.1 จะเห็นวามูลคาอุตสาหกรรมโฆษณาขยายตัวสอดคลองตามการเติบโต
ของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) ในแตละปที่ GDP มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น มูลคา
อุตสาหกรรมโฆษณาก็ขยายตัวเพิ่มขึ้นเชนกัน ในขณะที่ในปที่ GDP ขยายตัวลดลง มูลคา
อุตสาหกรรมโฆษณาก็ขยายตัวลดลงเชนกัน แสดงใหเห็นถึงความสอดคลองกันระหวางมูลคา
อุตสาหกรรมโฆษณากับการขยายตัวของเศรษฐกิจของประเทศ
ความสอดคลองกันระหวางมูลคาอุตสาหกรรมโฆษณากับการเติบโตของผลิตภัณฑมวล
รวมในประเทศ (GDP) มีมาโดยตลอด งานวิจัย “การวิเคราะหโครงสรางตลาดและพฤติกรรม
การแขงขันของอุตสาหกรรมหนังสือพิมพไทย” ของศิโรจน มิ่งขวัญ พบวา แนวโนมการขยายตัว
ของอุตสาหกรรมสอดคลองกับสภาวะเศรษฐกิจและการขยายตัวของอุตสาหกรรมโฆษณา
อุตสาหกรรมหนังสือพิมพยังเปนธุรกิจแบบพิเศษที่ตองคํานึงถึงปจจัยหลายอยาง เชน การเมือง
การโฆษณา เทคโนโลยี และการตอบโตระหวางผูประกอบการ (ศิโรจน มิ่งขวัญ, 2547)
ปจจัยทางเศรษฐกิจสงผลตอรายไดของธุรกิจสื่อหนังสือพิมพ ผลสํารวจของบริษัท เดอะ
นีสสัน คอมปะนี (ประเทศไทย) จํากัด เผยแพรโดยสมาคมโฆษณาแหงประเทศไทย ระบุวา
อุตสาหกรรมโฆษณาในป พ.ศ. 2555 มีมูลคารวมทั้งสิ้น 117,160 ลานบาท ขยายตัวเพิ่มขึ้น
5 
 
12.42 เปอรเซ็นตเมื่อเทียบกับป พ.ศ. 2554 เนื่องจากการขยายตัวของสภาวะเศรษฐกิจโดยรวม
ของประเทศ ซึ่งรายงานภาวะเศรษฐกิจไทยของธนาคารแหงประเทศไทย ระบุวา ในป พ.ศ.
2555 เศรษฐกิจไทยขยายตัว 6.4 เปอรเซ็นต ในขณะที่บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด
(มหาชน) ระบุวา ในป พ.ศ. 2555 รายไดจากการขายและบริการเพิ่มขึ้น 11 เปอรเซ็นต
เนื่องจากรายไดจากการขายโฆษณาเพิ่มขึ้น ในขณะที่รายไดจากการจําหนายหนังสือพิมพลดลง
โดยรายไดที่เพิ่มขึ้นนั้นมาจากรายไดโฆษณาสื่อสิ่งพิมพที่เพิ่มขึ้น 6 เปอรเซ็นต รายไดโฆษณา
จากสื่อโทรทัศนและวิทยุเพิ่มขึ้น 14 เปอรเซ็นต และรายไดจากการใหบริการขาวสารและ
โฆษณาผานสื่อระบบอิเล็กทรอนิกสเพิ่มขึ้น 51 เปอรเซ็นต (รายงานประจําปบริษัท เนชั่น
มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน), 2556)
3. ปจจัยดานโฆษณา
นอกจากปจจัยดานเทคโนโลยีและปจจัยดานเศรษฐกิจแลวการชะลอตัวลงของ
อุตสาหกรรมหนังสือพิมพในประเทศไทยยังมีผลมาจากการเติบโตของสื่อประเภทอื่นที่ไดรับ
ความนิยมมากกวาสื่อหนังสือพิมพ ทําใหผูลงโฆษณาเปลี่ยนไปเพิ่มการใชจายเงินโฆษณาในสื่อ
ประเภทอื่นๆ และลดการลงโฆษณาในสื่อหนังสือพิมพลง
6 
 
ภาพที่ 1.2 มูลคาการใชจายในอุตสาหกรรมสื่อโฆษณาในประเทศไทยระหวางป พ.ศ.
2551/2552 ถึงป พ.ศ. 2556/2557
ที่มา: บริษัท เดอะ นีสสัน คอมปะนี (ประเทศไทย) จํากัด รวมโฆษณายอย (Classified) และ
โฆษณาของสื่อในเครือ (House Ads) (อางถึงในรายงานประจําป พ.ศ. 2556/2557 ของบริษัท
VGI)
จากภาพที่ 1.2 แสดงใหเห็นมูลคาโฆษณาในสื่อหนังสือพิมพที่มีอัตราการขยายตัวโดย
เฉลี่ยตอปลดลง 0.1 เปอรเซ็นต ในขณะที่มูลคาโฆษณาในสื่ออินเทอรเน็ตและสื่อโทรทัศนซึ่ง
เปนสองสื่อหลักที่คนนิยมใชเปนชองทางในการบริโภคขาวสารมีอัตราการขยายตัวโดยเฉลี่ยตอ
ปเพิ่มขึ้น 38.3 เปอรเซ็นต และ 5.7 เปอรเซ็นต ตามลําดับ
มูลคาโฆษณาในสื่อหนังสือพิมพที่ลดลงในประเทศไทยนั้นสอดคลองกับตลาดสื่อ
หนังสือพิมพในตางประเทศ รายงานประจําปดานสื่อมวลชนของสหรัฐอเมริกา พบวา ในป ค.ศ.
2012 มูลคาโฆษณาในหนังสือพิมพในสหรัฐอเมริกาลดลง 1.8 พันลานเหรียญสหรัฐ หรือ
ประมาณ 8.5 เปอรเซ็นต ซึ่งเปนการลดลงตอเนื่องเปนปที่หก ในขณะที่รายไดจากโฆษณา
ดิจิทัลในปจจุบันเพิ่มเปน 15 เปอรเซ็นตของรายไดโฆษณาของหนังสือพิมพทั้งหมด แมวามูลคา
โฆษณาดิจิทัลของธุรกิจหนังสือพิมพจะเติบโตอยางมากในชวง 2 ปที่ผานมา แตก็ยังไมสามารถ
ที่จะทดแทนรายไดโฆษณาบนสื่อกระดาษที่ลดลงไดทัน มีการวิเคราะหตัวเลขรายไดโฆษณา
พบวาในทุกๆ 15 เหรียญสหรัฐที่ลดลงของโฆษณาในหนังสือพิมพ จะมีการเพิ่มขึ้นของรายได
โฆษณาดิจิทัล 1 เหรียญสหรัฐ (Edmonds & al, 2013)
7 
 
ภาพที่ 1.3 สวนแบงการตลาดอุตสาหกรรมสื่อโฆษณาในประเทศไทยป พ.ศ. 2556/2557 และ
มูลคาการใชจายในอุตสาหกรรมสื่อโฆษณาในประเทศไทยป พ.ศ. 2556/2557 เทียบกับป พ.ศ.
2555/2556
ที่มา: ขอมูลจากบริษัท เดอะ นีสสัน คอมปะนี (ประเทศไทย) จํากัด (อางถึงในรายงานประจําป
พ.ศ. 2556/2557 ของบริษัท VGI)
ภาพที่ 1.3 แสดงใหเห็นมูลคาเม็ดเงินโฆษณาในสื่อหนังสือพิมพในประเทศไทยในป
พ.ศ. 2556/2557 มีสัดสวนประมาณ 13 เปอรเซ็นตของเม็ดเงินโฆษณาทั้งหมด และลดลง
ประมาณ 1.8 เปอรเซ็นตจากป พ.ศ. 2555/2556 ในขณะที่เม็ดเงินโฆษณาในสื่อโทรทัศน
ประเทศไทยในป พ.ศ. 2556/2557 มีสัดสวนถึง 60.1 เปอรเซ็นตของเม็ดเงินโฆษณาทั้งหมด
และลดลงเพียง 0.9 เปอรเซ็นตจากป พ.ศ. 2555/2556 ในขณะที่เม็ดเงินโฆษณาในสื่อ
อินเทอรเน็ตในประเทศไทยในป พ.ศ. 2556/2557 มีสัดสวนเพียง 0.8 เปอรเซ็นตของเม็ดเงิน
โฆษณาทั้งหมด แตมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น 33.4 เปอรเซ็นตจากป พ.ศ. 2555/2556 ซึ่งสรุปไดวา
สื่อโทรทัศนเปนสื่อที่มีมูลคาโฆษณามากที่สุด ในขณะที่สื่ออินเทอรเน็ตเปนสื่อที่มีการขยายตัว
ของเม็ดเงินโฆษณามากที่สุด
8 
 
