SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  6
Télécharger pour lire hors ligne
 
 
บทที่ 3
ระเบียบวิธีวิจัย
ในการวิจัยเรื่อง “การปรับตัวทางธุรกิจขององคกรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” เปนการ
วิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีจุดมุงหมายที่ตองการศึกษาถึงการปรับตัวทางธุรกิจขององคกรสื่อเครือ
เนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล
การวิจัยเรื่องนี้ อาศัยขอมูลจากการสัมภาษณเชิงลึก (In-depth Interview) และการ
วิเคราะหเอกสารตางๆ ที่เกี่ยวของ (Documentary Research) เพื่อนําขอมูลทั้งหมดมา
ประมวลผลสําหรับการวิเคราะห และอธิบายปรากฏการณตองการศึกษาโดยมีวิธีการดําเนินการ
วิจัย ดังนี้
แหลงขอมูล
แหลงขอมูลในการศึกษา แบงออกเปน
1. แหลงขอมูลประเภทบุคคล ใชวิธีสัมภาษณเชิงลึก (In-depth Interview) บุคคล
สําคัญในการบริหารงานของเครือเนชั่นเพื่อใหไดมาซึ่งยุทธศาสตรองคกร ปจจัยที่
ทําใหตองมีการปรับตัว แนวคิดในการปรับตัวทางธุรกิจ แนวทางการพัฒนาธุรกิจ
ปจจัยที่สงผลกระทบตอธุรกิจ ลักษณะการดําเนินงาน การจัดองคกร และการ
บริหาร ปญหาและอุปสรรคในการดําเนินงาน ตลอดจนรายละเอียดของธุรกิจตางๆ
ของเครือเนชั่น โดยบุคคลที่เปนผูใหขอมูลหลัก (Key Informant) ดังตารางที่ 3.1
60
 
 
ตาราง 3.1 รายชื่อผูใหขอมูลในการศึกษา
รายชื่อผูใหขอมูล ตําแหนง บทบาทในการใหขอมูล
สุทธิชัย หยุน ประธานกรรมการ
บมจ.เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป
ใหขอมูลทิศทางธุรกิจของเครือเนชั่น
นโยบายการปรับตัวทางธุรกิจ
หนังสือพิมพเครือเนชั่น
อดิศักดิ์ ลิมปรุงพัฒนกิจ กรรมการผูอํานวยการ
บมจ.เนชั่น บอรดแคสติ้ง
คอรปอเรชั่น
ใหขอมูลเรื่องการปรับตัวของเนชั่น
จากธุรกิจสื่อสิ่งพิมพสูธุรกิจโทรทัศน
และธุรกิจนิวมีเดียอื่นๆ และให
นโยบายการดําเนินธุรกิจของธุรกิจ
โทรทัศนเครือเนชั่น
ดวงกมล โชตะนา กรรมการผูอํานวยการ
บมจ.เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป
ใหขอมูลนโยบายธุรกิจของทุกสื่อใน
เครือเนชั่น และนโยบายการปรับตัว
ของธุรกิจสื่อในเครือเนชั่น
พนา จันทรวิโรจน กรรมการผูอํานวยการ
สายธุรกิจตางประเทศ
บมจ.เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป
ใหขอมูลนโยบายการขายธุรกิจใน
ตางประเทศของเครือเนชั่น
เทยชัย หยอง บรรณาธิการเครือเนชั่น ใหขอมูลทิศทางการปรับตัวของหอง
ขาวเครือเนชั่น และนโยบายการ
ทํางานของกองบรรณาธิการในเครือ
ณัฐวรา แสงวารินทร ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ
ฝายขายโฆษณา
บมจ.เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป
ใหขอมูลนโยบายการขายโฆษณา
ของสื่อในเครือเนชั่น และพัฒนาการ
รูปแบบการหารายไดจากการขาย
โฆษณาของสื่อในเครือเนชั่น
ชุตินธรา วัฒนกุล ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ
สายงานธุรกิจนิวมีเดีย
บมจ.เนชั่น บอรดแคสติ้ง
คอรปอเรชั่น
ใหขอมูลเรื่องนโยบายธุรกิจสื่อใหม
ของเครือเนชั่น และพัฒนาการของ
ธุรกิจสื่อใหมของเครือเนชั่น
นงคนาถ หานวิไล ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ
สายงานกลยุทธองคกรและ
CSR
บมจ.เนชั่น บอรดแคสติ้ง
คอรปอเรชั่น
ใหขอมูลเรื่องนโยบายและกลนุทธ
การสื่อสารการตลาดเพื่อการสราง
ภาพลักษณองคกรของเครือเนชั่น
61
 
