SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  31
Nursing ConferenceNursing Conference
Tanon yodya No. 14
Emergency nurse 5
Emergency Medical
Service
EMS
1. Dispatch and response
2. Preparing
3.On scene care
3.1 Scene size up
3.2 Patient assessment
3.3 Triage
5. Diagnosis
6. Care in transit
7. Transferto definitive care
1. Dispatch and
response
1. Dispatch and
response
รับแจ้งจากศูนย์เอราวัณ เวลา 21.48 น. ให้ทีมกู้ชีพเลิด
สิน ออกปฏิบัติการรับผู้ป่วยหญิง อายุ 71 ปี ด้วยอาการ
อาเจียนเป็นเลือด ซึม Hx. DM
ข้อมูล
เวลา
รับ
แจ้ง
สั่ง
การ
ออก
ปฏิบัติ
การ
ถึงที่
เกิด
เหตุ
ออกจาก
ที่
เกิดเหตุ
ถึงโรง
พยาบา
ล
ถึงฐาน
เวลา
( น . )
21.48 21.48 21.48 21.56 22.15 22.21 22.22
รวม
เวลา
( นาที )
Response time = 8 นาที
19 นาที
1นาที
เลข กม. 98332 กม. 98335 กม. 98337 98337
ระยะ
ทาง
รวมระยะทางไป 3 กม.
ระยะทางกลับ 1 กม.
ระยะทางไป 2 กม.
การวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสาร/ความ
เสี่ยง/ภาวะสุขภาพ
การวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสาร/ความ
เสี่ยง/ภาวะสุขภาพ
• ระดับความรู้สึกตัวลดลง เนื่องจาก ในภาวะ
เลือดออกในสมอง
• เลือดออกจากหัวใจในหนึ่งนาทีลดลง เนื่องจาก
มีเลือดออกในระบบทางเดินอาหาร
• ระดับความรู้สึกตัวลดลง เนื่องจาก ระดับในตาล
ในกระแสเลือดตำ่า/นำ้าตาลในกระแสเลือดสูง
2. Preparing2. Preparing
Body Substance
Isolation : BSI
- ถุงมือ disposable
- Surgical mask
Airway equipment - เครื่อง Suction และสาย
Suction
- Oropharyngeal airway.
no.2,3
Breathing equipment - ถัง O2 ขนาดเล็ก พร้อมสาย
ต่อ Oxygen
- Self inflation bag with
reservoirbag
- O2 Maskc-
bag
-O2 cannula
- ET tube ON.7, 7.5, 8
Circulation equipment - 0.9% NSS 1,000 ml.,
5%D/N/2 1,000 ml.
- ชุดให้สารนำ้าทางหลอดเลือด
ดำา(ผู้ใหญ่)
- AED
- กระเป๋ายาฉุกเฉิน
- ผ้าห่ม
Lifting and moving - Long spinal board
- Belt 3 เส้น
- Wheeled stretcher
ผ้ายางกัน
เปื้อน
1. Scene size up
• Body substance isolation : BSI
• Scene safety
• Nature of illness : NOI
• Numberof patient
• Additional resource
3. On scene care3. On scene care
Scene safetyScene safety
https://www.google.co.thhttps://www.google.co.th
www.warrenphotographic.co.uk/12425-labrador-x-golden-retriever-dog-pup.
Nature of illnessNature of illness
ที่มา: สิริกาญจน์ ยามา
ดะ . 2557
Varices 10%
Peptic ulcer
75%
Mallory
weiss
syndrome
5%
Tumors 5 %
Nature of illnessNature of illness
Blood loss
Venous return
Stroke volume
Cardiac out put
Poor tissue perfusion
Brain KidneyHeart Lung
Loss of Contractilit Tachypnea Na+
, H2O
Drowsin
ess
Drowsin
ess
120
/min
120
/min
36 /min36 /min
ไม่
ปัสสาว
ะลดลง
ไม่
ปัสสาว
ะลดลง
2. Patient assessment
• Initial assessment : GRABC
• Focus assessment
• Detail assessment
4. On scene care4. On scene care
Initial AssessmentInitial Assessment
• General appearance : พบผู้ป่วยหญิง
1 ราย วัยสูงอายุ รูปร่างท้วม หายใจ
เร็ว ท้องบวมตึง ผิวหนังซีดขาว เหงื่อ
ออกทั่วตัว มีเศษอาเจียนเป็นเลือดปน
นำ้าลายเปื้อนเสื้อและที่นอน อยู่บนที่นอน
ชั้นล่าง ในท่านอนตะแคงกึ่งควำ่า
• Response : Alert
การประเมิน การให้การช่วยเหลือ
Airway
- Clear
Airway management
- Dorsal position
