SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12
Télécharger pour lire hors ligne
OJED
                                       OJED, Vol.5, No.1, 2010, pp. 385-396
                                                                                                                   An Online Journal
                                                                                                                        of Education
วารสารอิเล็กทรอนิกส                                                                                   http://www.edu.chula.ac.th/ojed
ทางการศึกษา
                           การพัฒนาตัวบงชีคัดสรรการปฏิบัตงานตามมาตรฐานวิชาชีพครู
                                           ้              ิ
     DEVELOPMENT OF SELECTED PERFORMANCE INDICATORS FOR NEW
               PROFESSIONAL TEACHING STANDARDS
                                                        ธีรวัฒน เลื่อนฤทธิ์ *
                                                      Teerawat Luanrit
                                                  รศ.ดร.อวยพร เรืองตระกูล **
                                     Assoc. Prof. Auyporn Ruengtragul, Ph.D.
 บทคัดยอ
          การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ (1) วิเคราะหระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครู (2) วิเคราะหตัวบงชี้ที่สะทอน
 ความแตกตางของระดับการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนที่มีผลการประเมินคุณภาพภายนอกในมาตรฐานดานครูที่ตางกัน และ (3) นําเสนอ
 ตัวบงชี้ที่คัดสรรสําหรับตัวบงชี้การปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครู กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยคือโรงเรียนในเขตกทม.จํานวน244โรงเรียน
 สุมตัวอยางแบบแบงชั้นโดยใชผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสมศ.มาตรฐานดานครูมาเปนเกณฑ และทําการสุมอยางงายเพื่อสุมครู
 ในโรงเรียนที่เปนกลุมตัวอยางกลุมสาระการเรียนรูละ1คนรวมจํานวน1,822คนเก็บขอมูลโดยใชแบบวัดการปฏิบัติงานของครูมีคาความเที่ยง
 ทั้งฉบับเปน0.97ทําการวิเคราะหขอมูลดวยการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียวและการวิเคราะหความสัมพันธโดยใชโปรแกรมสําเรจรูป SPSS
                                                                                                                           ็
           ผลการวิจัยพบวา (1)ระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูในภาพรวมอยูในระดับดีมาก(Mean=4.18)โดยมีการปฏิบัติงาน
 ตามมาตรฐานที่ 9สูงที่สุด และมาตรฐานที่ 1 ต่ําที่สุด ครูที่มีอายุต่ํากวา30 ป ครูที่มีประสบการณสอนนอยกวา6 ป ครูที่มีระดับการศึกษา
 ปริญญาตรี ครูที่มีตําแหนงครูผูชวย ครูที่ยังไมไดรับวิทยฐานะ และครูที่มีวิทยฐานะชํานาญการ จะมีระดับการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน
 วิชาชีพครูที่นอยกวาครูที่มีอายุ ประสบการณสอนระดับการศึกษาตําแหนงและวิทยฐานะที่สูงกวา สวนครูที่สอนในกลุมสาระการเรียนรู
 ภาษาไทยจะมีระดับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่สูงกวาครูท่ีสอนในกลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ และครูที่สอนใน
 กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีจะมีระดับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่สูงกวาครูที่สอนใน
 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตร ภาษาตางประเทศ และสอนมากกวาหนึ่งกลุมสาระการเรียนรู อยางมีนัยสําคัญทาง
 สถิติที่ระดับ0.05 (2) ผลการวิเคราะหความสัมพันธระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูกับผลการประเมินคุณภาพภายนอก
 มาตรฐานดานครูในมาตรฐานที่ 9 ของสมศ.พบวามาตรฐานที่ 4 6 11 และ12 มีคารอยละของโรงเรียนที่มีความสอดคลองกันระหวาง
 ระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูกับผลการประเมินคุณภาพภายนอกมาตรฐานดานครูในมาตรฐานที่ 9
 ของสมศ. มากกวารอยละ 50 (3) ตัวบงชี้ท่คัดสรรสําหรับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครูมีจํานวน 30 ตัว
                                                   ี
* นิสิตมหาบัณฑิตสาขาวิชาวิจัยการศึกษา ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา
คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
E-mail Address: Luanrit@hotmail.com
** อาจารยประจําสาขาวิชาวิจัยการศึกษา ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา
คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
E-mail Address: rauyporn@chula.ac.th
ISSN 1905-4491

                                                                  385                         OJED, Vol.5, No.1, 2010, pp. 385-396
Abstract
     The purposes of this research were: (1) to analyze the performance level of professional
teaching standards (2) the analysis of markers that reflect different levels of performance of
teachers in schools with external quality assessment in teaching standards and (3) to provides
markers for the selection indication of professional teaching standards. The samples used in
the research were schools in Bangkok. (244 schools, 1,822 people) selected by a random
classification (stratified random sampling). Analysis was conducted by one-way ANOVA
and correlated using SPSS.
     The research found that (1)The performance levels of teachers based on professional
teaching standards as a whole was very good with performance standards of 9 the highest
and 1 the lowest. Teachers under 30 years of age, or with less than 6 years teaching experience,
with a teacher education bachelor's degree, occupying a teacher assistant position, and
those who had not received academic training had a lower level of professional competence
than older teachers, with longer teaching experience, higher education degree, and higher
academic standing. Those who teach subjects in the Thai language exhibited a greater
degree of professional teaching standards than the teachers of subjects in a foreign
language. Teacher of careers subjects and technology exhibited higher levels of professional
teaching standards than those who taught subjects in science, math, learning foreign
languages, or who taught more than one subjects. The finding were statistically significant at the
level of 0.05. (2) The correlation between the performance levels of teachers based on
professional teaching standards with the results of a second external quality assessment of
the performance of the Office for National Education Standards and Quality Assessment
showed a 50% consistency at levels 4, 6, 11 and 12. (3) Thirty performance indicators of
professional teaching standards were used.
คําสําคัญ : การพัฒนา / ตัวบงชี้คัดสรร / มาตรฐานวิชาชีพครู
Keywords : development / performance indicators / professional teaching standards


บทนํา
          การศึกษาเปนเครื่องมือหลักในการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืน การจัดการศึกษาใหบังเกิดผลดีมีคุณภาพ
เพียงพอที่จะผลักดันใหเกิดการพัฒนาประเทศในทิศทางที่พึงประสงคไดนั้น ตองอาศัยครูเปนกําลังสําคัญใน
การพัฒนา เพราะปจจัยสําคัญที่เปนสวนหนึ่งของความสําเร็จทางการศึกษาคือครู อาชีพครูจึงเปนอาชีพที่ไดรับ
การยกยองและหวังที่จะเห็นครูมีความรูความสามารถ มีความซื่อสัตยสุจริต มีความรักความอาทรหวงใยและเสียสละเพื่อ
อนาคตของเด็ กด วยความบริ สุ ทธิ์ ใจ ครู จึ งมี ความสํ าคั ญอย างมากต อการพั ฒนาคนในชาติ ดั งพระบรมราโชวาทใน
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ที่ทรงกลาวถึงภารกิจของครูวาสําคัญยิ่ง อนาคตของชาติ
บานเมืองเปนเชนไรครูมีสวนสําคัญในการสรางสรรค (สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา, 2548: 20)
         ทักษะ กระบวนการ และการจัดการเรียนการสอนของครูมีความสําคัญตอคุณภาพของนักเรียน ครูจะตอง
คํานึงถึงประสิทธิภาพและความเหมาะสมในการสอนของตน ปจจัยหนึ่งที่มีความสําคัญและสงผลตอคุณภาพ
ของนักเรียนคือ ปจจัยดานการจัดการเรียนการสอนของครู ประกอบดวยบรรยากาศในชั้นเรียน วิธีการสอนของครู
สื่อการสอน และเทคโนโลยีสารสนเทศตางๆ ที่ครูเลือกใช สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะทางการคิด
วิเคราะห และการคิดอยางมีวิจารณญาณของนักเรียน (วัยญา ยิ้มยวน, 2547; วุฒิไกร เที่ยงดี, 2549; สุทธิวรรณ