 
2. แหลงขอมูลประเภทเอกสาร (Documentary Research) ไดแก ขอมูลที่เกี่ยวกับ
ประวัติความเปนมา พัฒนาการ การปรับตัวทางธุรกิจของเครือเนชั่น นอกจากนี้ ยัง
ศึกษาจากขอมูลในดานแหลงรายได ยอดจําหนาย ผลกําไร การเพิ่มทุนของบริษัท
ซึ่งผูศึกษาอาศัยแหลงขอมูลจากเอกสาร ดังตอไปนี้
a. หนังสือรายงานประจําปของเครือเนชั่น
b. ขาวที่เกี่ยวของกับกิจการของเครือเนชั่น
c. บทความจากหนังสือพิมพ วารสารตางๆ ที่เสนอเนื้อหาเกี่ยวกับการ
วิเคราะหธุรกิจหนังสือพิมพ
d. แบบรายงานผลการดําเนินการที่แจงตอตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
เพื่อใหทราบถึงรายได ผลกําไร และการเพิ่มทุนของเครือเนชั่น
e. เอกสารอื่นๆ เชน เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการสื่อสารมวลชน
บทสัมภาษณบุคคลภายในวงการหนังสือพิมพ งานวิจัย และวิทยานิพนธ
วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล
ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ผูศึกษาใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลดวยการเก็บรวบรวมขอมูล
จากเอกสารและการเก็บรวบรวมขอมูลจากบุคคลดวยการสัมภาษณเชิงลึก(In-depth Interview)
โดยมีการวางโครงสรางคําถามไวลวงหนาเพื่อใหการสอบถามไดอยางละเอียดและครอบคลุม
ประเด็นเนื้อหาที่ตองการศึกษาผูศึกษาเปนผูสัมภาษณดวยตนเองดวยการบันทึกเสียงสัมภาษณ
เพื่อเปนการเก็บรวบรวมขอมูลทั้งสวนที่เปนขอเท็จจริงและสวนที่เปนความคิดเห็นผูที่ถูก
สัมภาษณ โดยมีการวางโครงสรางคําถามใหสอดคลองกับวัตถุประสงคในการศึกษา ดังนี้
วัตถุประสงคขอที่ 1 เพื่อศึกษาการปรับตัวทางธุรกิจของหนังสือพิมพในเครือเนชั่น
การปรับกลยุทธธุรกิจของเครือเนชั่น
- เครือเนชั่นมียุทธศาสตรในการปรับธุรกิจในยุคสื่อดิจิทัลอยางไร
- กลยุทธหลักที่ใชในการปรับตัวทางธุรกิจคืออะไร
- นโยบายการปรับองคกรในภาพรวมเพื่อรองรับการปรับตัวทางธุรกิจเปนอยางไร
62
 