ในขณะที่ Ross Dawson (2010) พบวา มีการเคลื่อนยายการลงโฆษณาในสื่อดั้งเดิม
บางสวน ซึ่งไดแก หนังสือพิมพ วิทยุ และโทรทัศน ไปลงโฆษณาในสื่อใหม อาทิ อินเทอรเน็ต
ซึ่งเปนสื่อที่ตรงและเขาถึงกลุมเปาหมายของโฆษณามากกวาการลงโฆษณาในสื่อดั้งเดิม ซึ่ง
ปรากฏการณนี้เปนปจจัยหนึ่งที่จะทําใหสื่อหนังสือพิมพลดลงและคอยๆ หมดไปในที่สุด ซึ่ง
Dawson ยังคาดการณวา หนังสือพิมพในประเทศไทยจะหมดไปในป ค.ศ. 2037 ทั้งนี้เปนเพราะ
ในตลาดสื่อในประเทศไทยมีคูแขงเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะสื่อโทรทัศนและสื่ออินเทอรเน็ต และ
ประชาชนหันไปเปดรับขาวสารจากสื่ออื่นมากขึ้นแทนการอานหนังสือพิมพ ทําใหจํานวนคนอาน
หนังสือพิมพลดนอยลง นั่นหมายถึง สวนแบงงบโฆษณาสําหรับสื่อหนังสือพิมพจะลดลงอยาง
ตอเนื่อง (สุดารัตน ดิษยวรรธนะ จันทราวัฒนากุล, 2557)
4. ปจจัยดานตนทุนของธุรกิจหนังสือพิมพ
ธุรกิจหนังสือพิมพเปนธุรกิจที่มีตนทุนในการผลิตสูง ตนทุนหลักของธุรกิจหนังสือพิมพ
ไดแก ตนทุนดานการผลิต และตนทุนดานการจัดจําหนาย ตนทุนดานการผลิต ไดแก ตนทุน
กระดาษที่มีแนวโนมเพิ่มขึ้นตามราคากระดาษโลกที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ตนทุนเครื่องพิมพ
และตนทุนกองบรรณาธิการที่เปนหัวใจในการผลิตขาวซึ่งเปนสินคาหลักของธุรกิจหนังสือพิมพ
ซึ่งสอดคลองกับงานเขียนของ Dawson (2010) ที่ระบุวา ปจจัยดานตนทุนการผลิตหนังสือพิมพ
กระดาษที่เพิ่มสูงขึ้นเปนหนึ่งในปจจัยที่จะทําใหหนังสือพิมพหมดไป
สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (2557) ศึกษาพบวา รายไดกวา 65 เปอรเซ็นตใน
สื่อหนังสือพิมพมาจากรายไดของการโฆษณา และอีก 35 เปอรเซ็นตเปนรายไดจากการขาย
หนังสือพิมพในชวงที่เศรษฐกิจตกต่ําและมูลคาของอุตสาหกรรมโฆษณาทั้งระบบลดลง
หนังสือพิมพจะมีอํานาจตอรองกับผูลงโฆษณานอยลง นั่นหมายถึงรายไดโฆษณาของธุรกิจ
หนังสือพิมพก็จะลดนอยลง
บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) ระบุในหนังสือรายงานประจําป พ.ศ.
2556 วา ตนทุนการประกอบธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ ประกอบดวย ตนทุนที่แปรผันตามจํานวนผลิต
ไดแก ตนทุนกระดาษ ตนทุนการพิมพ และตนทุนหนังสือ กับตนทุนคงที่ ไดแก เงินเดือน
สวัสดิการ คาขาว คาใชจายในการเดินทาง และคาเสื่อมราคา โดยที่ตนทุนที่แปรผันตามจํานวน
ผลิตคิดเปนสัดสวน 45 เปอรเซ็นตของตนทุนการประกอบธุรกิจ ซึ่งในป พ.ศ. 2555 กําลังการ
ผลิตหนังสือพิมพแตละฉบับในเครือเนชั่น เปนดังนี้ หนังสือพิมพ The Nation มีปริมาณการผลิต
9 
 
เฉลี่ยตอวัน 59,000 – 61,000 ฉบับ หนังสือพิมพกรุงเทพธุรกิจ มีปริมาณการผลิตเฉลี่ยตอวัน
95,0000 – 100,000 ฉบับ และหนังสือพิมพคมชัดลึก มีปริมาณการผลิตเฉลี่ยตอวัน 300,000 –
400,000 ฉบับ
นอกจากนี้ ธุรกิจหนังสือพิมพยังมีตนทุนคาเสียโอกาสจากความสามารถในการเขาถึง
ตลาดที่ชากวาสื่อประเภทอื่นๆ เพราะหนังสือพิมพผลิตออกเปนสินคาสงถึงมือผูอานเปนรายวัน
ในขณะที่สื่อประเภทอื่น โดยเฉพาะสื่อโทรทัศนและสื่ออินเทอรเน็ตมีความเร็วในการเขาถึง
ผูบริโภคขาวสารเร็วกวาสื่อหนังสือพิมพ ทําใหสื่อโทรทัศนและสื่ออินเทอรเน็ตเปนสื่อที่ผูบริโภค
นิยมใชเปนชองทางในการรับขาวสาร ปจจัยดังกลาว สงผลกระทบตอธุรกิจหนังสือพิมพ ทั้ง
จํานวนคนอานที่ลดลง รายไดจากโฆษณาซึ่งเปนรายไดหลักของธุรกิจหนังสือพิมพที่ลดลง ทํา
ใหหนังสือพิมพจําเปนตองปรับตัวเพื่อความอยูรอดทางธุรกิจ โดย Patrick Daniel ซึ่งเปน
Editor-in-Chief ของหนังสือพิมพ English & Malay Newspaper บริษัท Singapore Press
Holding จํากัด ไดใหความเห็นถึงทิศทางการปรับตัวของธุรกิจสื่อหนังสือพิมพในยุคดิจิทัลวา
การปรับตัวของธุรกิจหนังสือพิมพในยุคดิจิทัลเปนสิ่งที่ตองทําเพื่อลดตนทุน และมองหารายได
ใหม จากการนําเสนอขาวสารในรูปแบบใหมๆ ซึ่ง Daniel ไดใหแนวทางในการปรับตัวของธุรกิจ
หนังสือพิมพวา ควรจะตองมีการผลิตหนังสือพิมพกระดาษควบคูไปกับการนําเสนอขาวสารใน
รูปแบบดิจิทัล ในขณะที่ David Rowan บรรณาธิการนิตยสาร Wired มีความเห็นในทํานอง
เดียวกันวา ธุรกิจหนังสือพิมพจะหวังรายไดจากโฆษณาเพียงอยางเดียวคงจะไมพอ ธุรกิจ
หนังสือพิมพควรคิดสรางสินคาและบริการเพื่อสรางรายไดในรูปแบบอื่นๆ อาทิ รายไดจากการ
ใหคนซื้อสินคาบนเว็บ การทําตัวเปนที่ปรึกษาดานการสื่อสาร การทําธุรกิจมหาวิทยาลัย และ
การรวมมือกับชุมชนตางๆ บนอินเทอรเน็ต เปนตน (อัญญาวีร อุนสวัสดิ์อาภา, 2557)
ในขณะที่บทความเรื่อง “องคกรสื่อและการเปลี่ยนแปลงรูปแบบทางธุรกิจของสื่อ” ของ
สุดารัตน ดิษยวรรธนะ จันทราวัฒนากุล (2557) ระบุวา องคกรสื่อหนังสือพิมพในประเทศไทยมี
การปรับกลยุทธทางธุรกิจและแสวงหารูปแบบธุรกิจใหมๆ ดวยการขยายธุรกิจไปยังธุรกิจสื่อ
ประเภทอื่น และการขยายธุรกิจไปยังธุรกิจอื่นที่ไมใชธุรกิจขาว ซึ่งองคกรธุรกิจหนังสือพิมพ
ขนาดใหญที่อยูในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยมีแนวโนมที่จะปรับตัวไดคอนขางเร็วกวา
ปรับเปลี่ยนมากกวา และปรับเปลี่ยนสม่ําเสมอกวาองคกรธุรกิจหนังสือพิมพที่มีขนาดเล็กกวา
หรือหนังสือพิมพที่เปนธุรกิจครอบครัว
10 
 