                                                         386               OJED, Vol.5, No.1, 2010, pp. 385-396
แสงกาศ, 2550) ครูที่มีมาตรฐานในการจัดการเรียนการสอนในระดับสูงจึงมีกลวิธีในการเลือกวิธีการสอนได
เหมาะสมและตรงตามระดับความรูความสามารถของนักเรียน (Vanderschaaf, Stokkinga, and Verloop,
2008) คุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครูจึงสงผลตอคุณภาพของนักเรียน (Kyriakides, Creemers, and
Antoniou, 2009) การปฏิบัติงานของครูมีความสําคัญอยางมากที่จําเปนตองมีการกําหนดมาตรฐานวิชาชีพครู
เพื่อใหครูไดมีมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
          พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ในหมวดที่ 7
วาดวยครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษา มาตรา 52 กระทรวงศึกษาธิการ ทําหนาที่สงเสริมใหมีระบบ
กระบวนการผลิตการพัฒนาครูคณาจารยและบุคลากรทางการศึกษาใหมีคุณภาพและมาตรฐานที่เหมาะสม
กับการเปนวิชาชีพขั้นสูง (กระทรวงศึกษาธิการ, 2546) และพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
พ.ศ. 2546 ใหคุรุสภามีอํานาจหนาที่ในการกําหนดมาตรฐานวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา ตลอดจน
การควบคุมดูแลใหผูประกอบวิ ชาชีพทางการศึกษาประพฤติปฏิบัติตนตาม และสามารถที่เพิกถอนใบ
ประกอบวิชาชีพคืนไดหากพบวาครูหรือบุคลากรทางการศึกษาขาดคุณสมบัติตามมาตรฐานวิชาชีพตามที่คุรุสภา
กําหนด (สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา, 2546)
          มาตรฐานวิชาชี พครู ที่คุรุสภากํ า หนดประกอบดว ยมาตรฐานความรูและประสบการณวิชาชี พ
มาตรฐานการปฏิบัติงาน และมาตรฐานการปฏิบัติตน โดยมาตรฐานดานความรูแบงออกเปน 9 ขอ 33 สมรรถนะ
มาตรฐานประสบการณวชาชีพแบงออกเปน 2 ขอ 8 สมรรถนะ มาตรฐานการปฏิบัติงานประกอบดวย 12 มาตรฐาน
                       ิ
และมาตรฐานการปฏิบัติตนประกอบดวย จรรยาบรรณในอาชีพ 5 ดาน รวม 9 ขอ (สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา,
2548) จากการสังเคราะหงานมาตรฐานวิชาชีพครูในตางประเทศ พบวามาตรฐานวิชาชีพครูสวนใหญ
ประกอบดวยตัวบงชี้ดานการปฏิบัติงานของครูในดานการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาวิชาการของครู
เปนสําคัญ ซึ่งสะทอนถึงแนวทางในการปฏิบัติงานดานการสอนของครูท่มีความสอดคลองกับมาตรฐานดาน
                                                                      ี
การปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนด (Ministry of Education, 1999; Department
of Education, 2001; Bousted and Johnson, 2005; Jusuf, 2005; Queensland Government, 2005; Christie,
2006; Sandholtz and Scribner, 2006; Arnona and Reichel, 2007; Training and Development Agency for
Schools, 2007; Bolyard and Moyer-Packenham, 2008; Cathy, 2008; Wen and Shih, 2008; Cherubini, 2009;
Claire, 2009; Townsend, 2009) ดังนั้นมาตรฐานดานการปฏิบัติงานของครูจึงมีความสําคัญ ควรมีการประเมินและ
ตรวจสอบคุณภาพ การปฏิบัติงานของครู และผลการประเมินสามารถนํามาใชเปนแนวทางในการปรับปรุง
และพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานของครูตอไป
          สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เปนหนวยงานที่มีความสําคัญ
หนวยงานหนึ่งที่ทําหนาที่ในการตรวจสอบเพื่อประเมินคุณภาพของสถานศึกษา รวมทั้งการปฏิบัติงานของครู
การประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาขั้นพื้นฐานรอบที่ 2 (พ.ศ. 2549-2553) มีการกําหนดมาตรฐานดานครู
ในมาตรฐานที่ 9 ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอยางมีประสิทธิภาพและเนนผูเรียนเปนสําคัญ
มีเกณฑการพิจารณา จํานวน 7 ขอ (สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา, 2550) ครูจึงมี
                                                  387                  OJED, Vol.5, No.1, 2010, pp. 385-396
หนาที่ในการปฏิบัติงานใหตรงตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนดและในขณะเดียวกันการปฏิบัติงาน
ของครูจะตองผานเกณฑการประเมินคุณภาพภายนอกมาตรฐานดานครูที่สํานักงานรับรองมาตรฐานและ
ประเมินคุณภาพการศึกษากําหนดไว ผูวิจัยจึงสนใจที่จะคัดสรรตัวบงชี้การปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครู
ที่คุรุสภากําหนดตัวใดและมาตรฐานใดบางเมื่อครูปฏิบัติตามแลวจะทําใหผลการประเมินคุณภาพภายนอก
มาตรฐานดานครูของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาสูงยิ่งขึ้น

วัตถุประสงค
        การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) วิเคราะหระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครู
2) วิเคราะหความสอดคลองของตัวบงชี้ระหวางระดับการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนกับผลการประเมิน
คุณภาพภายนอกมาตรฐานดานครู ในมาตรฐานที่ 9 ของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษา และ 3) นําเสนอตัวบงชี้ที่คัดสรรสําหรับตัวบงชี้การปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครู

วิธดําเนินการวิจัย
    ี
           การวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ ป น การวิ จั ย เชิ ง ปริ ม าณ กลุ ม ตั ว อย า งที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย คื อ โรงเรี ย นในเขต
กรุงเทพมหานคร (สังกัดกทม. และ สพฐ.) จํานวน 244 โรงเรียน จากการสุมตัวอยางแบบแบงชั้น (stratified
random sampling) โดยใชผลการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ. มาตรฐานดานครูมาเปนเกณฑใน
การสุมเลือก ทําการสุมครูดวยการสุมอยางงาย (simple random sampling) จํานวน 1,822 คน ที่อยูในโรงเรียนที่
เปนกลุมตัวอยาง ตามกลุมสาระการเรียนรูทั้ง 8 กลุม โรงเรียนละ 8 คน อัตราในการตอบกลับของแบบวัด
การปฏิบัติงานของครูรอยละ 77.2 ผูวิจัยทําการสรางแบบวัดการปฏิบัติงานของครูเพื่อเปนเครื่องมือในการเก็บ
รวบรวมขอมูล โดยสรางตัวบงชี้การปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครู ตามที่คุรุสภากําหนด จํานวน 49 ตัวบงชี้
หาคุณภาพของเครื่องมือในการวิจัยทั้งดานความตรงเชิงเนื้อหาคือคาดัชนี IOC (item objective congruence)
โดยผูเชี่ยวชาญจํานวน 5 ทาน ผลพบวาแบบวัดทุกขอมีคาดัชนี IOC ตั้ง แต 0.80 ขึ้นไป และแบบวัดการปฏิบัติงาน
ของครูมีคาความเที่ยง (Reliability) ทั้งฉบับเปน 0.97 แสดงวาแบบสอบถามฉบับนี้สามารถนําเอาไปใชได
เนื่องจากวามีคาความเที่ยงที่สูง ผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลโดยการสงแบบวัดการปฏิบัติงานของครูทางไปรษณีย
และวิเคราะหขอมูลดวยการใชสถิติการทดสอบการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (one-way ANOVA)
และการวิเคราะหความสัมพันธ (correlation ) โดยการทํา cross tabulation เพื่อดูรอยละของโรงเรียนที่มีความ
สอดคลองกันระหวางระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนดกับผลการประเมิน
คุณภาพภายนอกมาตรฐานดานครู ในมาตรฐานที่ 9 ของสมศ. โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS




                                                              388                      OJED, Vol.5, No.1, 2010, pp. 385-396
ผลการวิจัย
          ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะหระดับการปฏิบัตงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครู
                                                            ิ
          1) ผลการวิ เคราะหระดั บการปฏิบัติง านของครู ในภาพรวม จําแนกตามสัง กัด การศึ กษา และ
ระดับชั้นในการสอนของครู
              ผลการวิเคราะหขอมูลโดยภาพรวมพบวา ครูมีการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภา
กําหนดอยูในระดับดีมาก (Mean=4.18) โดยมีการปฏิบัตงานตามมาตรฐานที่ 9) รวมมือกับผูอื่นในสถานศึกษา
                                                                ิ
อยา งสร า งสรรค มี ก ารปฏิ บั ติง านสู ง ที่ สุ ด อยูใ นระดับ มากที่ สุด (Mean=4.63) และมี ก ารปฏิ บั ติง านตาม
มาตรฐานที่ 1) ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครูอยูเสมอมีการปฏิบัติงานต่ําที่สุดอยู
ในระดับดี (Mean=3.51) และเมื่อพิจารณาตามรายมาตรฐานวิชาชีพครูพบวามาตรฐานวิชาชีพครูจํานวน
10 มาตรฐาน ที่ครูมีการปฏิบัติงานอยูในระดับมากที่สุดประกอบดวย มาตรฐานขอที่ 2) ตัดสินใจปฏิบัติ
กิจกรรมตางๆ โดยคํานึงถึงผลที่จะเกิดแกผูเรียน 3) มุงมั่นพัฒนาผูเรียนใหเต็มตามศักยภาพ 4)พัฒนาแผน
การสอนใหสามารถปฏิบัติไดเกิดผลจริง 5) พัฒนาสื่อการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพอยูเสมอ 6) จัดกิจกรรม
การเรียนการสอนโดยเนนผลถาวรแกผูเรียน 8) ปฏิบัติตนเปนแบบอยางที่ดีแกผูเรียน 9) รวมมือกับผูอื่นใน
สถานศึกษาอยางสรางสรรค 10) รวมมือกับผูอื่นในชุมชนอยางสรางสรรค 11) แสวงหาและใชขอมูลขาวสาร
ในการพัฒนา และ 12) สรางโอกาสใหผูเรียนไดเรียนรูในทุกสถานการณ สําหรับมาตรฐานที่ 1) ปฏิบัติ
กิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครูอยูเสมอ และมาตรฐานที่ 7) รายงานผลการพัฒนาคุณภาพ
ของผูเรียนไดอยางมีระบบนั้นครูมีการปฏิบติงานอยูในระดับดี
                                                   ั
          2) ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูจําแนกตามอายุ
ประสบการณในการสอน ระดับการศึกษา ตําแหนง วิทยฐานะ กลุมสาระการเรียนรูที่สอน และสังกัดการศึกษาของครู
              (1) ระดับการปฏิบัติงานของครูท่ีมีอายุนอยกวา 30 ป แตกตางกันกับระดับการปฏิบัติงานของ
ครูที่มอายุระหวาง 31-35 ป 36-40 ป 41-45 ป และอายุมากกวา 45 ป ขึ้นไป อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ
       ี
0.05 กลาวคือครูที่มีอายุนอยกวา 30 ป จะมีระดับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครูนอยกวาครูที่มีอายุ
ระหวาง 31-35 ป 36-40 ป 41-45 ป และอายุมากกวา 45 ป ขึ้นไป
              (2) ระดับการปฏิบัติงานของครูที่มีประสบการณสอนนอยกวา 6 ป แตกตางกันกับระดับ
การปฏิบัติงานของครูที่มีประสบการณสอนระหวาง 6-10 ป 11-15 ป 16-20 ป 21-25 ป และอายุมากกวา 25 ป ขึ้นไป
อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 กลาวคือครูที่มีประสบการณสอนนอยกวา 6 ป จะมีระดับการปฏิบัติงาน
ตามมาตรฐานวิชาชีพครูนอยกวาครูที่มีสอนระหวาง 6-10 ป 11-15 ป 16-20 ป 21-25 ป และอายุมากกวา 25 ป
ขึ้นไป ระดับการปฏิบัติงานของครูที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรีแตกตางกันกับระดับ การปฏิบัติงานของครู
ที่มีระดับการศึกษาปริญญาโท อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 กลาวคือครูที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรี
จะมีระดับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครูนอยกวาครูที่มีระดับการศึกษาปริญญาโท