 
- เปาหมายของการปรับตัวทางธุรกิจของเครือเนชั่นคืออะไร
- กลยุทธการบริหารองคกรของทั้งเครือ รวมถึงปญหาและอุปสรรค
- ยุทธศาสตรการขยายธุรกิจออกตางประเทศของเครือเนชั่น
- ยุทธศาสตรทางธุรกิจของเครือเนชันในสนามธุรกิจสื่อดิจิทัล
- กลยุทธการตลาดดิจิทัลของเครือเนชั่น
การปรับโครงสรางธุรกิจของเครือเนชั่น
- โครงสรางทางธุรกิจของเครือเนชั่นประกอบดวยธุรกิจหลักอะไรบาง
- แตละธุรกิจมีเปาหมายและกลยุทธในการดําเนินการอยางไร
- กลยุทธการบริหารองคกรทั้งเครือ รวมถึงปญหาและอุปสรรค
- นโยบายองคกร โครงสรางองคกรที่จะตอบสนองตอการขยายธุรกิจจากสื่อหนังสือพิมพ
ไปสูสื่อโทรทัศน
การปรับกระบวนการทํางานขององคกรภายในเครือเนชั่น
- กลยุทธการปรับหองขาวสู Convergence Newsroom
- ปญหาและอุปสรรคของการผสาน Convergence Newsroom เขากับหองขาวที่มีอยูเดิม
ของสื่อในเครือเนชั่น
- ประโยชนและผลเสียของการปรับตัวสูการทํางานในรูปแบบหองขาวหลอมรวม
(Convergence Newsroom)
- ยุทธศาสตร Convergence Newsroom กับการขยายธุรกิจโทรทัศนเปนอยางไร
วัตถุประสงคขอที่ 2 เพื่อศึกษากลยุทธการสื่อสารการตลาดของธุรกิจในเครือเนชั่น
- ยุทธศาสตรการสื่อสารการตลาดของธุรกิจในเครือเนชั่น
- กลยุทธการสื่อสารการตลาดของธุรกิจในเครือเนชั่น
- การปรับกลยุทธการสื่อสารการตลาดของธุรกิจในเครือเนชั่น
- ยุทธศาสตรของฝายขายโฆษณาของสื่อในเครือเนชั่น
- การปรับกลยุทธของฝายขายโฆษณาของเครือเนชั่น
63
 
 
กรอบเกี่ยวกับขอมูลและวิเคราะหผล
(Data Collection and Analysis Framework)
ภาพที่ 3.1 กรอบเกี่ยวกับขอมูลและวิเคราะหผล
การเก็บขอมูล
จากการสัมภาษณเชิงลึก 
รวบรวมขอมูลสูการประมวลผล
จากการศึกษาจากเอกสาร 
1. การปรับกลยุทธธุรกิจ
2. การปรับโครงสรางธุรกิจ
3. การปรับกระบวนการทํางาน
ขององคกรภายใน
การปรับตัวทางธุรกิจ
โมเดล/ รูปแบบการปรับองคกรใหเปน
Innovative and Competitive Corporation
1. กลยุทธการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ
(IMC)
2. การสื่อสารแบรนด (Brand Communication)
•แบรนดองคกร
•แบรนดสื่อ
•แบรนดบุคคล
การปรับกลยุทธการสื่อสารการตลาด 
64
 