Breathing
- Tachypnea
- Normal chest
movement
Breathing management
- O2 mask with reservoir
bag 10 LPM.
Circulation
- Weakly pulse and
fast.
-Capillary Refill time >
2 sec.
-Sweating and cool skin,
mild pale, poor skin tugor
Circulation
management
- On 0.9% NSS 1,000 cc
IV 120 cc/hr.
- Keep Warm
Focus AssessmentFocus Assessment
Focus Assessment Intervention
Level of conscious
Drowsiness, GCS E4V5M6
pupil 3 mm RTLBE.
- ประเมิน GCS, V/S, N/S,
SPO2 q 5 min
Airway : Clear, no neck
vein engorgement, no
trachea deviation.
- Dorsal position
Breathing : Normal chest
movement, lung clear,
SPO2 98 %, RR=28/min.
- ดูแลการได้ O2 mask with
reservoir bag 10 LPM.
ต่อเนื่อง
Circulation : Weakly pulse
120 /min regular,
sweating skin, mild pale,
poor skin tugor, no
cyanosis, DTX 133 mg%
- ดูแลการได้รับ 0.9% NSS
1,000 ml Vein load 200
cc.
SAMPLESAMPLE
• Signs and Symptom : 2 วันก่อนแจ้งเหตุ มี
อาการอาเจียนเป็นเลือดอออก 50 ซีซี ไม่มีถ่ายอุจจาระ
เป็นสีดำา ทานอาหารได้น้อยลง ไม่ได้รับการรักษา
: 4 ชั่วโมงก่อนแจ้งเหตุ มีอาการอาเจียนเป็นเลือดสด
ออกประมาณ 200 ซีซี ไม่มีถ่ายดำา 30 นาที ก่อนแจ้ง
เหตุมีอาการอาเจียนเป็นเลือดปนนำ้าลาย ซึมลง
• Allergies : ผู้ป่วยไม่มีประวัติแพ้ยาและอาหาร
• Medication : ญาติดูแลเรื่องการให้ยา DM, CKD,
liver chrirosis, CHF เป็นประจำาไม่ขาดยา
• Past illness : ประวัติรักษาโรค DM รับการรักษาด้วย
ยาเม็ด แพทย์พิจารณาให้หยุดยา 1 เดือนก่อน โรค liver
chrirosis มา 3 ปี, โรค CHF 1ปีก่อน, โรค CKD 6
• Last meal : รับประทานอาหารล่าสุดมื้อเช้า
เวลา 07.30 น.
(5 พ.ค 2557)
• Events : 30 นาทีก่อนแจ้งเหตุมีอาการ
อาเจียนเป็นเลือดปนนำ้าลาย ซึมลง ญาติจึง
โทรศัพท์แจ้งเหตุ
4. Triage4. Triage
• ระดับ Emergency เนื่องจาก ผู้ป่วยเหงื่อ
ออก ลำาตัวเย็น ปลายมือปลายเท้าซีดขาว ชีพจร
เบาเร็ว PR= 120 /min, หายใจเร็วRR= 36
/min ระดับความรู้สึกตัวลดลง มีอาเจียนเป็น
เลือด อยู่ในภาวะช็อกระดับ 3 จำาเป็นต้องได้รับ
การรักษาอย่างทันที.
Problem ListProblem List
• Hypoxia
• Shock
• UGIH
• UGIHwith Hypovolemic shock
DiagnosisDiagnosis
5. Care in transit5. Care in transit
Detailed Physical AssessmentDetailed Physical Assessment
การประเมิน การให้การช่วยเหลือ
Level of conscious alertness, E4V5M6,
pupils 3 mmRTLBE.
Airway
- Claer
Breathing
- Normal cheat movement, O2 sat 98-
100 %
Circulation
- BP=90/50 mmHg, Pulse 120 /min
regular and weakly, sweating skin,
mild pale, no cyanosis, poor skin
tugor, capillary refill >2 sec.
Head and Neck
Head : Symmetry.
Eye: Icteric sclera,pupils 3
mmRTLBE.
Ear : Symmetry, no othorrhea .
Nose : Symmetry ,no crepitation, no
- ประเมิน GCS, V/S, N/S, O2 sat
ซำ้าทุก 10 นาที
- ดูแลการจัดท่านอนหงายราบ
- ดูแลการได้รับ O2 mask with
reservoir bag 10 LPM. ต่อเนื่อง
- ดูแล0.9% NSS 1,000 ml Vein
load 200 cc หลังให้ IVF ครบ
200 cc vital sign
BP=90/60 mmHg , MAP 70
mmHg,
P =120 /min , RR=28 /min,
-พิจารณาให้ IVF 0.9% NSS 1,000
cc Vein load 200 cc หลังให้ IVF
ครบ 200 cc
Vital sign : BP=100/60 mmHg,
MAP= 73.33 mmHg, PR=
120 /min, RR=28 /min.
-ดูแลการได้รับ 0.9%NSS 1,000 cc
การประเมิน การให้การช่วยเหลือ
Chest and Lung
Visual : Normal chest