                                                       389                    OJED, Vol.5, No.1, 2010, pp. 385-396
(3) ระดับการปฏิบัติงานของครูที่มตําแหนงครูผูชวยแตกตางกันกับระดับการปฏิบัติงานของครู
                                                 ี
ที่มีตําแหนงครูอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 กลาวคือครูที่มีตําแหนงครูจะมีระดับการปฏิบัติงาน
ตามมาตรฐานวิชาชีพครูสูงกวาครูที่มีตาแหนงครูผูชวย
                                         ํ
                (4) ระดับการปฏิบัติงานของครูที่ยังไมไดรับวิทยฐานะแตกตางกันกับระดับการปฏิบัติงานของ
ครูวิทยฐานะเชี่ยวชาญและครูวิทยฐานะชํานาญการพิเศษอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 กลาวคือครู
วิทยฐานะชํานาญการพิเศษและครูวิทยฐานะเชี่ยวชาญจะมีระดับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครูสูง
กว าครูที่ยัง ไม ไ ด รับวิ ท ยฐานะและพบวาระดับการปฏิบัติ งานของครูชํา นาญการแตกต างกั น กั บ ระดั บ
การปฏิบัติงานของครูวิทยฐานะชํานาญการพิเศษและครูวิทยฐานะเชี่ยวชาญ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ
ที่ระดับ 0.05 กลาวคือครูวทยฐานะชํานาญการพิเศษและครูวิทยฐานะเชี่ยวชาญจะมีระดับการปฏิบัติงานตาม
                                 ิ
มาตรฐานวิชาชีพครูสูงกวาครูวิทยฐานะชํานาญ
                (5) ระดับการปฏิบัติงานของครูที่สอนในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยแตกตางกันกับระดับ
การปฏิบัติงานของครูที่สอนในกลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
โดยครูที่สอนในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยจะมีระดับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครูสูงกวาครูที่
สอนในกลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ และยังพบวาระดับการปฏิบัติงานของครูที่สอนในกลุมสาระ
การเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี แตกตางกันกับระดับการปฏิบัติงานของครูที่สอนในกลุมสาระการเรียนรู
คณิตศาสตร วิทยาศาสตร ภาษาตางประเทศ และสอนมากกวาหนึ่งกลุมสาระการเรียนรู อยางมีนัยสําคัญทาง
สถิติที่ระดับ 0.05 โดยครูที่สอนในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี จะมีระดับการปฏิบัติงานตาม
มาตรฐานวิชาชีพครูสูงกวาครูที่สอนในกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตร ภาษาตางประเทศ
และสอนมากกวาหนึ่งกลุมสาระการเรียนรู
                (6) ระดับการปฏิบัติงานของครูสังกัดกรุงเทพมหานครแตกตางกันกับระดับการปฏิบัติงานของ
ครูสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 กลาวคือครู
สังกัดกรุงเทพมหานคร มีระดับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครูสูงกวาครูสังกัดสํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
          ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะหความสัมพันธระหวางระดับการปฏิบตงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครู
                                                                     ั ิ
กับผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่ 2 มาตรฐานดานครู ในมาตรฐานที่ 9
          1) ผลการวิเคราะหความสัมพันธระหวางระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูกับผล
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่ 2 มาตรฐานดานครู ในมาตรฐานที่ 9 โดยภาพรวม
                ผลการวิเคราะหความสัมพันธโดยภาพรวมเมื่ อพิจารณาตามรายมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภา
กําหนดพบวา มาตรฐานวิชาชีพครูมาตรฐานที่ 4 พัฒนาแผนการสอนใหสามารถปฏิบัติไดเกิดผลจริง มีคา
รอยละของโรงเรียนมีความสอดคลองระหวางระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภา
กําหนดกับผลการประเมินคุณภาพภายนอกมาตรฐานดานครูในมาตรฐานที่ 9 ของสมศ. สูงที่สุดคือรอยละ 55.74

                                                  390                  OJED, Vol.5, No.1, 2010, pp. 385-396
สวนมาตรฐานวิชาชีพครูมาตรฐานที่ 1 ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครูอยูเสมอ มีคารอยละ
ของโรงเรียนที่มีความสอดคลองกันต่ําที่สุดคือรอยละ 39.34 เมื่อพิจารณาตามตัวบงชี้พบวา ตัวบงชี้ที่ 16 ประเมิน
และปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรูของตนอยางตอเนื่อง มีคารอยละของโรงเรียน ที่มีความสอดคลองกันสูงที่สุด
คือรอยละ 56.14 สวนตัวบงชี้ที่ 3 สงผลงานทางวิชาการไปลงในสื่อสิ่งพิมพเพื่อเผยแพร มีคารอยละของ
โรงเรียนที่มีความสอดคลองต่ํากันที่สุดคือรอยละ 15.57
           2) ผลการวิเคราะหความสัมพันธระหวางระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูกับผล
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่ 2 มาตรฐานดานครู ในมาตรฐานที่ 9 จําแนกตามสังกัดการศึกษาและ
ระดับชั้นที่สอน
                ผลการวิเคราะหความสัมพันธโดยจําแนกตามสังกัดการศึกษาและระดับชั้นที่สอนพิจารณาตามราย
ตัวบงชี้และรายมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนดพบวา สังกัดกทม. และสังกัดสพฐ. ในมาตรฐานที่ 1 ปฏิบัติ
กิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครูอยูเสมอ และตัวบงชี้ที่ 3 สงผลงานทางวิชาการไปลงในสื่อ
สิ่งพิมพเพื่อเผยแพร มีคารอยละของโรงเรียนที่มีความสอดคลองกันระหวางระดับการปฏิบัติงานของครูตาม
มาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนดกับผลการประเมินคุณภาพภายนอกมาตรฐานดานครูในมาตรฐานที่ 9
ของสมศ. ต่ําที่สุดเหมือนกันทั้งสองสังกัดการศึกษา สวนคารอยละของโรงเรียนที่มีความสอดคลองกันสูงที่สุด
ของสังกัดกทม. คือ มาตรฐานที่ 4 พัฒนาแผนการสอนใหสามารถปฏิบัติไดเกิดผลจริง (รอยละ 56.77) ตัวบงชี้ที่ 16
ประเมินและปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรูของตนอยางตอเนื่อง (รอยละ 55.48) สังกัดสพฐ. คือมาตรฐานที่ 11
แสวงหาและใชขอมูลขาวสารในการพัฒนา และมาตรฐานที่ 12 สรางโอกาสใหผูเรียนไดเรียนรูในทุกสถานการณ
(รอยละ 59.55) ตัวบงชี้ที่ 7 เลือกกิจกรรมการเรียนการสอนที่นาสนใจสําหรับ และตัวบงชี้ที่ 48 มองปญหาและ
อุปสรรคเปนโอกาสในการพัฒนาศักยภาพของผูเรียน (รอยละ 60.67)
                ระดับชั้นประถมศึกษา มาตรฐานที่ 4 พัฒนาแผนการสอนใหสามารถปฏิบัติไดเกิดผลจริง (รอยละ 58.18)
ตัวบงชี้ที่ 16 ประเมินและปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรูของตนอยางตอเนื่อง และตัวบงชี้ที่ 44 มีระบบใน
การจัดเก็บ การวิเคราะหขอมูลขาวสารอยางเปนระบบ (รอยละ 56.97) มีคารอยละของโรงเรียนที่มีความสอดคลอง
กันสูงที่สุด มาตรฐานที่ 2 ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมตางๆ โดยคํานึงถึงผลที่จะเกิดแกผูเรียน (รอย 42.42) ตัวบงชี้ที่ 3
สงผลงานทางวิชาการไปลงใน สื่อสิ่งพิมพเพื่อเผยแพร (รอยละ15.76) มีคารอยละของโรงเรียนที่มีความสอดคลอง
กันต่ําที่สดุ
                ระดับมัธยมศึกษา มาตรฐานที่ 12 สรางโอกาสใหผูเรียนไดเรียนรูในทุกสถานการณ (รอยละ 60.76)
ตัวบงชี้ที่ 7 เลือกกิจกรรมการเรียนการสอนที่นาสนใจสําหรับ และตัวบงชี้ที่ 48 มองปญหาและอุปสรรคเปน
โอกาสในการพัฒนาศักยภาพของผูเรียน (รอยละ 62.03) มีคารอยละของโรงเรียนที่มีความสอดคลองกันสูงที่สุด
มาตรฐานที่ 1 ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครูอยูเสมอ (รอยละ 31.65) สวนตัวบงชี้ที่ 3
สงผลงานทางวิชาการไปลงในสื่อสิ่งพิมพเพื่อเผยแพร มีคารอยละของโรงเรียนที่มีความสอดคลองกันต่ําที่สุด
(รอยละ15.19)