 
การตรวจสอบความนาเชื่อถือของขอมูล
สําหรับการศึกษาวิจัยครั้งนี้ผูศึกษาไดทําการตรวจสอบความนาเชื่อถือและความถูกตอง
ของขอมูล ดังนี้
1. ขอมูลประเภทบุคคลที่ไดจากการสัมภาษณ ใชวิธีการตรวจสอบโดยการถามคําถาม
ประเด็นเดียวกับกลุมตัวอยางหลายๆ คนภายในองคกรเพื่อตรวจสอบดูวาขอมูลที่
ใหมีความเชื่อถือ หรือสอดคลองตรงกันหรือไม รวมทั้งนําขอมูลนั้นมาตรวจสอบกับ
คําตอบที่ไดจากการสัมภาษณบุคคลภายนอกองคกรดวยเพื่อเปนการตรวจสอบ
ความถูกตองแมนยําของขอมูลอีกครั้ง
2. ขอมูลประเภทจากเอกสาร ใชการศึกษาและคนควาจากแหลงขอมูลหลายๆ
ประเภทเพื่อตรวจสอบความนาเชื่อถือและความถูกตองสอดคลองของขอมูลโดย
พิจารณาจากแหลงที่มาของขอมูล ชื่อผูเขียน ระบุตัวตน และเชื่อถือไดหรือไม วัน
และเวลาที่เขียนเปนขอมูลที่ทันสมัย ทันตอเหตุการณหรือไม
การวิเคราะหขอมูล
การวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพที่เก็บรวบรวมไดจากวิธีขางตน ผูศึกษาไดเลือกใช
เครื่องมือวิจัยเชิงคุณภาพในการวิเคราะหคือ การวิเคราะหตัวบทและเนื้อหา (Textual Analysis/
Content Analysis) เพราะเครื่องมือดังกลาวเปนเครื่องมือวิจัยที่มีความเปนกลาง มีระบบของ
ขอมูล (Berelson, 1952) สามารถชวยอธิบายการสื่อสาร เปาหมายของการสื่อสาร และ
ผลกระทบจากการสื่อสาร (Holsti, 1969) นอกจากนี้ การใช Content Anlysis ยังมีความ
เหมาะสมตอการใชศึกษารูปแบบ ลักษณะ และวิธีการปฏิบัติรอสถานการณเฉพาะ และการมี
ปฏิสัมพันธทางสังคมไดเปนอยางดี (Silverman, 2005) ดังนั้น การวิจัยโดยใชการวิเคราะหตัว
บทและเนื้อหา (Textual Analysis/ Content Analysis) จึงเปนวิธีที่ผูศึกษาเห็นวาเหมาะสมใน
การวิเคราะหเพื่อหาคําตอบตามวัตถุประสงคของการศึกษา
 

Contenu connexe

Tendances

ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
tungraya
 
ข้อมูล
ข้อมูลข้อมูล
ข้อมูล
tungraya
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
tungraya
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
chushi1991
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
chushi1991
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
chushi1991
 
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัยการสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
Chantana Papattha
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
fernsupawade
 
ผังมโนทัศ
ผังมโนทัศผังมโนทัศ
ผังมโนทัศ
Kanokkorn Harsuk
 
Reference service
Reference serviceReference service
Reference service
eden95487
 

Tendances (18)

Shreet4-5
Shreet4-5Shreet4-5
Shreet4-5
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูล
ข้อมูลข้อมูล
ข้อมูล
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้นประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้น
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูลจริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2
 
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัยการสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ข้อมูล สารสนเทศและความรู้
ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ข้อมูล สารสนเทศและความรู้
ข้อมูล สารสนเทศและความรู้
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
ผังมโนทัศ
ผังมโนทัศผังมโนทัศ
ผังมโนทัศ
 
Reference service
Reference serviceReference service
Reference service
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
การสืบค้น
การสืบค้นการสืบค้น
การสืบค้น
 

Similaire à บทที่ 3

Ict literacy
Ict literacyIct literacy
Ict literacy
Bodaidog
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444
bow4903
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
juice1414
 
ใบงานที่+..
ใบงานที่+..ใบงานที่+..
ใบงานที่+..
win_apitchaya
 

Similaire à บทที่ 3 (20)

Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
PPT qualitative research kriangkrai
PPT qualitative research kriangkraiPPT qualitative research kriangkrai
PPT qualitative research kriangkrai
 
คู่มือ practical data mining with rapid miner studio7
คู่มือ practical data mining with rapid miner studio7คู่มือ practical data mining with rapid miner studio7
คู่มือ practical data mining with rapid miner studio7
 
Research student chapter 3
Research student chapter 3Research student chapter 3
Research student chapter 3
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
 
บทที่ 3 การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)
บทที่ 3  การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)บทที่ 3  การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)
บทที่ 3 การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)
 