เครือเนชั่นเปนธุรกิจสื่อหนังสือพิมพขนาดใหญที่อยูในตลาดหลักทรัพยฯ เปนองคกรสื่อ
ที่มีสื่อครบวงจร ไดแก หนังสือพิมพ 3 ฉบับ สถานีโทรทัศน 2 ชอง สถานีวิทยุ สื่ออินเทอรเน็ต
และสื่อดิจิทัล ที่ผานมาเครือเนชั่นมีการปรับตัวทางธุรกิจมาโดยตลอด ทั้งการปรับตัวเขาสูธุรกิจ
รูปแบบใหมๆ ที่นอกเหนือจากธุรกิจหนังสือพิมพ มีการปรับโครงสรางองคกร ปรับโครงสราง
ธุรกิจ และปรับกระบวนการทํางานของกองบรรณาธิการเขาสูการทํางานภายใตแนวคิดหองขาว
แบบหลอมรวม (Convergence Newsroom) และมีการปรับรูปแบบการทําขาวดวยการ
ประยุกตใชสื่อสังคมออนไลน นอกจากนี้ เครือเนชั่นยังเปนองคกรสื่อที่มีการใชกลยุทธการ
สื่อสารการตลาด ทั้งการใชกลยุทธแบรนดบุคคล ตั้งแตแบรนดผูนําองคกร สุทธิชัย หยุน ลง
มาถึงการใชกลยุทธแบรนดนักขาวภายใตสโลแกน “คนพันธุ N” รวมถึงมีการใชการสื่อสาร
การตลาดเพื่อตอกย้ําภาพลักษณความเปนมืออาชีพในธุรกิจขาวที่มีจรรยาบรรณที่นําเสนอขาว
ที่เชื่อถือได ผานสโลแกน “ในสนามขาวเราคือตัวจริง” และ “ผิดจากนี้ไมใชเรา” (ชีพธรรม คํา
วิเศษณ, 2555)
การศึกษา “การปรับตัวทางธุรกิจขององคกรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” เปน
การศึกษาการปรับตัวขององคกรสื่อที่มีความเคลื่อนไหวในการปรับตัวทางและมีการใชกลยุทธ
การสื่อสารการตลาดอยางหลากหลายและบูรณาการเปนสวนหนึ่งของกลยุทธองคกร ซึ่งผล
การศึกษาเรื่องนี้สามารถใชเปนแนวทางการปรับตัวใหกับธุรกิจสื่อ และแนวทางในการศึกษากล
ยุทธการสื่อสารการตลาดที่มีตอการปรับตัวเพื่อความอยูรอดและเพื่อการเติบโตของธุรกิจสื่อ
หนังสือพิมพในยุคดิจิทัล
11 
 
ปญหานําวิจัย
1. การปรับตัวทางธุรกิจของหนังสือพิมพเครือเนชั่นเปนอยางไร
a. การปรับกลยุทธธุรกิจของเครือเนชั่น
b. การปรับโครงสรางธุรกิจของเครือเนชั่น
c. การปรับกระบวนการทํางานขององคกรภายในเครือเนชั่น
2. กลยุทธการสื่อสารการตลาดของเครือเนชั่นเปนอยางไร
วัตถุประสงคของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาการปรับตัวทางธุรกิจขององคกรสื่อในเครือเนชั่น
2. เพื่อศึกษากลยุทธการสื่อสารการตลาดของธุรกิจในเครือเนชั่น
ขอบเขตของการวิจัย
การวิจัยชิ้นนี้จะศึกษาธุรกิจสื่อหนังสือพิมพและธุรกิจขาวในเครือเนชั่นในชวงป พ.ศ.
2538 ถึงป พ.ศ. 2557 ซึ่งเปนชวงเวลที่เครือเนชั่นเริ่มมีการนําเสนอขาวหนังสือพิมพบนสื่อ
ออนไลน ไดแก เว็บไซตขาว จนถึงปจจุบัน
นิยามศัพท
การปรับตัวทางธุรกิจ หมายถึง การดําเนินงานธุรกิจโดยอาศัยการจัดการเชิงกลยุทธ
(Strategic Management) ประกอบดวย การกําหนดวิสัยทัศน และการกําหนดภารกิจ หรือ
กรอบการดําเนินงานที่ชัดเจนที่ชวยใหองคกรสามารถกําหนดทิศทางในระยะยาว รวมถึงการ
วางแผนเชิงกลยุทธและกระบวนการทางการตลาด เพื่อใหองคกรไปถึงเปาหมายที่ไดกําหนดไว
ได รวมถึงแนวทางการปรับเปลี่ยนรูปแบบและวิธีการดําเนินธุรกิจ ในดานการบริหารจัดการ
องคกร การบริหารตนทุน การสรางรายได การสรางธุรกิจใหม และการสื่อสารการตลาด
เครือเนชั่น หมายถึง บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย
บริษัทรวม ที่ประกอบดวย 8 สายธุรกิจ ไดแก สายธุรกิจหนังสือพิมพภาษาอังกฤษ สายธุรกิจ
หนังสือพิมพภาษาไทย สายธุรกิจหนังสือพิมพทั่วไปภาษาไทย สายธุรกิจการศึกษา บันเทิง
12 
 
และตางประเทศ สายธุรกิจสื่อกระจายภาพและเสียงและสื่อใหม สายธุรกิจดานการพิมพ สาย
ธุรกิจดานการขนสง และสายธุรกิจการศึกษา
หนังสือพิมพเครือเนชั่น หมายถึง หนังสือพิมพที่ผลิตโดยเครือเนชั่น ซึ่งไดแก
หนังสือพิมพรายวันภาษาไทย 2 ฉบับ ไดแก หนังสือพิมพคม ชัด ลึก และหนังสือพิมพกรุงเทพ
ธุรกิจ และหนังสือพิมพรายวันภาษาอังกฤษ ไดแก หนังสือพิมพเดอะเนชั่น (The Nation)
ยุคสื่อดิจิทัล ในการศึกษา หมายถึง ชวงเวลาตั้งแตป พ.ศ. 2538 ที่ธุรกิจหนังสือพิมพ
ในประเทศไทยเริ่มมีการนําเสนอขาวหนังสือพิมพบนเว็บไซต จนถึงป พ.ศ. 2557 โดยในป พ.ศ.
2538 รัฐบาลไดประกาศใหเปนปเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ IT Year และในป พ.ศ. 2539 เครือ
เนชั่นไดเปลี่ยนชื่อจากบริษัท เนชั่น พับลิชชิ้ง กรุป จํากัด (มหาชน) เปนบริษัท เนชั่น
มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) เพื่อใหสอดคลองและรองรับการพัฒนาของบริษัทที่จะมีความ
หลากหลายทางดานสื่อมากขึ้น นอกเหนือไปจากการทําธุรกิจสื่อหนังสือพิมพ
กลยุทธการสื่อสารการตลาด หมายถึง การวางแผนและการผสมผสานรูปแบบการ
สื่อสารขอมูลขาวสารตางๆ ขององคกรในหลากหลายรูปแบบ อาทิ การโฆษณา การ
ประชาสัมพันธ การสงเสริมการขาย การจัดกิจกรรมการตลาด เปนตน ทําการสื่อสารไปสู
ผูบริโภคเพื่อใหบรรลุเปาหมายที่วางไว
องคกรสื่อ หมายถึง สื่อมวลชนกระแสหลัก ที่จดทะเบียนธุรกิจเปนธุรกิจสื่อ และนักขาว
และกองบรรณาธิการ
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1. ทําใหเขาใจการปรับตัวทางธุรกิจขององคกรสื่อเครือเนชั่นทามกลางแขงขันของสื่อที่
รุนแรงในยุคสื่อดิจิทัล
2. ทําใหเขาใจและเห็นการปรับตัวดานการสื่อสารการตลาดขององคกรสื่อเครือเนชั่นในยุค
สื่อดิจิทัล ทั้งนี้เพื่อปนกรณีศึกษาของการใชกลยุทธการสื่อสารการตลาดของธุรกิจสื่อ
3. เปนประโยชนตอการศึกษาวิจัยทางดานธุรกิจสื่อตอไปในอนาคต
 

Contenu connexe

Similaire à บทที่ 1

ทัศนภาพธุรกิจ3
ทัศนภาพธุรกิจ3ทัศนภาพธุรกิจ3
ทัศนภาพธุรกิจ3DrDanai Thienphut
 
Aim3304 โฮลดิ้ง การสื่อสารองค์การบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทย ภายใต้การบริหาร...
Aim3304 โฮลดิ้ง การสื่อสารองค์การบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทย ภายใต้การบริหาร...Aim3304 โฮลดิ้ง การสื่อสารองค์การบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทย ภายใต้การบริหาร...
Aim3304 โฮลดิ้ง การสื่อสารองค์การบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทย ภายใต้การบริหาร...ssuser5d98831
 