movement.
Auscultation : Lung clear,
equal breathing sound
Palpation : No subcutaneous
emphysema, normal lung
explanation.
Percussion : Resonance equal
both lung.
Abdomen
- Visual : Ascitis
- Auscultation : Decrease
bowel sound.
- Percussion: Tympany sound.
- Palpation : Liver enlargement
3 FB.
- Extremities : Pitting edema
การรายงานอาการผู้ป่วย
ระหว่างนำาส่ง
การรายงานอาการผู้ป่วย
ระหว่างนำาส่ง
• รถกู้ชีพเลิดสิน คนที่ 6 แจ้งศูนย์กู้ชีพเลิดสิน นำา
ผู้ป่วยหญิง 1 ราย ประวัติ Liverchrirosis, DM,
CKD, CHF มีอาการอาเจียนเป็นเลือด
• แรกพบ E4V5M6 ระดับความรู้สึกตัวลดลง ผู้ป่วย
เหงื่อออก ลำาตัวเย็น ปลายมือปลายเท้าซีดขาว
ชีพจรเบาเร็ว PR= 120 /min, หายใจเร็ว RR=
36 /min, BP=90/50 mmHg.
• ทีมกู้ชีพให้การช่วยเหลือโดย On O2 maskwith
reservoirbag 10 LPM, On 0.9% NSS 1,000 cc
Vein load 200 cc XII
• หลังได้รับการช่วยเหลือ ผู้ป่วยรู้สึกตัวดีขึ้น ถาม
• โรงพยาบาลเลิดสิน
• การสื่อสารเมื่อถึงมาโรงพยาบาล
แจ้งศูนย์กู้ชีพเลิดสิน ว. 22 โรงพยาบาลเลิดสิน
หมายเลขไมล์ 98337
Transferto definitive careTransferto definitive care
ส่งมอบผู้ป่วยกับทีมแพทย์และพยาบาลห้อง
ฉุกเฉินโรงพยาบาลเลิดสิน ด้วยวาจาและแบบ
บันทึกการปฏิบัติการ
รับแจ้งและสั่งการจากศูนย์เอราวัณเวลา
21.48 น. ออกรับผู้ป่วยหญิง 1 ราย สถานที่
ม.16 ซ.สาทร 15 แยก 2 แขวงทุ่งวัดดอน เขต
สาทร กรุงเทพ พื้นที่ สน.ยานนาวา ด้วยอาการ
อาเจียนเป็นเลือด
แรกรับผู้ป่วยมีอาการ พบ E4V5M6 ระดับ
ความรู้สึกตัวลดลง ผู้ป่วยเหงื่อออก ลำาตัวเย็น
การส่งมอบผู้ป่วยการส่งมอบผู้ป่วย
ทีมกู้ชีพให้การช่วยเหลือโดย On O2
maskwith reservoirbag 10 LPM, On 0.9%
NSS 1,000 cc Vein load 200 cc XII
หลังได้รับการช่วยเหลือ ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี
ขึ้น ถามตอบรู้เรื่อง vital sign BP=100/60
mmHg, P=120 /min, RR= 28 /min, SOP298
% โรงพยาบาลเลิดสิน ตามประวัติการ
ตรวจรักษา
• เรียนรู้ระบบการปฏิบัติงานของทีมกู้ชีพ
เลิดสินในการออกปฏิบัติการ
1. การรับแจ้งเหตุและการสั่งการ
2. การประสานงานและการสื่องานข้อมูล
3. การวิเคราะห์ข้อมูลผู้ป่วยและการ
วางแผนในการช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉิน
4. การทำางานเป็นทีม
• เรียนรู้กระบวนการช่วยเหลือผู้ป่วย ณ. จุด
เกิดเหตุ ในสภาวะที่มีของและอุปกรณ์
จำากัดให้ผู้ป่วยทุเลาลงจากภาวะคุกคาม
สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการปฏิบัติ
งาน
สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการปฏิบัติ
งาน
• ไม่พบว่ามีข้อมูลการช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้อง
ต้นของญาติได้ช่วยอะไรบ้าง เพื่อทาง
ศูนย์กู้ชีพจะได้ให้คำาแนะนำาการช่วยเหลือ
เบื้องต้นก่อนที่รถ EMS จะไปถึง
• การประสานงานกับญาติในเรื่องของการ
ประเมินผู้ป่วยเบื้องต้นยังมีประสิทธิภาพ
ไม่เพียงพอ เนื่องจาก พยาบาลหัวหน้าทีม
เป็นผู้โทรประสานระหว่างการเดินทางไป
บ้านผู้ป่วย จึงทำาให้การสื่อสารคลาด
เคลื่อนจากเสียงของไซเรน หรือเสียงของ
ข้อเสนอแนะ/โอกาสในการ
พัฒนา
ข้อเสนอแนะ/โอกาสในการ
พัฒนา
• ทางเดินเข้าบ้านผู้ป่วยค่อนข้างมืด และ
ห่างจากระยะที่ไฟของรถส่องสว่างถึง จึง
ควรมีไฟฉายส่องนำาทางระหว่างการ
เคลื่อนย้ายผู้ป่วยจากบ้านถึงรถ
Ambulance
• ควรมีผ้ายางกันเปื้อนคลุมก่อนนำาผู้ป่วย
ขึ้น wheeled stretcherเพื่อป้องกันการ
ไหลของเลือดหรือสารคัดหลั่งภายในรถ
ambulance