Qualitative research - Somruethai
Qualitative research - SomruethaiQualitative research - Somruethai
Qualitative research - Somruethai
 
ICT Literacy
ICT LiteracyICT Literacy
ICT Literacy
 
Ict literacy
Ict literacyIct literacy
Ict literacy
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444
 
Oo
OoOo
Oo
 
นำเสนอความก้าวหน้า
นำเสนอความก้าวหน้านำเสนอความก้าวหน้า
นำเสนอความก้าวหน้า
 
Km3
Km3Km3
Km3
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
ใบงานที่+..
ใบงานที่+..ใบงานที่+..
ใบงานที่+..
 
9789740330691
97897403306919789740330691
9789740330691
 

Plus de Asina Pornwasin

ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Asina Pornwasin
 
Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Asina Pornwasin
 
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชนผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
Asina Pornwasin
 
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘ หัวข้อ “ปฏิวัติค...
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘  หัวข้อ “ปฏิวัติค...สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘  หัวข้อ “ปฏิวัติค...
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘ หัวข้อ “ปฏิวัติค...
Asina Pornwasin
 
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อ
Asina Pornwasin
 

Plus de Asina Pornwasin (20)

Social media and jr
Social media and jrSocial media and jr
Social media and jr
 
เพจหรือสื่อ กูรู(รู้)คือใคร
เพจหรือสื่อ  กูรู(รู้)คือใครเพจหรือสื่อ  กูรู(รู้)คือใคร
เพจหรือสื่อ กูรู(รู้)คือใคร
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
newspaper to content provider
newspaper to content provider newspaper to content provider
newspaper to content provider
 
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าว
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าวการใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าว
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าว
 
มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...
มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...
มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...
 
Sm4 pr
Sm4 prSm4 pr
Sm4 pr
 
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
 
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชนผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
 
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘ หัวข้อ “ปฏิวัติค...
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘  หัวข้อ “ปฏิวัติค...สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘  หัวข้อ “ปฏิวัติค...
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘ หัวข้อ “ปฏิวัติค...
 
Sm4 investigativereport
Sm4 investigativereportSm4 investigativereport
Sm4 investigativereport
 
Convergence Journalism
Convergence JournalismConvergence Journalism
Convergence Journalism
 