Smart farming กับการสร้างโอกาสทางการเกษตรในยุคเศรษฐกิจดิจิตอล
Smart farming กับการสร้างโอกาสทางการเกษตรในยุคเศรษฐกิจดิจิตอลSmart farming กับการสร้างโอกาสทางการเกษตรในยุคเศรษฐกิจดิจิตอล
Smart farming กับการสร้างโอกาสทางการเกษตรในยุคเศรษฐกิจดิจิตอลOBELS MFU
 
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563KppPrimaryEducationa
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์Krumai Kjna
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
Integrated Marketing Communication from Tactic to Strategy
Integrated Marketing Communication from Tactic to StrategyIntegrated Marketing Communication from Tactic to Strategy
Integrated Marketing Communication from Tactic to Strategysiriporn pongvinyoo
 
AIM3304 การสื่อสารองค์การบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทยภายใต้การบริหารงานของกล...
 AIM3304 การสื่อสารองค์การบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทยภายใต้การบริหารงานของกล... AIM3304 การสื่อสารองค์การบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทยภายใต้การบริหารงานของกล...
AIM3304 การสื่อสารองค์การบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทยภายใต้การบริหารงานของกล...KimKano
 
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)wonvisa
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมjeabjeabloei
 
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012DrDanai Thienphut
 
Charismatic marketing tzu chi
Charismatic marketing tzu chiCharismatic marketing tzu chi
Charismatic marketing tzu chiDrDanai Thienphut
 
Aim3304 การสื่อสารการตลาดแบบครบเครื่องในบริษัทตัวแทนโฆษณาให้บริการการสื่อสารก...
Aim3304 การสื่อสารการตลาดแบบครบเครื่องในบริษัทตัวแทนโฆษณาให้บริการการสื่อสารก...Aim3304 การสื่อสารการตลาดแบบครบเครื่องในบริษัทตัวแทนโฆษณาให้บริการการสื่อสารก...
Aim3304 การสื่อสารการตลาดแบบครบเครื่องในบริษัทตัวแทนโฆษณาให้บริการการสื่อสารก...jarudphanwandee
 
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ DrDanai Thienphut
 
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With IctC:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ictthanapat yeekhaday
 
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy IMC Institute
 

Similaire à บทที่ 1 (20)

ทัศนภาพธุรกิจ3
ทัศนภาพธุรกิจ3ทัศนภาพธุรกิจ3
ทัศนภาพธุรกิจ3
 
Aim3304 โฮลดิ้ง การสื่อสารองค์การบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทย ภายใต้การบริหาร...
Aim3304 โฮลดิ้ง การสื่อสารองค์การบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทย ภายใต้การบริหาร...Aim3304 โฮลดิ้ง การสื่อสารองค์การบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทย ภายใต้การบริหาร...
Aim3304 โฮลดิ้ง การสื่อสารองค์การบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทย ภายใต้การบริหาร...
 
Smart farming กับการสร้างโอกาสทางการเกษตรในยุคเศรษฐกิจดิจิตอล
Smart farming กับการสร้างโอกาสทางการเกษตรในยุคเศรษฐกิจดิจิตอลSmart farming กับการสร้างโอกาสทางการเกษตรในยุคเศรษฐกิจดิจิตอล
Smart farming กับการสร้างโอกาสทางการเกษตรในยุคเศรษฐกิจดิจิตอล
 
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
IMC from tactic to strategy up
IMC from tactic to strategy upIMC from tactic to strategy up
IMC from tactic to strategy up
 
Integrated Marketing Communication from Tactic to Strategy
Integrated Marketing Communication from Tactic to StrategyIntegrated Marketing Communication from Tactic to Strategy
Integrated Marketing Communication from Tactic to Strategy
 
TBA-Low Carbon and Sustainable Business
TBA-Low Carbon and Sustainable BusinessTBA-Low Carbon and Sustainable Business
TBA-Low Carbon and Sustainable Business
 
AIM3304 การสื่อสารองค์การบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทยภายใต้การบริหารงานของกล...
 AIM3304 การสื่อสารองค์การบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทยภายใต้การบริหารงานของกล... AIM3304 การสื่อสารองค์การบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทยภายใต้การบริหารงานของกล...
AIM3304 การสื่อสารองค์การบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทยภายใต้การบริหารงานของกล...
 
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
 
Charismatic marketing tzu chi
Charismatic marketing tzu chiCharismatic marketing tzu chi
Charismatic marketing tzu chi
 
Aim3304 การสื่อสารการตลาดแบบครบเครื่องในบริษัทตัวแทนโฆษณาให้บริการการสื่อสารก...
Aim3304 การสื่อสารการตลาดแบบครบเครื่องในบริษัทตัวแทนโฆษณาให้บริการการสื่อสารก...Aim3304 การสื่อสารการตลาดแบบครบเครื่องในบริษัทตัวแทนโฆษณาให้บริการการสื่อสารก...
Aim3304 การสื่อสารการตลาดแบบครบเครื่องในบริษัทตัวแทนโฆษณาให้บริการการสื่อสารก...
 
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With IctC:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
 
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
 

Plus de Asina Pornwasin

เพจหรือสื่อ กูรู(รู้)คือใคร
เพจหรือสื่อ  กูรู(รู้)คือใครเพจหรือสื่อ  กูรู(รู้)คือใคร
เพจหรือสื่อ กูรู(รู้)คือใครAsina Pornwasin
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมAsina Pornwasin
 
newspaper to content provider
newspaper to content provider newspaper to content provider
newspaper to content provider Asina Pornwasin
 
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าว
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าวการใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าว
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าวAsina Pornwasin
 
มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...
มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...
มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...Asina Pornwasin
 
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารAsina Pornwasin
 
Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...Asina Pornwasin
 
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชนผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชนAsina Pornwasin
 
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘ หัวข้อ “ปฏิวัติค...
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘  หัวข้อ “ปฏิวัติค...สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘  หัวข้อ “ปฏิวัติค...
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘ หัวข้อ “ปฏิวัติค...Asina Pornwasin
 
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อAsina Pornwasin
 
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?" "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?" Asina Pornwasin
 

Plus de Asina Pornwasin (20)

Social media and jr
Social media and jrSocial media and jr
Social media and jr
 
เพจหรือสื่อ กูรู(รู้)คือใคร
เพจหรือสื่อ  กูรู(รู้)คือใครเพจหรือสื่อ  กูรู(รู้)คือใคร
เพจหรือสื่อ กูรู(รู้)คือใคร
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
newspaper to content provider
newspaper to content provider newspaper to content provider
newspaper to content provider
 
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าว
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าวการใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าว
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าว
 
มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...
มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...
มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...
 
Sm4 pr
Sm4 prSm4 pr
Sm4 pr
 
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
 
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชนผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
 
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘ หัวข้อ “ปฏิวัติค...
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘  หัวข้อ “ปฏิวัติค...สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘  หัวข้อ “ปฏิวัติค...
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘ หัวข้อ “ปฏิวัติค...
 