                                                        391                    OJED, Vol.5, No.1, 2010, pp. 385-396
ตอนที่ 3 ตัวบงชี้ที่คดสรรสําหรับตัวบงชี้การปฏิบตงานตามมาตรฐานวิชาชีพครู
                               ั                          ั ิ
         ผลการวิเคราะหตัวบงชี้การปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนด เพื่อคัดสรรตัวบงชี้
ที่สะทอนผลการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนดกับผลการประเมินคุณภาพภายนอก
รอบที่ 2 มาตรฐานดานครู ในมาตรฐานที่ 9 ของสมศ. พบวาไดตัวบงชี้คัดสรรทั้งหมดจํานวน 30 ตัว คือครู
ที่สอนในสังกัดกทม. มีตัวบงชี้คัดสรรจํานวน 4 ตัว ครูที่สอนในสังกัดสพฐ. มีตัวบงชี้คัดสรรจํานวน 19 ตัว
มีคารอยละของโรงเรียนที่มีความสอดคลองกันระหวางระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่
คุรุสภากําหนดกับผลการประเมินคุณภาพภายนอกมาตรฐานดานครูในมาตรฐานที่ 9 ของสมศ. มากกวารอยละ 50
และมีตัวบงชี้คัดสรรจํานวน 7 ตัว มีคารอยละของโรงเรียนที่มีความสอดคลองกันระหวางระดับการปฏิบัติงาน
ของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนดกับผลการประเมินคุณภาพภายนอกมาตรฐานดานครูใน
มาตรฐานที่ 9 ของสมศ. มากกวารอยละ 50 ของครูทั้งสองสังกัดการศึกษา

อภิปรายผลการวิจย   ั
         ผลการวิจัยพบวา การปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนดในมาตรฐานที่ 9 คือ
รวมมือกับผูอื่นในสถานศึกษาอยางสรางสรรคมีการปฏิบัติงานสูงที่สุดอยูในระดับมากที่สุดนั้น เนื่องจากวา
โรงเรียนไดใหความสําคัญในการมีสวนรวมกับคนอื่นในสถานศึกษาเพื่อการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
                                    
ของครูใหดีมากขึ้น และเปนการปฏิบัติตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ (2547) ที่ไดกําหนดทิศทางใน
การพัฒนาผูเรียนในมาตรฐานที่ 2 แนวการจัดการศึกษาที่มุงพัฒนาผูเรียนเปนสําคัญและการบริหารโดยใช
สถานศึกษาเปนฐาน ตัวบงชี้ที่ 3 มีการบริหารจัดการที่ใชสถานศึกษาเปนฐานโดยใหองคกร ชุมชน มีสวนรวม
ในการพัฒนาการจัด การเรียนรูตามสภาพทองถิ่น สภาพปญหาและความตองการที่แทจริงของผูเรียน และใน
มาตรฐานที่ 3 แนวทางในการสรางสังคมแหงการเรียนรู ตัวบงชี้ที่ 1 การบริการวิชาการและสรางความรวมมือ
ระหวางสถานศึกษากับชุมชนใหเปนสังคมแหงการเรียนรู ใหสถานศึกษารวมมือกับบุคลากรและองคกรใน
ชุมชนที่เกี่ยวของทุกฝาย ทุกระดับ รวมจัดปจจัยและกระบวนการเรียนรูในชุมชน ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัย
ของสุเพ็ญพร นิลชัย (2547) ไดทําการศึกษาเกี่ยวกับการดําเนินการจัดทําหลักสูตรทองถิ่นขึ้นในโรงเรียน
นํารองผลการวิจัยพบวา ผูบริหารโรงเรียน ครู และชุมชนตางใหความรวมมือและชวยเหลือกันในการสราง
หลักสูตรทองถิ่น มีการจัดตั้งคณะกรรมการเพื่ อดําเนินงานและติดตามการดําเนินงานการใชหลั กสูตร
ทองถิ่น จนทําใหการนําเอาหลักสูตรทองถิ่นไปใชจริงประสบความสําเร็จและเกิดการพัฒนาการเรียนรูตอผูเรียน
         สําหรับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานที่ 1 คือปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนา
วิชาชีพครูอยูเสมอมีการปฏิบัติงานต่ําที่สดอยูในระดับมากนั้นเนื่องจากวาครูสวนใหญไมมีเวลาในการศึกษา
                                         ุ
คนควาทางวิชาการเพื่อพัฒนาตนเองอยูตลอดเวลา อันเนื่องมาจากภาระหนาที่การงานที่ครูไดรับมากเกินไป
ครูจึงไมมเี วลามากพอตอการศึกษาคนควาเพื่อพัฒนาตนเอง สอดคลองกับงานวิจัยของธิดาพร คมสัน (2548)
ไดทําการศึกษาการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนพบวา ครูมีการแสวงหาความรูเพื่อพัฒนาตนเองในดาน

                                                    392                   OJED, Vol.5, No.1, 2010, pp. 385-396
วิชาการและดานวิชาชีพครูโดยการเขารวมประชุมและอบรม มีระดับการปฏิบัติในระดับมาก โดยพบวา
ปญหาและอุป สรรคที่ มีตอ การพั ฒ นาตนเองทางด า นวิช าการของครู คือ การจั ด สรรเวลาในการปฏิบั ติ
ภาระหนาที่ของครูและภาระงานครูที่มากเกินไป
          ผลการวิเคราะหตัวบงชี้การปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนด เพื่อคัดสรร
ตัวบงชี้ที่สะทอนผลการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนดกับผลการประเมินคุณภาพ
ภายนอกรอบที่ 2 มาตรฐานดานครู ในมาตรฐานที่ 9 ของสมศ. พบวามีตัวบงชี้ คัดสรรจํานวน 7 ตัว มีคารอยละของ
โรงเรียนที่มีความสอดคลองกันระหวางระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนด
กับผลการประเมินคุณภาพภายนอกมาตรฐานดานครูในมาตรฐานที่ 9 ของสมศ. มากกวารอยละ 50 ของครู
ทั้งสองสังกัดการศึกษา และพบวาครูที่สอนในสังกัดกทม. มีตัวบงชี้คัดสรรจํานวน 4 ตัว มีคารอยละของ
โรงเรียนที่มีความสอดคลองกันระหวางระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนด
กับผลการประเมินคุณภาพภายนอกมาตรฐานดานครูในมาตรฐานที่ 9 ของสมศ. มากกวารอยละ 50 ประกอบดวย
ตัวบงชี้ที่ 9 มีความพยายามในการวิเคราะหจุดเดนและจุดดอยของผูเรียนเปนรายบุคคล ตัวบงชี้ที่ 19 จัดหา
หรือเลือกใชสื่อการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับศักยภาพของผูเรียน ตัวบงชี้ที่ 21 ประเมินผลการใชส่ือการเรียน
การสอนและปรับปรุงใหมีความเหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนการสอน และ ตัวบงชี้ที่ 30 มีการจัดทํา
ขอเสนอแนะและแนวทางในการปรับปรุงเพื่อพัฒนาผูเรียน ดังนั้นหากครูในสังกัดกทม. ไดปฏิบัติตามตัวบงชี้
คัดสรรนี้แลวจะทําใหผลการประเมินคุณภาพภายนอกมาตรฐานดานครูในมาตรฐานที่ 9 ของสมศ. สูงยิ่งขึ้น
ครูควรใหความสนใจและพิจารณาในการปฏิบัติตามเปนพิเศษ
          สวนครูที่สอนในสังกัดสพฐ. มีตัวบงชี้คัดสรรจํานวน 19 ตัว มีคารอยละของโรงเรียนที่มีความสอดคลอง
กันระหวางระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนดกับผลการประเมินคุณภาพ
ภายนอกมาตรฐานดานครูในมาตรฐานที่ 9 ของสมศ. มากกวารอยละ 50 ประกอบดวยตัวบงชี้ที่ 1 ศึกษาคนควา
เพื่อพัฒนาตนเองทางวิชาการอยางตอเนื่อง ตัวบงชี้ที่ 4 เขารวมประชุม อบรม สัมมนา และการประชุม
เชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาวิชาชีพครู ตัวบงชี้ที่ 5 เลือกกิจกรรมการเรียนการสอนโดยคํานึงถึงประโยชนที่ผูเรียน
จะไดรับ ตัวบงชี้ที่ 6 เลือกกิจกรรมที่มุงพัฒนาความสามารถของผูเรียนไดจริง ตัวบงชี้ที่ 7 เลือกกิจกรรม
การเรียนการสอนที่นาสนใจสําหรับผูเรียน ตัวบงชี้ที่ 8 เลือกกิจกรรมการเรียนการสอนที่สงเสริมใหผูเรียนมี
คุณธรรมและจริยธรรม ตัวบงชี้ที่ 10 จัดกิจกรรมการเรียนรูที่หลากหลายเพื่อตอบสนองความถนัดและความสนใจ
ของผูเรียน ตัวบงชี้ที่ 11 มีความพยายามชวยเหลือและติดตามเพื่อแกไขปญหาทางการเรียนของผูเรียน ตัวบงชี้ที่ 12
มีการปรับเปลี่ยนวิธีสอนเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูมากที่สุด ตัวบงชี้ที่ 13 เลือกใชแผนการจัดการเรียนรูที่
ทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดอยางเต็มตามศักยภาพ ตัวบงชี้ที่ 14 จัดทําแผนการจัดการเรียนรูที่มีกิจกรรม
การเรียนรูหลากหลายวิธี ตัวบงชี้ที่ 25 จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากการปฏิบัติจริง ตัวบงชี้ที่ 26 จัดกิจกรรม
การเรียนการสอนที่ใหผูเรียนคนหาความรูและสรุปความคิดรวบยอดไดเอง ตัวบงชี้ที่ 43 แสวงหาความรู ขอมูล
ขาวสารตางๆ ตามสถานการณของสังคมที่เปนปจจุบัน ตัวบงชี้ที่ 45 นําขอมูลขาวสารที่ทันตอสถานการณปจจุบัน
มาใชในการจัดการเรียนการสอน ตัวบงชี้ที่ 46 ใชขอมูลขาวสารในการแกไขปญหาการพัฒนาตนเองพัฒนา
                                                        393                    OJED, Vol.5, No.1, 2010, pp. 385-396
งานและพัฒนาสังคม ตัวบงชี้ที่ 47 นําปญหาและอุปสรรคมาจัดกิจกรรมการเรียน การสอนเพื่อพัฒนาผูเรียน
ได ตัวบงชี้ที่ 48 มองปญหาและอุปสรรคเปนโอกาสในการพัฒนาศักยภาพของผูเรียน และตัวบงชี้ที่ 49 เมื่อพบ
ปญหาและอุปสรรคสามารถจัดกิจกรรมการเรียน การสอนไดอยางมีสติโดยไมใชอารมณ ตัวบงชี้เหลานี้ครู
ในสังกัดสพฐ. ครูควรใหความสําคัญและปฏิบัติตามเปนพิเศษเพื่อผลการประเมินคุณภาพภายนอกมาตรฐาน
ดานครู ในมาตรฐานที่ 9 ของสมศ. สูงยิ่งขึ้น

ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช
        1. จากการวิจัยพบวามาตรฐานที่ 1 คือปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครูอยู
เสมอ มีการปฏิบัติงานของครูที่ต่ําที่สุด ทั้งสังกัดกรุงเทพมหานครและสังกัดสํานักงานการศึกษาขึ้นพื้นฐาน
ดังนั้นหนวยงานที่เกี่ยวของดังกลาวควรที่จะมีการกระตุนใหครูไดมีการปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับ
การพัฒนาวิชาชีพครูอยูเสมอ เชน การจัดการอบรม สัมมนา เพื่อฝกทักษะ กระบวนการ ตลอดจนเปน
การกระตุนใหครูไดมีการพัฒนาตนเองทางดานวิชาการอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ควรมีการติดตามและ
ประเมินความรูกับครูเปนระยะๆ เพื่อใหครูไดมีการดําเนินการศึกษาคนควาเพื่อหาความรูอยูเปนประจํา
        2. ตัวบงชี้การปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูทุกตัวมีความสําคัญตอครู เพราะครูมีหนาที่
ที่ตองปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนด แตจากการวิจัยเพื่อคัดสรรตัวบงชี้การปฏิบัติงานตาม
มาตรฐานวิชาชีพครูในภาพรวมไดมาตรฐานวิชาชีพครูที่คัดสรรคือมาตรฐานที่ 4 พัฒนาแผนการสอนให
สามารถปฏิบัติไดเกิดผลจริง มาตรฐานที่ 6 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเนนผลถาวรที่เกิดแกผูเรียน
มาตรฐานที่ 11 แสวงหาและใชขอมูลขาวสารในการพัฒนา และมาตรฐานที่ 12 สรางโอกาสใหผูเรียนไดเรียนรู
ในทุกสถานการณ ที่ครูควรใหความสําคัญเปนพิเศษเนื่องจากมาตรฐานดังกลาวมีคารอยละของโรงเรียนที่มี
ความสอดคลองกันระหวางระดับการปฏิบัติงานของครูกับผลการประเมินคุณภาพภายนอก มาตรฐานดานครู
ในมาตรฐานที่ 9 ของสมศ. สูงกวารอยละ 50 หากครูไดปฏิบัติตามอยางเปนพิเศษแลวจะสงผลตอผล
การประเมินคุณภาพภายนอกมาตรฐานดานครู ในมาตรฐานที่ 9 ของสมศ. สูงยิ่งขึ้น

ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป
        1. การวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาความสัมพันธระหวางระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐาน
ดานการปฏิบัติงานของครูที่คุรุสภากําหนดกับผลการประเมินคุณภาพภายนอกมาตรฐานดานครู ในมาตรฐานที่ 9
ของสมศ. ดังนั้นในการวิจัยครั้งตอไปควรที่จะนําเอามาตรฐานดานอื่นๆ ที่สมศ. กําหนด โดยเฉพาะมาตรฐานดานผูเรียน
มาทําการศึกษาเพื่อหาความสอดคลองระหวางระดับการปฏิบัติงานของครูกับผลการประเมินดานผูเรียน
        2. การวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาเชิงสํารวจเพียงอยางเดียว ซึ่งยังไมอาจใหสารสนเทศของระดับการปฏิบัติงาน
ของครูครบรอบดานเทาที่ควร ดังนั้นในการศึกษาเพื่อทําวิจัยครั้งตอไปควรมีการศึกษาเชิงปริมาณและ
เชิงคุณภาพรวมกันเพื่อใหไดขอมูลที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น

                                                     394                   OJED, Vol.5, No.1, 2010, pp. 385-396
รายการอางอิง
ภาษาไทย
ธิดาพร คมสัน. 2548. การติดตามการปฏิบตงานของครูตนแบบระดับอนุบาล.วิทยานิพนธปริญญา
                                            ั ิ            
          มหาบัณฑิต, สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ภาควิชาหลักสูตร การสอนและเทคโนโลยีการศึกษา
          คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา, สํานักงาน. 2550. มาตรฐานตัวบงชี้และเกณฑ
          การพิจารณา เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน รอบที่ 2
          (พ.ศ. 2549-2553). กรุงเทพมหานคร: สํานักงานรับรองและประเมินคุณภาพการศึกษา.
เลขาธิการคุรสภา, สํานักงาน. 2546. รายงานประจําป 2546 สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา สํานักงาน
                ุ
          (สกสค). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว.
เลขาธิการคุรสภา, สํานักงาน. 2548. มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว.
              ุ
เลขาธิการคุรุสภา, สํานักงาน. 2548. วันครู 2549. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว.
วัยญา ยิมยวน. 2547. การวิเคราะหอภิมานของปจจัยที่มความสัมพันธกับการคิดวิจารณญาณ.วิทยานิพนธ
        ้                                                ี
          ปริญญามหาบัณฑิต. สาขาวิชาวิจัยการศึกษา ภาควิชาวิจยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร
                                                                  ั
          จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
วุฒิไกร เทียงดี. 2549. ปจจัยที่สัมพันธกับความสามารถในการคิดวิเคราะหของนักเรียนระดับชัน
            ่                                                                                   ้
          มัธยมศึกษาปที่ 3 จังหวัดกาฬสินธุ. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. สาขาวิชาวิจยการศึกษา
                                                                                            ั
ศึกษาธิการ, กระทรวง. 2546. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)
          พ.ศ. 2545 พรอมกฎกระทรวงที่เกี่ยวของและพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545.
          กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพองคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ (ร.ส.พ.).
สุเพ็ญพร นิลชัย. (2547). การดําเนินการจัดหลักสูตรทองถิ่น กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา
          ศาสนา และวัฒนธรรม ของโรงเรียนนํารอง โครงการกองทุนหมูบานสืบสานดวยโรงเรียน.
          วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. สาขาวิชานิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร ภาควิชานโยบาย
          การจัดการและความเปนผูนาทางการศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
                                      ํ
สุทธิวรรณ แสงกาศ. 2550. การพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุของคุณภาพนักเรียนของโรงเรียนในฝน.
          วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. สาขาวิชาวิจัยการศึกษา ภาควิชาวิจยและจิตวิทยาการศึกษา
                                                                              ั
          คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ภาษาอังกฤษ
Arnona, S., and Reichel, N. 2007. Who is the ideal teacher? Am I? Similarity and difference in
          perception of students of education regarding the qualities of a good teacher and of their own
          qualities as teachers. Teachers and Teaching: Theory and Practice 13 (11): 441–464.
                                                  395                  OJED, Vol.5, No.1, 2010, pp. 385-396
Bolyard, J. J., and Moyer-Packenham, P. S. 2008. A review of the literature on mathematics and science
          teacher quality. Peabody Journal of Education 83(4): 509–535.
Bousted, M., and Johnson, M. 2005. What will it take for teachers to become “new” professionals?.
          Education Review 18(2): 18.
Cathy. 2008. The top 10 qualities of a good teacher. [Online] Available from:
          http://www.ripplesofimprovement.com/index.php/connecting-with-others/the-top-10-qualities-of-
          a-good-teacher/ [2009, June 17]
Cherubini, L. 2009. Exploring prospective teachers’ critical thinking: Case-based pedagogy and the
          standards of professional practice. Teaching and Teacher Education 25: 228–234.
Christie, D. 2006. The Standard for chartered teacher in Scotland : A new context for the assessment and
          professional development of teachers. Studies in Educational Evaluation 32: 53-72.
Claire, E. 2009 . teacher qualities. [Online] Available from: http://www.uwec.edu/Career/Students/
          JobSearch/teachers/teacherqualities.htm [2009, June 17]
Department of Education. 2001. NBPTS career and technical education standards. National Board
          For Professional Teaching Standards 3:1-94.
Jusuf, H. (2005). Improving Teacher Quality, A Keyword For Improving Education Facing Global
          Challenges. The Turkish Online Journal of Educational Technology 4(1): 33.
Kyriakides, L., Creemers, B., and Antoniou, P. 2009. Teacher behavior and student outcomes:
          Suggestions for research on teacher training and professional development. Teaching and Teacher Education 25: 12-23.
Ministry Of Education, New Zealand. 1999. Professional standards : Criteria for quality teaching.
          Educational Research 10: 1- 13.
Queensland Government. 2005. Professional standards for teachers. Department of education:1-36.
Sandholtz, J. H., and Scribner, S. P. 2006. The paradox of administrative control in fostering teacher
          professional development. Teaching and Teacher Education 22: 1104-1117.
Townsend, B. 2009. The qualities of a Truly professional teacher. [Online] Available from:
          http://www.eslemployment.com/esl-employers/the-qualities-of-a-truly-professional-teacher.htm [2009, June 17]
TrainingandDevelopmentAgencyforSchools.2007.Professionalstandardsforteachers Whysitstillinyourcareer?.TDA313:1-36.
Vanderschaaf, M. F., Stokkinga, K. M., and Verloop, N. 2008. Teacher beliefs and teacher behavior in
          portfolio assessment. Teaching and Teacher Education 24: 1691-1704.
Wen, J. R., and Shih, W. L. 2008. Exploring the information literacy competence standards for
          elementary and high school teachers. Computers & Education 50: 787-806.