Sm4 jr nt
Sm4 jr ntSm4 jr nt
Sm4 jr nt
 
Convergent newsroom
Convergent newsroomConvergent newsroom
Convergent newsroom
 
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อ
 

บทที่ 3

  • 1.     บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย ในการวิจัยเรื่อง “การปรับตัวทางธุรกิจขององคกรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” เปนการ วิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีจุดมุงหมายที่ตองการศึกษาถึงการปรับตัวทางธุรกิจขององคกรสื่อเครือ เนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล การวิจัยเรื่องนี้ อาศัยขอมูลจากการสัมภาษณเชิงลึก (In-depth Interview) และการ วิเคราะหเอกสารตางๆ ที่เกี่ยวของ (Documentary Research) เพื่อนําขอมูลทั้งหมดมา ประมวลผลสําหรับการวิเคราะห และอธิบายปรากฏการณตองการศึกษาโดยมีวิธีการดําเนินการ วิจัย ดังนี้ แหลงขอมูล แหลงขอมูลในการศึกษา แบงออกเปน 1. แหลงขอมูลประเภทบุคคล ใชวิธีสัมภาษณเชิงลึก (In-depth Interview) บุคคล สําคัญในการบริหารงานของเครือเนชั่นเพื่อใหไดมาซึ่งยุทธศาสตรองคกร ปจจัยที่ ทําใหตองมีการปรับตัว แนวคิดในการปรับตัวทางธุรกิจ แนวทางการพัฒนาธุรกิจ ปจจัยที่สงผลกระทบตอธุรกิจ ลักษณะการดําเนินงาน การจัดองคกร และการ บริหาร ปญหาและอุปสรรคในการดําเนินงาน ตลอดจนรายละเอียดของธุรกิจตางๆ ของเครือเนชั่น โดยบุคคลที่เปนผูใหขอมูลหลัก (Key Informant) ดังตารางที่ 3.1
  • 2. 60     ตาราง 3.1 รายชื่อผูใหขอมูลในการศึกษา รายชื่อผูใหขอมูล ตําแหนง บทบาทในการใหขอมูล สุทธิชัย หยุน ประธานกรรมการ บมจ.เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป ใหขอมูลทิศทางธุรกิจของเครือเนชั่น นโยบายการปรับตัวทางธุรกิจ หนังสือพิมพเครือเนชั่น อดิศักดิ์ ลิมปรุงพัฒนกิจ กรรมการผูอํานวยการ บมจ.เนชั่น บอรดแคสติ้ง คอรปอเรชั่น ใหขอมูลเรื่องการปรับตัวของเนชั่น จากธุรกิจสื่อสิ่งพิมพสูธุรกิจโทรทัศน และธุรกิจนิวมีเดียอื่นๆ และให นโยบายการดําเนินธุรกิจของธุรกิจ โทรทัศนเครือเนชั่น ดวงกมล โชตะนา กรรมการผูอํานวยการ บมจ.เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป ใหขอมูลนโยบายธุรกิจของทุกสื่อใน เครือเนชั่น และนโยบายการปรับตัว ของธุรกิจสื่อในเครือเนชั่น พนา จันทรวิโรจน กรรมการผูอํานวยการ สายธุรกิจตางประเทศ บมจ.เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป ใหขอมูลนโยบายการขายธุรกิจใน ตางประเทศของเครือเนชั่น เทยชัย หยอง บรรณาธิการเครือเนชั่น ใหขอมูลทิศทางการปรับตัวของหอง ขาวเครือเนชั่น และนโยบายการ ทํางานของกองบรรณาธิการในเครือ ณัฐวรา แสงวารินทร ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ ฝายขายโฆษณา บมจ.เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป ใหขอมูลนโยบายการขายโฆษณา ของสื่อในเครือเนชั่น และพัฒนาการ รูปแบบการหารายไดจากการขาย โฆษณาของสื่อในเครือเนชั่น ชุตินธรา วัฒนกุล ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สายงานธุรกิจนิวมีเดีย บมจ.เนชั่น บอรดแคสติ้ง คอรปอเรชั่น ใหขอมูลเรื่องนโยบายธุรกิจสื่อใหม ของเครือเนชั่น และพัฒนาการของ ธุรกิจสื่อใหมของเครือเนชั่น นงคนาถ หานวิไล ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สายงานกลยุทธองคกรและ CSR บมจ.เนชั่น บอรดแคสติ้ง คอรปอเรชั่น ใหขอมูลเรื่องนโยบายและกลนุทธ การสื่อสารการตลาดเพื่อการสราง ภาพลักษณองคกรของเครือเนชั่น