Sm4 investigativereport
Sm4 investigativereportSm4 investigativereport
Sm4 investigativereport
 
Convergence Journalism
Convergence JournalismConvergence Journalism
Convergence Journalism
 
Sm4 jr nt
Sm4 jr ntSm4 jr nt
Sm4 jr nt
 
Convergent newsroom
Convergent newsroomConvergent newsroom
Convergent newsroom
 
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อ
 
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?" "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
 

บทที่ 1

  • 1.     บทที่ 1 บทนํา ที่มาและความสําคัญของการศึกษา ปจจุบันสื่อหนังสือพิมพทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยกําลังเผชิญกับความทาทายครั้งใหญ ในการบริหารองคกรทามกลางการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของยุคดิจิทัล ทุกวันนี้เทคโนโลยี เขามีบทบาทในการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจ มีบทบาทตอการดําเนินธุรกิจ และบทบาทตอการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการรับขาวสารของประชาชน ธุรกิจหนังสือพิมพถูกกดดันจากหลายปจจัย ทําใหตองปรับตัวและเปลี่ยนแปลงวิธีการ ทําธุรกิจเพื่อความอยูรอด ทั้งนี้ ปจจัยที่สงผลกระทบตอธุรกิจหนังสือพิมพ ไดแก ปจจัยดาน เทคโนโลยีและนวัตกรรม ปจจัยดานเศรษฐกิจ ปจจัยดานโฆษณา และปจจัยดานตนทุนของ ธุรกิจหนังสือพิมพ เชนเดียวกับเครือเนชั่นซึ่งเปนองคกรสื่อที่มีธุรกิจหนังสือพิมพเปนธุรกิจที่ สรางรายไดหลักใหกับองคกรกําลังเผชิญการกดดันจากปจจัยตางๆ สงผลใหเครือเนชั่นตองมี ปรับตัวและเปลี่ยนแปลงวิธีการทําธุรกิจเพื่อความอยูรอ 1.ปจจัยดานเทคโนโลยีและนวัตกรรม ปจจัยดานเทคโนโลยีและนวัตกรรมสงผลกระทบตอธุรกิจหนังสือพิมพทั้งเชิงบวกและ เชิงลบ ผลกระทบเชิงบวก คือ เทคโนโลยีและนวัตกรรมสรางโอกาสทางธุรกิจและสรางรูปแบบ ธุรกิจใหมใหกับธุรกิจหนังสือพิมพ ในขณะเดียวกันเทคโนโลยีและนวัตกรรมก็สงผลกระทบเชิง ลบ คือ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการอานหนังสือพิมพ ประชาชนบริโภคขาวสารจากหนังสือพิมพนอยลงแตหันไปบริโภคขาวสารจากสื่ออื่นๆ แทน โดยเทคโนโลยีอินเทอรเน็ต ออนไลน และแอพพลิเคชั่นทําใหเกิดเนื้อหาและบริการมากขึ้นและ หลากหลายขึ้น
  • 2. 2    และทําใหประชาชนเกิดพฤติกรรมเลือกเปดรับสื่อตามความตองการและความสนใจของ ตนเอง (สุรัตนวสดี คงปน, 2555) พฤติกรรมการเปดรับขาวสารจากหลากหลายชองทางของประชาชนนั้นสอดคลองกับ รายงานการวิจัยของบริษัท เอซีนีลสัน จํากัด ที่ระบุวาจํานวนผูอานหนังสือพิมพในประเทศไทย ในป พ.ศ. 2555 มีประมาณ 9.5 ลานคน ลดลงจาก 16.1 ลานคนในป พ.ศ. 2551 ซึ่งจํานวน ผูอานหนังสือพิมพใประเทศไทยลดลงถึง 6.6 ลานคนในชวงเวลาเพียง 4 ป (ราชดําเนิน, 2555) ในขณะที่ขอมูลการสํารวจจากสํานักงานสถิติแหงชาติ ระบุวา ในป พ.ศ. 2551 ประชากรอายุ ตั้งแต 6 ปขึ้นไปมีจํานวน 60,308,193 คน ในจํานวนนี้มีประชากรจํานวน 31,919,617 คนบอก วาไมอานหนังสือพิมพ โดยเหตุผลหลักที่ไมอานหนังสือพิมพ คือ ประชากรจํานวนนี้สนใจรับ ขาวสารจากสื่อประเภทอื่นๆ มากกวาการรับขาวสารจากการอานหนังสือพิมพกระดาษ (เพิ่ง อาง) ซึ่งผลการสํารวจของสํานักงานสถิติแหงชาตินี้ สอดคลองกับผลการวิจัยเรื่อง “พฤติกรรม การบริโภคขาวของคนตางวัยในสังคมไทย” ของบุปผา เมฆศรีทองคํา และคณะ (2556) ที่ระบุ วาประชาชนนิยมบริโภคขาวสารผานสื่อโทรทัศนมากที่สุด ในขณะที่ประชาชนในวัยเรียนนิยม ติดตามขาวสารในเฉพาะเรื่องที่ตนสนใจผานทาง Facebook ในขณะเดียวกัน รายงาน “ธุรกิจจะเดินอยางไรในยุคสื่อสังคมออนไลน” จัดทําโดย Economic Intelligence Center ธนาคารไทยพาณิชย (2011) ระบุวา ชองทางการรับขาวสารที่ คนไทยเขาถึงอินเทอรเน็ตนิยมใชเพื่อติดตามขาวสารมากที่สุด คือ โทรทัศน รองลงมา คือ อินเทอรเน็ต หนังสือพิมพ และวิทยุ ตามลําดับ พฤติกรรมการบริโภคขาวสารผานสื่อที่หลากหลายของคนไทยนั้นสอดคลองกับ พฤติกรรมการบริโภคขาวของผูบริโภคทั่วโลก Frank N. (2012) ระบุในรายงาน 2012 Newspaper Multiplatform Usage Study วา ผูบริโภคชาวอเมริกันมีพฤติกรรมการบริโภคขาว หนังสือพิมพผสมผสานหลายชองทางไมเฉพาะจากการอานหนังสือพิมพฉบับกระดาษเทานั้น แตนิยมอานหนังสือพิมพในรูปแบบดิจิทัลดวย โดยอานขาวจากเว็บไซตผานคอมพิวเตอรตั้งโตะ คอมพิวเตอรพกพา อานขาวจากแอพพลิเคชั่น (Application) ขาวจากสมารทโฟน (Smartphone) และแท็บเล็ต (Tablet) โดยในรายงานฉบับนี้ยังระบุวา ผูบริโภคชาวอเมริกัน จํานวนมากชอบหนังสือพิมพที่สามารถนําเสนอขาวใหสามารถเขาถึงไดหลากหลายรูปแบบ ณ ชวงเวลาใดเวลาหนึ่งที่พวกเขาสะดวก
  • 3. 3    งานวิจัยของ Pew Research Center (2010) ระบุวา ผูบริโภคชาวอเมริกันใชเวลาใน การบริโภคขาวสารเพิ่มมากขึ้น ในป พ.ศ. 2543 ผูบริโภคชาวอเมริกันใชเวลาโดยเฉลี่ย 57 นาที ตอวันในการบริโภคขาวสาร ในขณะที่ในป พ.