                                                             396                       OJED, Vol.5, No.1, 2010, pp. 385-396

Contenu connexe

Tendances

Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริต
Aon Narinchoti
 
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
phiphitthanawat
 
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
ดอกหญ้า ธรรมดา
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
pairat13
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
sawitreesantawee
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
Samapol Klongkhoi
 
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลUtq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
krusoon1103
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
thkitiya
 

Tendances (20)

Qa 3
Qa 3Qa 3
Qa 3
 
A1
A1A1
A1
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริต
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
Teerapong12
Teerapong12Teerapong12
Teerapong12
 
งาน
งานงาน
งาน
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตรความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
 
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
 
3
33
3
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
 
Oganization3
Oganization3Oganization3
Oganization3
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลUtq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
 
2
22
2
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
ปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตร
 

Similaire à บทความวิจัย 1

2 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 25572 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 2557
somdetpittayakom school
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
Wes Yod
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผล
narongsak promwang
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกล
dtschool
 
สอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูสอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครู
Sarawut Rajchakit
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
Nattapon
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
arsad20
 

Similaire à บทความวิจัย 1 (20)

วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 
KKU Faculty Development
KKU Faculty DevelopmentKKU Faculty Development
KKU Faculty Development
 
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, ThailandSchool Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
 
2 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 25572 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 2557
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผล
 
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdfบรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกล
 
สอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูสอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครู
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
 
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNtคู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
 
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
 
งานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sarงานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sar
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
 