Contenu connexe

Tendances

Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceBasic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceLoveis1able Khumpuangdee
 
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryClinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryUtai Sukviwatsirikul
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNarenthorn EMS Center
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009taem
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อUtai Sukviwatsirikul
 
Multiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situationsMultiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situationstaem
 
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดการดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดtechno UCH
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
เอกสารสอนเสริม
เอกสารสอนเสริมเอกสารสอนเสริม
เอกสารสอนเสริมeratchawa
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...Chutchavarn Wongsaree
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลpiyarat wongnai
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทยแนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทยUtai Sukviwatsirikul
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองChutchavarn Wongsaree
 

Tendances (20)

Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceBasic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
 
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryClinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
 
Multiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situationsMultiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situations
 
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดการดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
เอกสารสอนเสริม
เอกสารสอนเสริมเอกสารสอนเสริม
เอกสารสอนเสริม
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
CAD IHD and VHD
CAD IHD and VHDCAD IHD and VHD
CAD IHD and VHD
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทยแนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
 

Similaire à Ems hypovolemic shock

Group discussion GA.pdf
Group discussion GA.pdfGroup discussion GA.pdf
Group discussion GA.pdfStafarne
 
Present vs+cns9701
Present vs+cns9701 Present vs+cns9701
Present vs+cns9701 techno UCH
 
Osce examination si116
Osce examination si116Osce examination si116
Osce examination si116vora kun
 