ศ. 2553 ผูบริโภคชาวอเมริกันใชเวลาโดยเฉลี่ย 70 นาทีตอวันในการบริโภคขาวสาร โดยเวลาที่เพิ่มขึ้นนั้นเปนการบริโภคขาวสารผานทาง ออนไลน ในขณะที่รายงานอีกชิ้นของ Pew Research Center (2012) ที่ชื่อ In Changing News Landscape, Even Television is Vulnerable, Trends in News Consumption: 1991 – 2012 พบวา ผูบริโภคชาวอเมริกันเปดรับขอมูลขาวสารผานชองทางออนไลน ชองทางดิจิทัล และชองทางสื่อสังคมออนไลนเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่รายงานวิจัยฉบับนี้ยังพบวา ผูบริโภคชาว อเมริกันเปดรับขอมูลขาวสารผานชองทางสื่อแบบดั้งเดิม ไดแก หนังสือพิมพ วิทยุ และโทรทัศน ลดลง ซึ่งสอดคลองกับบทความ Predictions for Digital Journalism in 2013 ที่สัมภาษณ บรรณาธิการหนังสือพิมพยักษใหญในสหรัฐอเมริกาถึงแนวโนมและทิศทางของธุรกิจ หนังสือพิมพพบวา New York Times, WSJ.com, FT.com และ The Daily Post ตาง คาดการณอนาคตของอุตสาหกรรมขาวไปในทิศทางเดียวกันวาจะมุงสูการนําเสนอขาวบน อุปกรณเคลื่อนที่ จะคิดคาบริการขาวในรูปแบบออนไลน และจะมีการนําเสนอขาวผานเครือขาย สังคมออนไลน (Marshall, 2012) ในประเทศไทย เครือเนชั่นเปนเครือธุรกิจสื่อสิ่งพิมพที่อยูในตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย และเปนองคกรธุรกิจสื่อที่สื่อหลากหลายรูปแบบ ไดแก สื่อหนังสือพิมพ สื่อวิทยุ สื่อโทรทัศน สื่อออนไลน และสื่อดิจิทัล ไดมีความพยายามในการลดความเสี่ยงจากการพึ่งพิง แหลงรายไดหลักจากธุรกิจหนังสือพิมพ ดวยการพยายามเพิ่มสัดสวนรายไดจากสื่อประเภท อื่นๆ ทําใหเครือเนชั่นตองมีการปรับตัวเพื่อใหสอดคลองกับทิศทางธุรกิจดังกลาว 2. ปจจัยดานเศรษฐกิจ แหลงรายไดหลักของธุรกิจหนังสือพิมพ คือ รายไดจากโฆษณาในหนังสือพิมพ ซึ่ง มูลคาตลาดโฆษณามีความสัมพันธกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ขอมูลจากสํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แสดงถึงความสัมพันธระหวางมูลคาตลาด ของธุรกิจสื่อโฆษณากับผลิตภัณฑมวลรวม (GDP) ตั้งแตป พ.ศ. 2550/2551 ถึง พ.ศ. 2556/2557 (อางถึงใน VGI, รายงานประจําป 2556/2557)
  • 4. 4    ภาพที่ 1.1 กราฟแสดงการเติบโตของตลาดของธุรกิจสื่อโฆษณาเปรียบเทียบกับการเติบโตของ ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) ป พ.ศ. 2550/2551 ถึง พ.ศ. 2556/2557 ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (อางถึงในรายงาน ประจําป พ.ศ. 2556/2557 ของบริษัท VGI) จากภาพที่ 1.1 จะเห็นวามูลคาอุตสาหกรรมโฆษณาขยายตัวสอดคลองตามการเติบโต ของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) ในแตละปที่ GDP มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น มูลคา อุตสาหกรรมโฆษณาก็ขยายตัวเพิ่มขึ้นเชนกัน ในขณะที่ในปที่ GDP ขยายตัวลดลง มูลคา อุตสาหกรรมโฆษณาก็ขยายตัวลดลงเชนกัน แสดงใหเห็นถึงความสอดคลองกันระหวางมูลคา อุตสาหกรรมโฆษณากับการขยายตัวของเศรษฐกิจของประเทศ ความสอดคลองกันระหวางมูลคาอุตสาหกรรมโฆษณากับการเติบโตของผลิตภัณฑมวล รวมในประเทศ (GDP) มีมาโดยตลอด งานวิจัย “การวิเคราะหโครงสรางตลาดและพฤติกรรม การแขงขันของอุตสาหกรรมหนังสือพิมพไทย” ของศิโรจน มิ่งขวัญ พบวา แนวโนมการขยายตัว ของอุตสาหกรรมสอดคลองกับสภาวะเศรษฐกิจและการขยายตัวของอุตสาหกรรมโฆษณา อุตสาหกรรมหนังสือพิมพยังเปนธุรกิจแบบพิเศษที่ตองคํานึงถึงปจจัยหลายอยาง เชน การเมือง การโฆษณา เทคโนโลยี และการตอบโตระหวางผูประกอบการ (ศิโรจน มิ่งขวัญ, 2547) ปจจัยทางเศรษฐกิจสงผลตอรายไดของธุรกิจสื่อหนังสือพิมพ ผลสํารวจของบริษัท เดอะ นีสสัน คอมปะนี (ประเทศไทย) จํากัด เผยแพรโดยสมาคมโฆษณาแหงประเทศไทย ระบุวา อุตสาหกรรมโฆษณาในป พ.ศ. 2555 มีมูลคารวมทั้งสิ้น 117,160 ลานบาท ขยายตัวเพิ่มขึ้น
  • 5. 5    12.42 เปอรเซ็นตเมื่อเทียบกับป พ.ศ. 2554 เนื่องจากการขยายตัวของสภาวะเศรษฐกิจโดยรวม ของประเทศ ซึ่งรายงานภาวะเศรษฐกิจไทยของธนาคารแหงประเทศไทย ระบุวา ในป พ.ศ. 2555 เศรษฐกิจไทยขยายตัว 6.4 เปอรเซ็นต ในขณะที่บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) ระบุวา ในป พ.ศ. 2555 รายไดจากการขายและบริการเพิ่มขึ้น 11 เปอรเซ็นต เนื่องจากรายไดจากการขายโฆษณาเพิ่มขึ้น ในขณะที่รายไดจากการจําหนายหนังสือพิมพลดลง โดยรายไดที่เพิ่มขึ้นนั้นมาจากรายไดโฆษณาสื่อสิ่งพิมพที่เพิ่มขึ้น 6 เปอรเซ็นต รายไดโฆษณา จากสื่อโทรทัศนและวิทยุเพิ่มขึ้น 14 เปอรเซ็นต และรายไดจากการใหบริการขาวสารและ โฆษณาผานสื่อระบบอิเล็กทรอนิกสเพิ่มขึ้น 51 เปอรเซ็นต (รายงานประจําปบริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน), 2556) 3. ปจจัยดานโฆษณา นอกจากปจจัยดานเทคโนโลยีและปจจัยดานเศรษฐกิจแลวการชะลอตัวลงของ อุตสาหกรรมหนังสือพิมพในประเทศไทยยังมีผลมาจากการเติบโตของสื่อประเภทอื่นที่ไดรับ ความนิยมมากกวาสื่อหนังสือพิมพ ทําใหผูลงโฆษณาเปลี่ยนไปเพิ่มการใชจายเงินโฆษณาในสื่อ ประเภทอื่นๆ และลดการลงโฆษณาในสื่อหนังสือพิมพลง
  • 6. 6    ภาพที่ 1.2 มูลคาการใชจายในอุตสาหกรรมสื่อโฆษณาในประเทศไทยระหวางป พ.ศ. 2551/2552 ถึงป พ.ศ. 2556/2557 ที่มา: บริษัท เดอะ นีสสัน คอมปะนี (ประเทศไทย) จํากัด รวมโฆษณายอย (Classified) และ โฆษณาของสื่อในเครือ (House Ads) (อางถึงในรายงานประจําป พ.ศ. 2556/2557 ของบริษัท VGI) จากภาพที่ 1.2 แสดงใหเห็นมูลคาโฆษณาในสื่อหนังสือพิมพที่มีอัตราการขยายตัวโดย เฉลี่ยตอปลดลง 0.1 เปอรเซ็นต ในขณะที่มูลคาโฆษณาในสื่ออินเทอรเน็ตและสื่อโทรทัศนซึ่ง เปนสองสื่อหลักที่คนนิยมใชเปนชองทางในการบริโภคขาวสารมีอัตราการขยายตัวโดยเฉลี่ยตอ ปเพิ่มขึ้น 38.3 เปอรเซ็นต และ 5.7 เปอรเซ็นต ตามลําดับ มูลคาโฆษณาในสื่อหนังสือพิมพที่ลดลงในประเทศไทยนั้นสอดคลองกับตลาดสื่อ หนังสือพิมพในตางประเทศ รายงานประจําปดานสื่อมวลชนของสหรัฐอเมริกา พบวา ในป ค.ศ. 2012 มูลคาโฆษณาในหนังสือพิมพในสหรัฐอเมริกาลดลง 1.8 พันลานเหรียญสหรัฐ หรือ ประมาณ 8.5 เปอรเซ็นต ซึ่งเปนการลดลงตอเนื่องเปนปที่หก ในขณะที่รายไดจากโฆษณา ดิจิทัลในปจจุบันเพิ่มเปน 15 เปอรเซ็นตของรายไดโฆษณาของหนังสือพิมพทั้งหมด แมวามูลคา โฆษณาดิจิทัลของธุรกิจหนังสือพิมพจะเติบโตอยางมากในชวง 2 ปที่ผานมา แตก็ยังไมสามารถ ที่จะทดแทนรายไดโฆษณาบนสื่อกระดาษที่ลดลงไดทัน มีการวิเคราะหตัวเลขรายไดโฆษณา พบวาในทุกๆ 15 เหรียญสหรัฐที่ลดลงของโฆษณาในหนังสือพิมพ จะมีการเพิ่มขึ้นของรายได โฆษณาดิจิทัล 1 เหรียญสหรัฐ (Edmonds & al, 2013)