Qa 3
Qa 3Qa 3
Qa 3
 
Standard54
Standard54Standard54
Standard54
 
Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์
 

บทความวิจัย 1

  • 1. OJED OJED, Vol.5, No.1, 2010, pp. 385-396 An Online Journal of Education วารสารอิเล็กทรอนิกส http://www.edu.chula.ac.th/ojed ทางการศึกษา การพัฒนาตัวบงชีคัดสรรการปฏิบัตงานตามมาตรฐานวิชาชีพครู ้ ิ DEVELOPMENT OF SELECTED PERFORMANCE INDICATORS FOR NEW PROFESSIONAL TEACHING STANDARDS ธีรวัฒน เลื่อนฤทธิ์ * Teerawat Luanrit รศ.ดร.อวยพร เรืองตระกูล ** Assoc. Prof. Auyporn Ruengtragul, Ph.D. บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ (1) วิเคราะหระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครู (2) วิเคราะหตัวบงชี้ที่สะทอน ความแตกตางของระดับการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนที่มีผลการประเมินคุณภาพภายนอกในมาตรฐานดานครูที่ตางกัน และ (3) นําเสนอ ตัวบงชี้ที่คัดสรรสําหรับตัวบงชี้การปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครู กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยคือโรงเรียนในเขตกทม.จํานวน244โรงเรียน สุมตัวอยางแบบแบงชั้นโดยใชผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสมศ.มาตรฐานดานครูมาเปนเกณฑ และทําการสุมอยางงายเพื่อสุมครู ในโรงเรียนที่เปนกลุมตัวอยางกลุมสาระการเรียนรูละ1คนรวมจํานวน1,822คนเก็บขอมูลโดยใชแบบวัดการปฏิบัติงานของครูมีคาความเที่ยง ทั้งฉบับเปน0.97ทําการวิเคราะหขอมูลดวยการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียวและการวิเคราะหความสัมพันธโดยใชโปรแกรมสําเรจรูป SPSS ็ ผลการวิจัยพบวา (1)ระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูในภาพรวมอยูในระดับดีมาก(Mean=4.18)โดยมีการปฏิบัติงาน ตามมาตรฐานที่ 9สูงที่สุด และมาตรฐานที่ 1 ต่ําที่สุด ครูที่มีอายุต่ํากวา30 ป ครูที่มีประสบการณสอนนอยกวา6 ป ครูที่มีระดับการศึกษา ปริญญาตรี ครูที่มีตําแหนงครูผูชวย ครูที่ยังไมไดรับวิทยฐานะ และครูที่มีวิทยฐานะชํานาญการ จะมีระดับการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน วิชาชีพครูที่นอยกวาครูที่มีอายุ ประสบการณสอนระดับการศึกษาตําแหนงและวิทยฐานะที่สูงกวา สวนครูที่สอนในกลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทยจะมีระดับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่สูงกวาครูท่ีสอนในกลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ และครูที่สอนใน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีจะมีระดับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่สูงกวาครูที่สอนใน กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตร ภาษาตางประเทศ และสอนมากกวาหนึ่งกลุมสาระการเรียนรู อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ0.05 (2) ผลการวิเคราะหความสัมพันธระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูกับผลการประเมินคุณภาพภายนอก มาตรฐานดานครูในมาตรฐานที่ 9 ของสมศ.พบวามาตรฐานที่ 4 6 11 และ12 มีคารอยละของโรงเรียนที่มีความสอดคลองกันระหวาง ระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูกับผลการประเมินคุณภาพภายนอกมาตรฐานดานครูในมาตรฐานที่ 9 ของสมศ. มากกวารอยละ 50 (3) ตัวบงชี้ท่คัดสรรสําหรับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครูมีจํานวน 30 ตัว ี * นิสิตมหาบัณฑิตสาขาวิชาวิจัยการศึกษา ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย E-mail Address: Luanrit@hotmail.com ** อาจารยประจําสาขาวิชาวิจัยการศึกษา ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย E-mail Address: rauyporn@chula.ac.th ISSN 1905-4491 385 OJED, Vol.5, No.1, 2010, pp. 385-396
  • 2. Abstract The purposes of this research were: (1) to analyze the performance level of professional teaching standards (2) the analysis of markers that reflect different levels of performance of teachers in schools with external quality assessment in teaching standards and (3) to provides markers for the selection indication of professional teaching standards. The samples used in the research were schools in Bangkok. (244 schools, 1,822 people) selected by a random classification (stratified random sampling). Analysis was conducted by one-way ANOVA and correlated using SPSS. The research found that (1)The performance levels of teachers based on professional teaching standards as a whole was very good with performance standards of 9 the highest and 1 the lowest. Teachers under 30 years of age, or with less than 6 years teaching experience, with a teacher education bachelor's degree, occupying a teacher assistant position, and those who had not received academic training had a lower level of professional competence than older teachers, with longer teaching experience, higher education degree, and higher academic standing. Those who teach subjects in the Thai language exhibited a greater degree of professional teaching standards than the teachers of subjects in a foreign language. Teacher of careers subjects and technology exhibited higher levels of professional teaching standards than those who taught subjects in science, math, learning foreign languages, or who taught more than one subjects. The finding were statistically significant at the level of 0.05. (2) The correlation between the performance levels of teachers based on professional teaching standards with the results of a second external quality assessment of the performance of the Office for National Education Standards and Quality Assessment showed a 50% consistency at levels 4, 6, 11 and 12. (3) Thirty performance indicators of professional teaching standards were used. คําสําคัญ : การพัฒนา / ตัวบงชี้คัดสรร / มาตรฐานวิชาชีพครู Keywords : development / performance indicators / professional teaching standards บทนํา การศึกษาเปนเครื่องมือหลักในการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืน การจัดการศึกษาใหบังเกิดผลดีมีคุณภาพ เพียงพอที่จะผลักดันใหเกิดการพัฒนาประเทศในทิศทางที่พึงประสงคไดนั้น ตองอาศัยครูเปนกําลังสําคัญใน การพัฒนา เพราะปจจัยสําคัญที่เปนสวนหนึ่งของความสําเร็จทางการศึกษาคือครู อาชีพครูจึงเปนอาชีพที่ไดรับ การยกยองและหวังที่จะเห็นครูมีความรูความสามารถ มีความซื่อสัตยสุจริต มีความรักความอาทรหวงใยและเสียสละเพื่อ อนาคตของเด็ กด วยความบริ สุ ทธิ์ ใจ ครู จึ งมี ความสํ าคั ญอย างมากต อการพั ฒนาคนในชาติ ดั งพระบรมราโชวาทใน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ที่ทรงกลาวถึงภารกิจของครูวาสําคัญยิ่ง อนาคตของชาติ บานเมืองเปนเชนไรครูมีสวนสําคัญในการสรางสรรค (สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา, 2548: 20) ทักษะ กระบวนการ และการจัดการเรียนการสอนของครูมีความสําคัญตอคุณภาพของนักเรียน ครูจะตอง คํานึงถึงประสิทธิภาพและความเหมาะสมในการสอนของตน ปจจัยหนึ่งที่มีความสําคัญและสงผลตอคุณภาพ ของนักเรียนคือ ปจจัยดานการจัดการเรียนการสอนของครู ประกอบดวยบรรยากาศในชั้นเรียน วิธีการสอนของครู สื่อการสอน และเทคโนโลยีสารสนเทศตางๆ ที่ครูเลือกใช สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะทางการคิด วิเคราะห และการคิดอยางมีวิจารณญาณของนักเรียน (วัยญา ยิ้มยวน, 2547; วุฒิไกร เที่ยงดี, 2549; สุทธิวรรณ 386 OJED, Vol.5, No.1, 2010, pp. 385-396
  • 3. แสงกาศ, 2550) ครูที่มีมาตรฐานในการจัดการเรียนการสอนในระดับสูงจึงมีกลวิธีในการเลือกวิธีการสอนได เหมาะสมและตรงตามระดับความรูความสามารถของนักเรียน (Vanderschaaf, Stokkinga, and Verloop, 2008) คุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครูจึงสงผลตอคุณภาพของนักเรียน (Kyriakides, Creemers, and Antoniou, 2009) การปฏิบัติงานของครูมีความสําคัญอยางมากที่จําเปนตองมีการกําหนดมาตรฐานวิชาชีพครู เพื่อใหครูไดมีมาตรฐานในการปฏิบัติงาน พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ในหมวดที่ 7 วาดวยครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษา มาตรา 52 กระทรวงศึกษาธิการ ทําหนาที่สงเสริมใหมีระบบ กระบวนการผลิตการพัฒนาครูคณาจารยและบุคลากรทางการศึกษาใหมีคุณภาพและมาตรฐานที่เหมาะสม กับการเปนวิชาชีพขั้นสูง (กระทรวงศึกษาธิการ, 2546) และพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ใหคุรุสภามีอํานาจหนาที่ในการกําหนดมาตรฐานวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา ตลอดจน การควบคุมดูแลใหผูประกอบวิ ชาชีพทางการศึกษาประพฤติปฏิบัติตนตาม และสามารถที่เพิกถอนใบ ประกอบวิชาชีพคืนไดหากพบวาครูหรือบุคลากรทางการศึกษาขาดคุณสมบัติตามมาตรฐานวิชาชีพตามที่คุรุสภา กําหนด (สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา, 2546) มาตรฐานวิชาชี พครู ที่คุรุสภากํ า หนดประกอบดว ยมาตรฐานความรูและประสบการณวิชาชี พ มาตรฐานการปฏิบัติงาน และมาตรฐานการปฏิบัติตน โดยมาตรฐานดานความรูแบงออกเปน 9 ขอ 33 สมรรถนะ มาตรฐานประสบการณวชาชีพแบงออกเปน 2 ขอ 8 สมรรถนะ มาตรฐานการปฏิบัติงานประกอบดวย 12 มาตรฐาน ิ และมาตรฐานการปฏิบัติตนประกอบดวย จรรยาบรรณในอาชีพ 5 ดาน รวม 9 ขอ (สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา, 2548) จากการสังเคราะหงานมาตรฐานวิชาชีพครูในตางประเทศ พบวามาตรฐานวิชาชีพครูสวนใหญ ประกอบดวยตัวบงชี้ดานการปฏิบัติงานของครูในดานการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาวิชาการของครู เปนสําคัญ ซึ่งสะทอนถึงแนวทางในการปฏิบัติงานดานการสอนของครูท่มีความสอดคลองกับมาตรฐานดาน ี การปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนด (Ministry of Education, 1999; Department of Education, 2001; Bousted and Johnson, 2005; Jusuf, 2005; Queensland Government, 2005; Christie, 2006; Sandholtz and Scribner, 2006; Arnona and Reichel, 2007; Training and Development Agency for Schools, 2007; Bolyard and Moyer-Packenham, 2008; Cathy, 2008; Wen and Shih, 2008; Cherubini, 2009; Claire, 2009; Townsend, 2009) ดังนั้นมาตรฐานดานการปฏิบัติงานของครูจึงมีความสําคัญ ควรมีการประเมินและ ตรวจสอบคุณภาพ การปฏิบัติงานของครู และผลการประเมินสามารถนํามาใชเปนแนวทางในการปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานของครูตอไป สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เปนหนวยงานที่มีความสําคัญ หนวยงานหนึ่งที่ทําหนาที่ในการตรวจสอบเพื่อประเมินคุณภาพของสถานศึกษา รวมทั้งการปฏิบัติงานของครู การประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาขั้นพื้นฐานรอบที่ 2 (พ.ศ. 2549-2553) มีการกําหนดมาตรฐานดานครู ในมาตรฐานที่ 9 ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอยางมีประสิทธิภาพและเนนผูเรียนเปนสําคัญ มีเกณฑการพิจารณา จํานวน 7 ขอ (สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา, 2550) ครูจึงมี 387 OJED, Vol.5, No.1, 2010, pp. 385-396