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfTraum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfKrongdai Unhasuta
 
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxxการดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxxeremslad
 
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจSusheewa Mulmuang
 

Similaire à Ems hypovolemic shock (10)

Group discussion GA.pdf
Group discussion GA.pdfGroup discussion GA.pdf
Group discussion GA.pdf
 
Blunt chest injury
Blunt chest injuryBlunt chest injury
Blunt chest injury
 
Spinal injury
Spinal injurySpinal injury
Spinal injury
 
Present vs+cns9701
Present vs+cns9701 Present vs+cns9701
Present vs+cns9701
 
Shock
ShockShock
Shock
 
Osce examination si116
Osce examination si116Osce examination si116
Osce examination si116
 
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfTraum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
 
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxxการดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
 
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
PACU
PACUPACU
PACU
 

Ems hypovolemic shock

  • 1. Nursing ConferenceNursing Conference Tanon yodya No. 14 Emergency nurse 5 Emergency Medical Service
  • 2. EMS 1. Dispatch and response 2. Preparing 3.On scene care 3.1 Scene size up 3.2 Patient assessment 3.3 Triage 5. Diagnosis 6. Care in transit 7. Transferto definitive care
  • 3. 1. Dispatch and response 1. Dispatch and response รับแจ้งจากศูนย์เอราวัณ เวลา 21.48 น. ให้ทีมกู้ชีพเลิด สิน ออกปฏิบัติการรับผู้ป่วยหญิง อายุ 71 ปี ด้วยอาการ อาเจียนเป็นเลือด ซึม Hx. DM ข้อมูล เวลา รับ แจ้ง สั่ง การ ออก ปฏิบัติ การ ถึงที่ เกิด เหตุ ออกจาก ที่ เกิดเหตุ ถึงโรง พยาบา ล ถึงฐาน เวลา ( น . ) 21.48 21.48 21.48 21.56 22.15 22.21 22.22 รวม เวลา ( นาที ) Response time = 8 นาที 19 นาที 1นาที เลข กม. 98332 กม. 98335 กม. 98337 98337 ระยะ ทาง รวมระยะทางไป 3 กม. ระยะทางกลับ 1 กม. ระยะทางไป 2 กม.
  • 4. การวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสาร/ความ เสี่ยง/ภาวะสุขภาพ การวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสาร/ความ เสี่ยง/ภาวะสุขภาพ • ระดับความรู้สึกตัวลดลง เนื่องจาก ในภาวะ เลือดออกในสมอง • เลือดออกจากหัวใจในหนึ่งนาทีลดลง เนื่องจาก มีเลือดออกในระบบทางเดินอาหาร • ระดับความรู้สึกตัวลดลง เนื่องจาก ระดับในตาล ในกระแสเลือดตำ่า/นำ้าตาลในกระแสเลือดสูง
  • 5. 2. Preparing2. Preparing Body Substance Isolation : BSI - ถุงมือ disposable - Surgical mask Airway equipment - เครื่อง Suction และสาย Suction - Oropharyngeal airway. no.2,3 Breathing equipment - ถัง O2 ขนาดเล็ก พร้อมสาย ต่อ Oxygen - Self inflation bag with reservoirbag - O2 Maskc- bag -O2 cannula - ET tube ON.7, 7.5, 8 Circulation equipment - 0.9% NSS 1,000 ml., 5%D/N/2 1,000 ml. - ชุดให้สารนำ้าทางหลอดเลือด ดำา(ผู้ใหญ่) - AED - กระเป๋ายาฉุกเฉิน - ผ้าห่ม Lifting and moving - Long spinal board - Belt 3 เส้น - Wheeled stretcher ผ้ายางกัน เปื้อน