  • 7. 7    ภาพที่ 1.3 สวนแบงการตลาดอุตสาหกรรมสื่อโฆษณาในประเทศไทยป พ.ศ. 2556/2557 และ มูลคาการใชจายในอุตสาหกรรมสื่อโฆษณาในประเทศไทยป พ.ศ. 2556/2557 เทียบกับป พ.ศ. 2555/2556 ที่มา: ขอมูลจากบริษัท เดอะ นีสสัน คอมปะนี (ประเทศไทย) จํากัด (อางถึงในรายงานประจําป พ.ศ. 2556/2557 ของบริษัท VGI) ภาพที่ 1.3 แสดงใหเห็นมูลคาเม็ดเงินโฆษณาในสื่อหนังสือพิมพในประเทศไทยในป พ.ศ. 2556/2557 มีสัดสวนประมาณ 13 เปอรเซ็นตของเม็ดเงินโฆษณาทั้งหมด และลดลง ประมาณ 1.8 เปอรเซ็นตจากป พ.ศ. 2555/2556 ในขณะที่เม็ดเงินโฆษณาในสื่อโทรทัศน ประเทศไทยในป พ.ศ. 2556/2557 มีสัดสวนถึง 60.1 เปอรเซ็นตของเม็ดเงินโฆษณาทั้งหมด และลดลงเพียง 0.9 เปอรเซ็นตจากป พ.ศ. 2555/2556 ในขณะที่เม็ดเงินโฆษณาในสื่อ อินเทอรเน็ตในประเทศไทยในป พ.ศ. 2556/2557 มีสัดสวนเพียง 0.8 เปอรเซ็นตของเม็ดเงิน โฆษณาทั้งหมด แตมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น 33.4 เปอรเซ็นตจากป พ.ศ. 2555/2556 ซึ่งสรุปไดวา สื่อโทรทัศนเปนสื่อที่มีมูลคาโฆษณามากที่สุด ในขณะที่สื่ออินเทอรเน็ตเปนสื่อที่มีการขยายตัว ของเม็ดเงินโฆษณามากที่สุด
  • 8. 8    ในขณะที่ Ross Dawson (2010) พบวา มีการเคลื่อนยายการลงโฆษณาในสื่อดั้งเดิม บางสวน ซึ่งไดแก หนังสือพิมพ วิทยุ และโทรทัศน ไปลงโฆษณาในสื่อใหม อาทิ อินเทอรเน็ต ซึ่งเปนสื่อที่ตรงและเขาถึงกลุมเปาหมายของโฆษณามากกวาการลงโฆษณาในสื่อดั้งเดิม ซึ่ง ปรากฏการณนี้เปนปจจัยหนึ่งที่จะทําใหสื่อหนังสือพิมพลดลงและคอยๆ หมดไปในที่สุด ซึ่ง Dawson ยังคาดการณวา หนังสือพิมพในประเทศไทยจะหมดไปในป ค.ศ. 2037 ทั้งนี้เปนเพราะ ในตลาดสื่อในประเทศไทยมีคูแขงเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะสื่อโทรทัศนและสื่ออินเทอรเน็ต และ ประชาชนหันไปเปดรับขาวสารจากสื่ออื่นมากขึ้นแทนการอานหนังสือพิมพ ทําใหจํานวนคนอาน หนังสือพิมพลดนอยลง นั่นหมายถึง สวนแบงงบโฆษณาสําหรับสื่อหนังสือพิมพจะลดลงอยาง ตอเนื่อง (สุดารัตน ดิษยวรรธนะ จันทราวัฒนากุล, 2557) 4. ปจจัยดานตนทุนของธุรกิจหนังสือพิมพ ธุรกิจหนังสือพิมพเปนธุรกิจที่มีตนทุนในการผลิตสูง ตนทุนหลักของธุรกิจหนังสือพิมพ ไดแก ตนทุนดานการผลิต และตนทุนดานการจัดจําหนาย ตนทุนดานการผลิต ไดแก ตนทุน กระดาษที่มีแนวโนมเพิ่มขึ้นตามราคากระดาษโลกที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ตนทุนเครื่องพิมพ และตนทุนกองบรรณาธิการที่เปนหัวใจในการผลิตขาวซึ่งเปนสินคาหลักของธุรกิจหนังสือพิมพ ซึ่งสอดคลองกับงานเขียนของ Dawson (2010) ที่ระบุวา ปจจัยดานตนทุนการผลิตหนังสือพิมพ กระดาษที่เพิ่มสูงขึ้นเปนหนึ่งในปจจัยที่จะทําใหหนังสือพิมพหมดไป สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (2557) ศึกษาพบวา รายไดกวา 65 เปอรเซ็นตใน สื่อหนังสือพิมพมาจากรายไดของการโฆษณา และอีก 35 เปอรเซ็นตเปนรายไดจากการขาย หนังสือพิมพในชวงที่เศรษฐกิจตกต่ําและมูลคาของอุตสาหกรรมโฆษณาทั้งระบบลดลง หนังสือพิมพจะมีอํานาจตอรองกับผูลงโฆษณานอยลง นั่นหมายถึงรายไดโฆษณาของธุรกิจ หนังสือพิมพก็จะลดนอยลง บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) ระบุในหนังสือรายงานประจําป พ.ศ. 2556 วา ตนทุนการประกอบธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ ประกอบดวย ตนทุนที่แปรผันตามจํานวนผลิต ไดแก ตนทุนกระดาษ ตนทุนการพิมพ และตนทุนหนังสือ กับตนทุนคงที่ ไดแก เงินเดือน สวัสดิการ คาขาว คาใชจายในการเดินทาง และคาเสื่อมราคา โดยที่ตนทุนที่แปรผันตามจํานวน ผลิตคิดเปนสัดสวน 45 เปอรเซ็นตของตนทุนการประกอบธุรกิจ ซึ่งในป พ.ศ. 2555 กําลังการ ผลิตหนังสือพิมพแตละฉบับในเครือเนชั่น เปนดังนี้ หนังสือพิมพ The Nation มีปริมาณการผลิต
  • 9. 9    เฉลี่ยตอวัน 59,000 – 61,000 ฉบับ หนังสือพิมพกรุงเทพธุรกิจ มีปริมาณการผลิตเฉลี่ยตอวัน 95,0000 – 100,000 ฉบับ และหนังสือพิมพคมชัดลึก มีปริมาณการผลิตเฉลี่ยตอวัน 300,000 – 400,000 ฉบับ นอกจากนี้ ธุรกิจหนังสือพิมพยังมีตนทุนคาเสียโอกาสจากความสามารถในการเขาถึง ตลาดที่ชากวาสื่อประเภทอื่นๆ เพราะหนังสือพิมพผลิตออกเปนสินคาสงถึงมือผูอานเปนรายวัน ในขณะที่สื่อประเภทอื่น โดยเฉพาะสื่อโทรทัศนและสื่ออินเทอรเน็ตมีความเร็วในการเขาถึง ผูบริโภคขาวสารเร็วกวาสื่อหนังสือพิมพ ทําใหสื่อโทรทัศนและสื่ออินเทอรเน็ตเปนสื่อที่ผูบริโภค นิยมใชเปนชองทางในการรับขาวสาร ปจจัยดังกลาว สงผลกระทบตอธุรกิจหนังสือพิมพ ทั้ง จํานวนคนอานที่ลดลง รายไดจากโฆษณาซึ่งเปนรายไดหลักของธุรกิจหนังสือพิมพที่ลดลง ทํา ใหหนังสือพิมพจําเปนตองปรับตัวเพื่อความอยูรอดทางธุรกิจ โดย Patrick Daniel ซึ่งเปน Editor-in-Chief ของหนังสือพิมพ English & Malay Newspaper บริษัท Singapore Press Holding จํากัด ไดใหความเห็นถึงทิศทางการปรับตัวของธุรกิจสื่อหนังสือพิมพในยุคดิจิทัลวา การปรับตัวของธุรกิจหนังสือพิมพในยุคดิจิทัลเปนสิ่งที่ตองทําเพื่อลดตนทุน และมองหารายได ใหม จากการนําเสนอขาวสารในรูปแบบใหมๆ ซึ่ง Daniel ไดใหแนวทางในการปรับตัวของธุรกิจ หนังสือพิมพวา ควรจะตองมีการผลิตหนังสือพิมพกระดาษควบคูไปกับการนําเสนอขาวสารใน รูปแบบดิจิทัล ในขณะที่ David Rowan บรรณาธิการนิตยสาร Wired มีความเห็นในทํานอง เดียวกันวา ธุรกิจหนังสือพิมพจะหวังรายไดจากโฆษณาเพียงอยางเดียวคงจะไมพอ ธุรกิจ หนังสือพิมพควรคิดสรางสินคาและบริการเพื่อสรางรายไดในรูปแบบอื่นๆ อาทิ รายไดจากการ ใหคนซื้อสินคาบนเว็บ การทําตัวเปนที่ปรึกษาดานการสื่อสาร การทําธุรกิจมหาวิทยาลัย และ การรวมมือกับชุมชนตางๆ บนอินเทอรเน็ต เปนตน (อัญญาวีร อุนสวัสดิ์อาภา, 2557) ในขณะที่บทความเรื่อง “องคกรสื่อและการเปลี่ยนแปลงรูปแบบทางธุรกิจของสื่อ” ของ สุดารัตน ดิษยวรรธนะ จันทราวัฒนากุล (2557) ระบุวา องคกรสื่อหนังสือพิมพในประเทศไทยมี การปรับกลยุทธทางธุรกิจและแสวงหารูปแบบธุรกิจใหมๆ ดวยการขยายธุรกิจไปยังธุรกิจสื่อ ประเภทอื่น และการขยายธุรกิจไปยังธุรกิจอื่นที่ไมใชธุรกิจขาว ซึ่งองคกรธุรกิจหนังสือพิมพ ขนาดใหญที่อยูในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยมีแนวโนมที่จะปรับตัวไดคอนขางเร็วกวา ปรับเปลี่ยนมากกวา และปรับเปลี่ยนสม่ําเสมอกวาองคกรธุรกิจหนังสือพิมพที่มีขนาดเล็กกวา หรือหนังสือพิมพที่เปนธุรกิจครอบครัว