  • 3. 61     2. แหลงขอมูลประเภทเอกสาร (Documentary Research) ไดแก ขอมูลที่เกี่ยวกับ ประวัติความเปนมา พัฒนาการ การปรับตัวทางธุรกิจของเครือเนชั่น นอกจากนี้ ยัง ศึกษาจากขอมูลในดานแหลงรายได ยอดจําหนาย ผลกําไร การเพิ่มทุนของบริษัท ซึ่งผูศึกษาอาศัยแหลงขอมูลจากเอกสาร ดังตอไปนี้ a. หนังสือรายงานประจําปของเครือเนชั่น b. ขาวที่เกี่ยวของกับกิจการของเครือเนชั่น c. บทความจากหนังสือพิมพ วารสารตางๆ ที่เสนอเนื้อหาเกี่ยวกับการ วิเคราะหธุรกิจหนังสือพิมพ d. แบบรายงานผลการดําเนินการที่แจงตอตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เพื่อใหทราบถึงรายได ผลกําไร และการเพิ่มทุนของเครือเนชั่น e. เอกสารอื่นๆ เชน เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการสื่อสารมวลชน บทสัมภาษณบุคคลภายในวงการหนังสือพิมพ งานวิจัย และวิทยานิพนธ วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ผูศึกษาใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลดวยการเก็บรวบรวมขอมูล จากเอกสารและการเก็บรวบรวมขอมูลจากบุคคลดวยการสัมภาษณเชิงลึก(In-depth Interview) โดยมีการวางโครงสรางคําถามไวลวงหนาเพื่อใหการสอบถามไดอยางละเอียดและครอบคลุม ประเด็นเนื้อหาที่ตองการศึกษาผูศึกษาเปนผูสัมภาษณดวยตนเองดวยการบันทึกเสียงสัมภาษณ เพื่อเปนการเก็บรวบรวมขอมูลทั้งสวนที่เปนขอเท็จจริงและสวนที่เปนความคิดเห็นผูที่ถูก สัมภาษณ โดยมีการวางโครงสรางคําถามใหสอดคลองกับวัตถุประสงคในการศึกษา ดังนี้ วัตถุประสงคขอที่ 1 เพื่อศึกษาการปรับตัวทางธุรกิจของหนังสือพิมพในเครือเนชั่น การปรับกลยุทธธุรกิจของเครือเนชั่น - เครือเนชั่นมียุทธศาสตรในการปรับธุรกิจในยุคสื่อดิจิทัลอยางไร - กลยุทธหลักที่ใชในการปรับตัวทางธุรกิจคืออะไร - นโยบายการปรับองคกรในภาพรวมเพื่อรองรับการปรับตัวทางธุรกิจเปนอยางไร
  • 4. 62     - เปาหมายของการปรับตัวทางธุรกิจของเครือเนชั่นคืออะไร - กลยุทธการบริหารองคกรของทั้งเครือ รวมถึงปญหาและอุปสรรค - ยุทธศาสตรการขยายธุรกิจออกตางประเทศของเครือเนชั่น - ยุทธศาสตรทางธุรกิจของเครือเนชันในสนามธุรกิจสื่อดิจิทัล - กลยุทธการตลาดดิจิทัลของเครือเนชั่น การปรับโครงสรางธุรกิจของเครือเนชั่น - โครงสรางทางธุรกิจของเครือเนชั่นประกอบดวยธุรกิจหลักอะไรบาง - แตละธุรกิจมีเปาหมายและกลยุทธในการดําเนินการอยางไร - กลยุทธการบริหารองคกรทั้งเครือ รวมถึงปญหาและอุปสรรค - นโยบายองคกร โครงสรางองคกรที่จะตอบสนองตอการขยายธุรกิจจากสื่อหนังสือพิมพ ไปสูสื่อโทรทัศน การปรับกระบวนการทํางานขององคกรภายในเครือเนชั่น - กลยุทธการปรับหองขาวสู Convergence Newsroom - ปญหาและอุปสรรคของการผสาน Convergence Newsroom เขากับหองขาวที่มีอยูเดิม ของสื่อในเครือเนชั่น - ประโยชนและผลเสียของการปรับตัวสูการทํางานในรูปแบบหองขาวหลอมรวม (Convergence Newsroom) - ยุทธศาสตร Convergence Newsroom กับการขยายธุรกิจโทรทัศนเปนอยางไร วัตถุประสงคขอที่ 2 เพื่อศึกษากลยุทธการสื่อสารการตลาดของธุรกิจในเครือเนชั่น - ยุทธศาสตรการสื่อสารการตลาดของธุรกิจในเครือเนชั่น - กลยุทธการสื่อสารการตลาดของธุรกิจในเครือเนชั่น - การปรับกลยุทธการสื่อสารการตลาดของธุรกิจในเครือเนชั่น - ยุทธศาสตรของฝายขายโฆษณาของสื่อในเครือเนชั่น - การปรับกลยุทธของฝายขายโฆษณาของเครือเนชั่น
  • 5. 63     กรอบเกี่ยวกับขอมูลและวิเคราะหผล (Data Collection and Analysis Framework) ภาพที่ 3.1 กรอบเกี่ยวกับขอมูลและวิเคราะหผล การเก็บขอมูล จากการสัมภาษณเชิงลึก  รวบรวมขอมูลสูการประมวลผล จากการศึกษาจากเอกสาร  1. การปรับกลยุทธธุรกิจ 2. การปรับโครงสรางธุรกิจ 3. การปรับกระบวนการทํางาน ขององคกรภายใน การปรับตัวทางธุรกิจ โมเดล/ รูปแบบการปรับองคกรใหเปน Innovative and Competitive Corporation 1. กลยุทธการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ (IMC) 2. การสื่อสารแบรนด (Brand Communication) •แบรนดองคกร •แบรนดสื่อ •แบรนดบุคคล การปรับกลยุทธการสื่อสารการตลาด 
  • 6. 64     การตรวจสอบความนาเชื่อถือของขอมูล สําหรับการศึกษาวิจัยครั้งนี้ผูศึกษาไดทําการตรวจสอบความนาเชื่อถือและความถูกตอง ของขอมูล ดังนี้ 1. ขอมูลประเภทบุคคลที่ไดจากการสัมภาษณ ใชวิธีการตรวจสอบโดยการถามคําถาม ประเด็นเดียวกับกลุมตัวอยางหลายๆ คนภายในองคกรเพื่อตรวจสอบดูวาขอมูลที่ ใหมีความเชื่อถือ หรือสอดคลองตรงกันหรือไม รวมทั้งนําขอมูลนั้นมาตรวจสอบกับ คําตอบที่ไดจากการสัมภาษณบุคคลภายนอกองคกรดวยเพื่อเปนการตรวจสอบ ความถูกตองแมนยําของขอมูลอีกครั้ง 2. ขอมูลประเภทจากเอกสาร ใชการศึกษาและคนควาจากแหลงขอมูลหลายๆ ประเภทเพื่อตรวจสอบความนาเชื่อถือและความถูกตองสอดคลองของขอมูลโดย พิจารณาจากแหลงที่มาของขอมูล ชื่อผูเขียน ระบุตัวตน และเชื่อถือไดหรือไม วัน และเวลาที่เขียนเปนขอมูลที่ทันสมัย ทันตอเหตุการณหรือไม การวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพที่เก็บรวบรวมไดจากวิธีขางตน ผูศึกษาไดเลือกใช เครื่องมือวิจัยเชิงคุณภาพในการวิเคราะหคือ การวิเคราะหตัวบทและเนื้อหา (Textual Analysis/ Content Analysis) เพราะเครื่องมือดังกลาวเปนเครื่องมือวิจัยที่มีความเปนกลาง มีระบบของ ขอมูล (Berelson, 1952) สามารถชวยอธิบายการสื่อสาร เปาหมายของการสื่อสาร และ ผลกระทบจากการสื่อสาร (Holsti, 1969) นอกจากนี้ การใช Content Anlysis ยังมีความ เหมาะสมตอการใชศึกษารูปแบบ ลักษณะ และวิธีการปฏิบัติรอสถานการณเฉพาะ และการมี ปฏิสัมพันธทางสังคมไดเปนอยางดี (Silverman, 2005) ดังนั้น การวิจัยโดยใชการวิเคราะหตัว บทและเนื้อหา (Textual Analysis/ Content Analysis) จึงเปนวิธีที่ผูศึกษาเห็นวาเหมาะสมใน การวิเคราะหเพื่อหาคําตอบตามวัตถุประสงคของการศึกษา