  • 6. 1. Scene size up • Body substance isolation : BSI • Scene safety • Nature of illness : NOI • Numberof patient • Additional resource 3. On scene care3. On scene care
  • 10.
  • 11. Nature of illnessNature of illness ที่มา: สิริกาญจน์ ยามา ดะ . 2557 Varices 10% Peptic ulcer 75% Mallory weiss syndrome 5% Tumors 5 %
  • 12. Nature of illnessNature of illness Blood loss Venous return Stroke volume Cardiac out put Poor tissue perfusion Brain KidneyHeart Lung Loss of Contractilit Tachypnea Na+ , H2O Drowsin ess Drowsin ess 120 /min 120 /min 36 /min36 /min ไม่ ปัสสาว ะลดลง ไม่ ปัสสาว ะลดลง
  • 13. 2. Patient assessment • Initial assessment : GRABC • Focus assessment • Detail assessment 4. On scene care4. On scene care
  • 14. Initial AssessmentInitial Assessment • General appearance : พบผู้ป่วยหญิง 1 ราย วัยสูงอายุ รูปร่างท้วม หายใจ เร็ว ท้องบวมตึง ผิวหนังซีดขาว เหงื่อ ออกทั่วตัว มีเศษอาเจียนเป็นเลือดปน นำ้าลายเปื้อนเสื้อและที่นอน อยู่บนที่นอน ชั้นล่าง ในท่านอนตะแคงกึ่งควำ่า • Response : Alert
  • 15. การประเมิน การให้การช่วยเหลือ Airway - Clear Airway management - Dorsal position Breathing - Tachypnea - Normal chest movement Breathing management - O2 mask with reservoir bag 10 LPM. Circulation - Weakly pulse and fast. -Capillary Refill time > 2 sec. -Sweating and cool skin, mild pale, poor skin tugor Circulation management - On 0.9% NSS 1,000 cc IV 120 cc/hr. - Keep Warm
  • 16. Focus AssessmentFocus Assessment Focus Assessment Intervention Level of conscious Drowsiness, GCS E4V5M6 pupil 3 mm RTLBE. - ประเมิน GCS, V/S, N/S, SPO2 q 5 min Airway : Clear, no neck vein engorgement, no trachea deviation. - Dorsal position Breathing : Normal chest movement, lung clear, SPO2 98 %, RR=28/min. - ดูแลการได้ O2 mask with reservoir bag 10 LPM. ต่อเนื่อง Circulation : Weakly pulse 120 /min regular, sweating skin, mild pale, poor skin tugor, no cyanosis, DTX 133 mg% - ดูแลการได้รับ 0.9% NSS 1,000 ml Vein load 200 cc.
  • 17. SAMPLESAMPLE • Signs and Symptom : 2 วันก่อนแจ้งเหตุ มี อาการอาเจียนเป็นเลือดอออก 50 ซีซี ไม่มีถ่ายอุจจาระ เป็นสีดำา ทานอาหารได้น้อยลง ไม่ได้รับการรักษา : 4 ชั่วโมงก่อนแจ้งเหตุ มีอาการอาเจียนเป็นเลือดสด ออกประมาณ 200 ซีซี ไม่มีถ่ายดำา 30 นาที ก่อนแจ้ง เหตุมีอาการอาเจียนเป็นเลือดปนนำ้าลาย ซึมลง • Allergies : ผู้ป่วยไม่มีประวัติแพ้ยาและอาหาร • Medication : ญาติดูแลเรื่องการให้ยา DM, CKD, liver chrirosis, CHF เป็นประจำาไม่ขาดยา • Past illness : ประวัติรักษาโรค DM รับการรักษาด้วย ยาเม็ด แพทย์พิจารณาให้หยุดยา 1 เดือนก่อน โรค liver chrirosis มา 3 ปี, โรค CHF 1ปีก่อน, โรค CKD 6