  • 10. 10    เครือเนชั่นเปนธุรกิจสื่อหนังสือพิมพขนาดใหญที่อยูในตลาดหลักทรัพยฯ เปนองคกรสื่อ ที่มีสื่อครบวงจร ไดแก หนังสือพิมพ 3 ฉบับ สถานีโทรทัศน 2 ชอง สถานีวิทยุ สื่ออินเทอรเน็ต และสื่อดิจิทัล ที่ผานมาเครือเนชั่นมีการปรับตัวทางธุรกิจมาโดยตลอด ทั้งการปรับตัวเขาสูธุรกิจ รูปแบบใหมๆ ที่นอกเหนือจากธุรกิจหนังสือพิมพ มีการปรับโครงสรางองคกร ปรับโครงสราง ธุรกิจ และปรับกระบวนการทํางานของกองบรรณาธิการเขาสูการทํางานภายใตแนวคิดหองขาว แบบหลอมรวม (Convergence Newsroom) และมีการปรับรูปแบบการทําขาวดวยการ ประยุกตใชสื่อสังคมออนไลน นอกจากนี้ เครือเนชั่นยังเปนองคกรสื่อที่มีการใชกลยุทธการ สื่อสารการตลาด ทั้งการใชกลยุทธแบรนดบุคคล ตั้งแตแบรนดผูนําองคกร สุทธิชัย หยุน ลง มาถึงการใชกลยุทธแบรนดนักขาวภายใตสโลแกน “คนพันธุ N” รวมถึงมีการใชการสื่อสาร การตลาดเพื่อตอกย้ําภาพลักษณความเปนมืออาชีพในธุรกิจขาวที่มีจรรยาบรรณที่นําเสนอขาว ที่เชื่อถือได ผานสโลแกน “ในสนามขาวเราคือตัวจริง” และ “ผิดจากนี้ไมใชเรา” (ชีพธรรม คํา วิเศษณ, 2555) การศึกษา “การปรับตัวทางธุรกิจขององคกรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” เปน การศึกษาการปรับตัวขององคกรสื่อที่มีความเคลื่อนไหวในการปรับตัวทางและมีการใชกลยุทธ การสื่อสารการตลาดอยางหลากหลายและบูรณาการเปนสวนหนึ่งของกลยุทธองคกร ซึ่งผล การศึกษาเรื่องนี้สามารถใชเปนแนวทางการปรับตัวใหกับธุรกิจสื่อ และแนวทางในการศึกษากล ยุทธการสื่อสารการตลาดที่มีตอการปรับตัวเพื่อความอยูรอดและเพื่อการเติบโตของธุรกิจสื่อ หนังสือพิมพในยุคดิจิทัล
  • 11. 11    ปญหานําวิจัย 1. การปรับตัวทางธุรกิจของหนังสือพิมพเครือเนชั่นเปนอยางไร a. การปรับกลยุทธธุรกิจของเครือเนชั่น b. การปรับโครงสรางธุรกิจของเครือเนชั่น c. การปรับกระบวนการทํางานขององคกรภายในเครือเนชั่น 2. กลยุทธการสื่อสารการตลาดของเครือเนชั่นเปนอยางไร วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาการปรับตัวทางธุรกิจขององคกรสื่อในเครือเนชั่น 2. เพื่อศึกษากลยุทธการสื่อสารการตลาดของธุรกิจในเครือเนชั่น ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยชิ้นนี้จะศึกษาธุรกิจสื่อหนังสือพิมพและธุรกิจขาวในเครือเนชั่นในชวงป พ.ศ. 2538 ถึงป พ.ศ. 2557 ซึ่งเปนชวงเวลที่เครือเนชั่นเริ่มมีการนําเสนอขาวหนังสือพิมพบนสื่อ ออนไลน ไดแก เว็บไซตขาว จนถึงปจจุบัน นิยามศัพท การปรับตัวทางธุรกิจ หมายถึง การดําเนินงานธุรกิจโดยอาศัยการจัดการเชิงกลยุทธ (Strategic Management) ประกอบดวย การกําหนดวิสัยทัศน และการกําหนดภารกิจ หรือ กรอบการดําเนินงานที่ชัดเจนที่ชวยใหองคกรสามารถกําหนดทิศทางในระยะยาว รวมถึงการ วางแผนเชิงกลยุทธและกระบวนการทางการตลาด เพื่อใหองคกรไปถึงเปาหมายที่ไดกําหนดไว ได รวมถึงแนวทางการปรับเปลี่ยนรูปแบบและวิธีการดําเนินธุรกิจ ในดานการบริหารจัดการ องคกร การบริหารตนทุน การสรางรายได การสรางธุรกิจใหม และการสื่อสารการตลาด เครือเนชั่น หมายถึง บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย บริษัทรวม ที่ประกอบดวย 8 สายธุรกิจ ไดแก สายธุรกิจหนังสือพิมพภาษาอังกฤษ สายธุรกิจ หนังสือพิมพภาษาไทย สายธุรกิจหนังสือพิมพทั่วไปภาษาไทย สายธุรกิจการศึกษา บันเทิง
  • 12. 12    และตางประเทศ สายธุรกิจสื่อกระจายภาพและเสียงและสื่อใหม สายธุรกิจดานการพิมพ สาย ธุรกิจดานการขนสง และสายธุรกิจการศึกษา หนังสือพิมพเครือเนชั่น หมายถึง หนังสือพิมพที่ผลิตโดยเครือเนชั่น ซึ่งไดแก หนังสือพิมพรายวันภาษาไทย 2 ฉบับ ไดแก หนังสือพิมพคม ชัด ลึก และหนังสือพิมพกรุงเทพ ธุรกิจ และหนังสือพิมพรายวันภาษาอังกฤษ ไดแก หนังสือพิมพเดอะเนชั่น (The Nation) ยุคสื่อดิจิทัล ในการศึกษา หมายถึง ชวงเวลาตั้งแตป พ.ศ. 2538 ที่ธุรกิจหนังสือพิมพ ในประเทศไทยเริ่มมีการนําเสนอขาวหนังสือพิมพบนเว็บไซต จนถึงป พ.ศ. 2557 โดยในป พ.ศ. 2538 รัฐบาลไดประกาศใหเปนปเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ IT Year และในป พ.ศ. 2539 เครือ เนชั่นไดเปลี่ยนชื่อจากบริษัท เนชั่น พับลิชชิ้ง กรุป จํากัด (มหาชน) เปนบริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จํากัด (มหาชน) เพื่อใหสอดคลองและรองรับการพัฒนาของบริษัทที่จะมีความ หลากหลายทางดานสื่อมากขึ้น นอกเหนือไปจากการทําธุรกิจสื่อหนังสือพิมพ กลยุทธการสื่อสารการตลาด หมายถึง การวางแผนและการผสมผสานรูปแบบการ สื่อสารขอมูลขาวสารตางๆ ขององคกรในหลากหลายรูปแบบ อาทิ การโฆษณา การ ประชาสัมพันธ การสงเสริมการขาย การจัดกิจกรรมการตลาด เปนตน ทําการสื่อสารไปสู ผูบริโภคเพื่อใหบรรลุเปาหมายที่วางไว องคกรสื่อ หมายถึง สื่อมวลชนกระแสหลัก ที่จดทะเบียนธุรกิจเปนธุรกิจสื่อ และนักขาว และกองบรรณาธิการ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. ทําใหเขาใจการปรับตัวทางธุรกิจขององคกรสื่อเครือเนชั่นทามกลางแขงขันของสื่อที่ รุนแรงในยุคสื่อดิจิทัล 2. ทําใหเขาใจและเห็นการปรับตัวดานการสื่อสารการตลาดขององคกรสื่อเครือเนชั่นในยุค สื่อดิจิทัล ทั้งนี้เพื่อปนกรณีศึกษาของการใชกลยุทธการสื่อสารการตลาดของธุรกิจสื่อ 3. เปนประโยชนตอการศึกษาวิจัยทางดานธุรกิจสื่อตอไปในอนาคต