  • 18. • Last meal : รับประทานอาหารล่าสุดมื้อเช้า เวลา 07.30 น. (5 พ.ค 2557) • Events : 30 นาทีก่อนแจ้งเหตุมีอาการ อาเจียนเป็นเลือดปนนำ้าลาย ซึมลง ญาติจึง โทรศัพท์แจ้งเหตุ
  • 19. 4. Triage4. Triage • ระดับ Emergency เนื่องจาก ผู้ป่วยเหงื่อ ออก ลำาตัวเย็น ปลายมือปลายเท้าซีดขาว ชีพจร เบาเร็ว PR= 120 /min, หายใจเร็วRR= 36 /min ระดับความรู้สึกตัวลดลง มีอาเจียนเป็น เลือด อยู่ในภาวะช็อกระดับ 3 จำาเป็นต้องได้รับ การรักษาอย่างทันที.
  • 20. Problem ListProblem List • Hypoxia • Shock • UGIH
  • 21. • UGIHwith Hypovolemic shock DiagnosisDiagnosis
  • 22. 5. Care in transit5. Care in transit
  • 23. Detailed Physical AssessmentDetailed Physical Assessment การประเมิน การให้การช่วยเหลือ Level of conscious alertness, E4V5M6, pupils 3 mmRTLBE. Airway - Claer Breathing - Normal cheat movement, O2 sat 98- 100 % Circulation - BP=90/50 mmHg, Pulse 120 /min regular and weakly, sweating skin, mild pale, no cyanosis, poor skin tugor, capillary refill >2 sec. Head and Neck Head : Symmetry. Eye: Icteric sclera,pupils 3 mmRTLBE. Ear : Symmetry, no othorrhea . Nose : Symmetry ,no crepitation, no - ประเมิน GCS, V/S, N/S, O2 sat ซำ้าทุก 10 นาที - ดูแลการจัดท่านอนหงายราบ - ดูแลการได้รับ O2 mask with reservoir bag 10 LPM. ต่อเนื่อง - ดูแล0.9% NSS 1,000 ml Vein load 200 cc หลังให้ IVF ครบ 200 cc vital sign BP=90/60 mmHg , MAP 70 mmHg, P =120 /min , RR=28 /min, -พิจารณาให้ IVF 0.9% NSS 1,000 cc Vein load 200 cc หลังให้ IVF ครบ 200 cc Vital sign : BP=100/60 mmHg, MAP= 73.33 mmHg, PR= 120 /min, RR=28 /min. -ดูแลการได้รับ 0.9%NSS 1,000 cc
  • 24. การประเมิน การให้การช่วยเหลือ Chest and Lung Visual : Normal chest movement. Auscultation : Lung clear, equal breathing sound Palpation : No subcutaneous emphysema, normal lung explanation. Percussion : Resonance equal both lung. Abdomen - Visual : Ascitis - Auscultation : Decrease bowel sound. - Percussion: Tympany sound. - Palpation : Liver enlargement 3 FB. - Extremities : Pitting edema
  • 25. การรายงานอาการผู้ป่วย ระหว่างนำาส่ง การรายงานอาการผู้ป่วย ระหว่างนำาส่ง • รถกู้ชีพเลิดสิน คนที่ 6 แจ้งศูนย์กู้ชีพเลิดสิน นำา ผู้ป่วยหญิง 1 ราย ประวัติ Liverchrirosis, DM, CKD, CHF มีอาการอาเจียนเป็นเลือด • แรกพบ E4V5M6 ระดับความรู้สึกตัวลดลง ผู้ป่วย เหงื่อออก ลำาตัวเย็น ปลายมือปลายเท้าซีดขาว ชีพจรเบาเร็ว PR= 120 /min, หายใจเร็ว RR= 36 /min, BP=90/50 mmHg. • ทีมกู้ชีพให้การช่วยเหลือโดย On O2 maskwith reservoirbag 10 LPM, On 0.9% NSS 1,000 cc Vein load 200 cc XII • หลังได้รับการช่วยเหลือ ผู้ป่วยรู้สึกตัวดีขึ้น ถาม
  • 26. • โรงพยาบาลเลิดสิน • การสื่อสารเมื่อถึงมาโรงพยาบาล แจ้งศูนย์กู้ชีพเลิดสิน ว. 22 โรงพยาบาลเลิดสิน หมายเลขไมล์ 98337 Transferto definitive careTransferto definitive care
  • 27. ส่งมอบผู้ป่วยกับทีมแพทย์และพยาบาลห้อง ฉุกเฉินโรงพยาบาลเลิดสิน ด้วยวาจาและแบบ บันทึกการปฏิบัติการ รับแจ้งและสั่งการจากศูนย์เอราวัณเวลา 21.48 น. ออกรับผู้ป่วยหญิง 1 ราย สถานที่ ม.16 ซ.สาทร 15 แยก 2 แขวงทุ่งวัดดอน เขต สาทร กรุงเทพ พื้นที่ สน.ยานนาวา ด้วยอาการ อาเจียนเป็นเลือด แรกรับผู้ป่วยมีอาการ พบ E4V5M6 ระดับ ความรู้สึกตัวลดลง ผู้ป่วยเหงื่อออก ลำาตัวเย็น การส่งมอบผู้ป่วยการส่งมอบผู้ป่วย
  • 28. ทีมกู้ชีพให้การช่วยเหลือโดย On O2 maskwith reservoirbag 10 LPM, On 0.9% NSS 1,000 cc Vein load 200 cc XII หลังได้รับการช่วยเหลือ ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ขึ้น ถามตอบรู้เรื่อง vital sign BP=100/60 mmHg, P=120 /min, RR= 28 /min, SOP298 % โรงพยาบาลเลิดสิน ตามประวัติการ ตรวจรักษา
  • 29. • เรียนรู้ระบบการปฏิบัติงานของทีมกู้ชีพ เลิดสินในการออกปฏิบัติการ 1. การรับแจ้งเหตุและการสั่งการ 2. การประสานงานและการสื่องานข้อมูล 3. การวิเคราะห์ข้อมูลผู้ป่วยและการ วางแผนในการช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉิน 4. การทำางานเป็นทีม • เรียนรู้กระบวนการช่วยเหลือผู้ป่วย ณ. จุด เกิดเหตุ ในสภาวะที่มีของและอุปกรณ์ จำากัดให้ผู้ป่วยทุเลาลงจากภาวะคุกคาม สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการปฏิบัติ งาน สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการปฏิบัติ งาน
  • 30. • ไม่พบว่ามีข้อมูลการช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้อง ต้นของญาติได้ช่วยอะไรบ้าง เพื่อทาง ศูนย์กู้ชีพจะได้ให้คำาแนะนำาการช่วยเหลือ เบื้องต้นก่อนที่รถ EMS จะไปถึง • การประสานงานกับญาติในเรื่องของการ ประเมินผู้ป่วยเบื้องต้นยังมีประสิทธิภาพ ไม่เพียงพอ เนื่องจาก พยาบาลหัวหน้าทีม เป็นผู้โทรประสานระหว่างการเดินทางไป บ้านผู้ป่วย จึงทำาให้การสื่อสารคลาด เคลื่อนจากเสียงของไซเรน หรือเสียงของ ข้อเสนอแนะ/โอกาสในการ พัฒนา ข้อเสนอแนะ/โอกาสในการ พัฒนา
  • 31. • ทางเดินเข้าบ้านผู้ป่วยค่อนข้างมืด และ ห่างจากระยะที่ไฟของรถส่องสว่างถึง จึง ควรมีไฟฉายส่องนำาทางระหว่างการ เคลื่อนย้ายผู้ป่วยจากบ้านถึงรถ Ambulance • ควรมีผ้ายางกันเปื้อนคลุมก่อนนำาผู้ป่วย ขึ้น wheeled stretcherเพื่อป้องกันการ ไหลของเลือดหรือสารคัดหลั่งภายในรถ ambulance

Notes de l'éditeur

  1. Unconscious => มองถึงโอกาสครอบคลุมมากกว่า และสามารถเตรียมอุปกรณ์ได้มากกว่า เรื่องอื่น ซึ่งปัญหาทำให้มากกว่า ,shock,
  2. Hepatic encheparopathy ด้วยนะที่ทำให้เกิดอาการคนไข้ก่อน
  3. Event คือเหตุการณ์ ที่ผู้พบเห็น แล้วขอความช่วยเหลือ ,เหตุการณ์สั้นๆ ที่ทำให้รถของกู้ชีพออกไปรับ
  4. Shock index = HR/SBP ในอายุ 60 จะใช้อะไร หารอะไร แล้วเอามาใช้ประเมินอาการคนไข้ หากมันเกิน 1 ไป จะทำให้อัตราการรอดชีวิตน้อยลง Four score :
  5. ปัญหาที่สื่อให้คนไข้
  6. ข้อมูลสั้นๆ สรุป sample คร่าวๆด้วยนะ จำเป็นที่ต้องรายงาน