  • 4. หนาที่ในการปฏิบัติงานใหตรงตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนดและในขณะเดียวกันการปฏิบัติงาน ของครูจะตองผานเกณฑการประเมินคุณภาพภายนอกมาตรฐานดานครูที่สํานักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษากําหนดไว ผูวิจัยจึงสนใจที่จะคัดสรรตัวบงชี้การปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครู ที่คุรุสภากําหนดตัวใดและมาตรฐานใดบางเมื่อครูปฏิบัติตามแลวจะทําใหผลการประเมินคุณภาพภายนอก มาตรฐานดานครูของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาสูงยิ่งขึ้น วัตถุประสงค การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) วิเคราะหระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครู 2) วิเคราะหความสอดคลองของตัวบงชี้ระหวางระดับการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนกับผลการประเมิน คุณภาพภายนอกมาตรฐานดานครู ในมาตรฐานที่ 9 ของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา และ 3) นําเสนอตัวบงชี้ที่คัดสรรสําหรับตัวบงชี้การปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครู วิธดําเนินการวิจัย ี การวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ ป น การวิ จั ย เชิ ง ปริ ม าณ กลุ ม ตั ว อย า งที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย คื อ โรงเรี ย นในเขต กรุงเทพมหานคร (สังกัดกทม. และ สพฐ.) จํานวน 244 โรงเรียน จากการสุมตัวอยางแบบแบงชั้น (stratified random sampling) โดยใชผลการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ. มาตรฐานดานครูมาเปนเกณฑใน การสุมเลือก ทําการสุมครูดวยการสุมอยางงาย (simple random sampling) จํานวน 1,822 คน ที่อยูในโรงเรียนที่ เปนกลุมตัวอยาง ตามกลุมสาระการเรียนรูทั้ง 8 กลุม โรงเรียนละ 8 คน อัตราในการตอบกลับของแบบวัด การปฏิบัติงานของครูรอยละ 77.2 ผูวิจัยทําการสรางแบบวัดการปฏิบัติงานของครูเพื่อเปนเครื่องมือในการเก็บ รวบรวมขอมูล โดยสรางตัวบงชี้การปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครู ตามที่คุรุสภากําหนด จํานวน 49 ตัวบงชี้ หาคุณภาพของเครื่องมือในการวิจัยทั้งดานความตรงเชิงเนื้อหาคือคาดัชนี IOC (item objective congruence) โดยผูเชี่ยวชาญจํานวน 5 ทาน ผลพบวาแบบวัดทุกขอมีคาดัชนี IOC ตั้ง แต 0.80 ขึ้นไป และแบบวัดการปฏิบัติงาน ของครูมีคาความเที่ยง (Reliability) ทั้งฉบับเปน 0.97 แสดงวาแบบสอบถามฉบับนี้สามารถนําเอาไปใชได เนื่องจากวามีคาความเที่ยงที่สูง ผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลโดยการสงแบบวัดการปฏิบัติงานของครูทางไปรษณีย และวิเคราะหขอมูลดวยการใชสถิติการทดสอบการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (one-way ANOVA) และการวิเคราะหความสัมพันธ (correlation ) โดยการทํา cross tabulation เพื่อดูรอยละของโรงเรียนที่มีความ สอดคลองกันระหวางระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนดกับผลการประเมิน คุณภาพภายนอกมาตรฐานดานครู ในมาตรฐานที่ 9 ของสมศ. โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS 388 OJED, Vol.5, No.1, 2010, pp. 385-396
  • 5. ผลการวิจัย ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะหระดับการปฏิบัตงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครู ิ 1) ผลการวิ เคราะหระดั บการปฏิบัติง านของครู ในภาพรวม จําแนกตามสัง กัด การศึ กษา และ ระดับชั้นในการสอนของครู ผลการวิเคราะหขอมูลโดยภาพรวมพบวา ครูมีการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภา กําหนดอยูในระดับดีมาก (Mean=4.18) โดยมีการปฏิบัตงานตามมาตรฐานที่ 9) รวมมือกับผูอื่นในสถานศึกษา ิ อยา งสร า งสรรค มี ก ารปฏิ บั ติง านสู ง ที่ สุ ด อยูใ นระดับ มากที่ สุด (Mean=4.63) และมี ก ารปฏิ บั ติง านตาม มาตรฐานที่ 1) ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครูอยูเสมอมีการปฏิบัติงานต่ําที่สุดอยู ในระดับดี (Mean=3.51) และเมื่อพิจารณาตามรายมาตรฐานวิชาชีพครูพบวามาตรฐานวิชาชีพครูจํานวน 10 มาตรฐาน ที่ครูมีการปฏิบัติงานอยูในระดับมากที่สุดประกอบดวย มาตรฐานขอที่ 2) ตัดสินใจปฏิบัติ กิจกรรมตางๆ โดยคํานึงถึงผลที่จะเกิดแกผูเรียน 3) มุงมั่นพัฒนาผูเรียนใหเต็มตามศักยภาพ 4)พัฒนาแผน การสอนใหสามารถปฏิบัติไดเกิดผลจริง 5) พัฒนาสื่อการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพอยูเสมอ 6) จัดกิจกรรม การเรียนการสอนโดยเนนผลถาวรแกผูเรียน 8) ปฏิบัติตนเปนแบบอยางที่ดีแกผูเรียน 9) รวมมือกับผูอื่นใน สถานศึกษาอยางสรางสรรค 10) รวมมือกับผูอื่นในชุมชนอยางสรางสรรค 11) แสวงหาและใชขอมูลขาวสาร ในการพัฒนา และ 12) สรางโอกาสใหผูเรียนไดเรียนรูในทุกสถานการณ สําหรับมาตรฐานที่ 1) ปฏิบัติ กิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครูอยูเสมอ และมาตรฐานที่ 7) รายงานผลการพัฒนาคุณภาพ ของผูเรียนไดอยางมีระบบนั้นครูมีการปฏิบติงานอยูในระดับดี ั 2) ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูจําแนกตามอายุ ประสบการณในการสอน ระดับการศึกษา ตําแหนง วิทยฐานะ กลุมสาระการเรียนรูที่สอน และสังกัดการศึกษาของครู (1) ระดับการปฏิบัติงานของครูท่ีมีอายุนอยกวา 30 ป แตกตางกันกับระดับการปฏิบัติงานของ ครูที่มอายุระหวาง 31-35 ป 36-40 ป 41-45 ป และอายุมากกวา 45 ป ขึ้นไป อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ี 0.05 กลาวคือครูที่มีอายุนอยกวา 30 ป จะมีระดับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครูนอยกวาครูที่มีอายุ ระหวาง 31-35 ป 36-40 ป 41-45 ป และอายุมากกวา 45 ป ขึ้นไป (2) ระดับการปฏิบัติงานของครูที่มีประสบการณสอนนอยกวา 6 ป แตกตางกันกับระดับ การปฏิบัติงานของครูที่มีประสบการณสอนระหวาง 6-10 ป 11-15 ป 16-20 ป 21-25 ป และอายุมากกวา 25 ป ขึ้นไป อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 กลาวคือครูที่มีประสบการณสอนนอยกวา 6 ป จะมีระดับการปฏิบัติงาน ตามมาตรฐานวิชาชีพครูนอยกวาครูที่มีสอนระหวาง 6-10 ป 11-15 ป 16-20 ป 21-25 ป และอายุมากกวา 25 ป ขึ้นไป ระดับการปฏิบัติงานของครูที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรีแตกตางกันกับระดับ การปฏิบัติงานของครู ที่มีระดับการศึกษาปริญญาโท อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 กลาวคือครูที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรี จะมีระดับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครูนอยกวาครูที่มีระดับการศึกษาปริญญาโท 389 OJED, Vol.5, No.1, 2010, pp. 385-396
  • 6. (3) ระดับการปฏิบัติงานของครูที่มตําแหนงครูผูชวยแตกตางกันกับระดับการปฏิบัติงานของครู ี ที่มีตําแหนงครูอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 กลาวคือครูที่มีตําแหนงครูจะมีระดับการปฏิบัติงาน ตามมาตรฐานวิชาชีพครูสูงกวาครูที่มีตาแหนงครูผูชวย ํ (4) ระดับการปฏิบัติงานของครูที่ยังไมไดรับวิทยฐานะแตกตางกันกับระดับการปฏิบัติงานของ ครูวิทยฐานะเชี่ยวชาญและครูวิทยฐานะชํานาญการพิเศษอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 กลาวคือครู วิทยฐานะชํานาญการพิเศษและครูวิทยฐานะเชี่ยวชาญจะมีระดับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครูสูง กว าครูที่ยัง ไม ไ ด รับวิ ท ยฐานะและพบวาระดับการปฏิบัติ งานของครูชํา นาญการแตกต างกั น กั บ ระดั บ การปฏิบัติงานของครูวิทยฐานะชํานาญการพิเศษและครูวิทยฐานะเชี่ยวชาญ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 กลาวคือครูวทยฐานะชํานาญการพิเศษและครูวิทยฐานะเชี่ยวชาญจะมีระดับการปฏิบัติงานตาม ิ มาตรฐานวิชาชีพครูสูงกวาครูวิทยฐานะชํานาญ (5) ระดับการปฏิบัติงานของครูที่สอนในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยแตกตางกันกับระดับ การปฏิบัติงานของครูที่สอนในกลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยครูที่สอนในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยจะมีระดับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครูสูงกวาครูที่ สอนในกลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ และยังพบวาระดับการปฏิบัติงานของครูที่สอนในกลุมสาระ การเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี แตกตางกันกับระดับการปฏิบัติงานของครูที่สอนในกลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร วิทยาศาสตร ภาษาตางประเทศ และสอนมากกวาหนึ่งกลุมสาระการเรียนรู อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ 0.05 โดยครูที่สอนในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี จะมีระดับการปฏิบัติงานตาม มาตรฐานวิชาชีพครูสูงกวาครูที่สอนในกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตร ภาษาตางประเทศ และสอนมากกวาหนึ่งกลุมสาระการเรียนรู (6) ระดับการปฏิบัติงานของครูสังกัดกรุงเทพมหานครแตกตางกันกับระดับการปฏิบัติงานของ ครูสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 กลาวคือครู สังกัดกรุงเทพมหานคร มีระดับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครูสูงกวาครูสังกัดสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะหความสัมพันธระหวางระดับการปฏิบตงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครู ั ิ กับผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่ 2 มาตรฐานดานครู ในมาตรฐานที่ 9 1) ผลการวิเคราะหความสัมพันธระหวางระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูกับผล การประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่ 2 มาตรฐานดานครู ในมาตรฐานที่ 9 โดยภาพรวม ผลการวิเคราะหความสัมพันธโดยภาพรวมเมื่ อพิจารณาตามรายมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภา กําหนดพบวา มาตรฐานวิชาชีพครูมาตรฐานที่ 4 พัฒนาแผนการสอนใหสามารถปฏิบัติไดเกิดผลจริง มีคา รอยละของโรงเรียนมีความสอดคลองระหวางระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภา กําหนดกับผลการประเมินคุณภาพภายนอกมาตรฐานดานครูในมาตรฐานที่ 9 ของสมศ. สูงที่สุดคือรอยละ 55.74 390 OJED, Vol.5, No.1, 2010, pp. 385-396
  • 7. สวนมาตรฐานวิชาชีพครูมาตรฐานที่ 1 ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครูอยูเสมอ มีคารอยละ ของโรงเรียนที่มีความสอดคลองกันต่ําที่สุดคือรอยละ 39.34 เมื่อพิจารณาตามตัวบงชี้พบวา ตัวบงชี้ที่ 16 ประเมิน และปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรูของตนอยางตอเนื่อง มีคารอยละของโรงเรียน ที่มีความสอดคลองกันสูงที่สุด คือรอยละ 56.14 สวนตัวบงชี้ที่ 3 สงผลงานทางวิชาการไปลงในสื่อสิ่งพิมพเพื่อเผยแพร มีคารอยละของ โรงเรียนที่มีความสอดคลองต่ํากันที่สุดคือรอยละ 15.57 2) ผลการวิเคราะหความสัมพันธระหวางระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูกับผล การประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่ 2 มาตรฐานดานครู ในมาตรฐานที่ 9 จําแนกตามสังกัดการศึกษาและ ระดับชั้นที่สอน ผลการวิเคราะหความสัมพันธโดยจําแนกตามสังกัดการศึกษาและระดับชั้นที่สอนพิจารณาตามราย ตัวบงชี้และรายมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนดพบวา สังกัดกทม. และสังกัดสพฐ. ในมาตรฐานที่ 1 ปฏิบัติ กิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครูอยูเสมอ และตัวบงชี้ที่ 3 สงผลงานทางวิชาการไปลงในสื่อ สิ่งพิมพเพื่อเผยแพร มีคารอยละของโรงเรียนที่มีความสอดคลองกันระหวางระดับการปฏิบัติงานของครูตาม มาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนดกับผลการประเมินคุณภาพภายนอกมาตรฐานดานครูในมาตรฐานที่ 9 ของสมศ. ต่ําที่สุดเหมือนกันทั้งสองสังกัดการศึกษา สวนคารอยละของโรงเรียนที่มีความสอดคลองกันสูงที่สุด ของสังกัดกทม. คือ มาตรฐานที่ 4 พัฒนาแผนการสอนใหสามารถปฏิบัติไดเกิดผลจริง (รอยละ 56.77) ตัวบงชี้ที่ 16 ประเมินและปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรูของตนอยางตอเนื่อง (รอยละ 55.48) สังกัดสพฐ. คือมาตรฐานที่ 11 แสวงหาและใชขอมูลขาวสารในการพัฒนา และมาตรฐานที่ 12 สรางโอกาสใหผูเรียนไดเรียนรูในทุกสถานการณ (รอยละ 59.55) ตัวบงชี้ที่ 7 เลือกกิจกรรมการเรียนการสอนที่นาสนใจสําหรับ และตัวบงชี้ที่ 48 มองปญหาและ อุปสรรคเปนโอกาสในการพัฒนาศักยภาพของผูเรียน (รอยละ 60.67) ระดับชั้นประถมศึกษา มาตรฐานที่ 4 พัฒนาแผนการสอนใหสามารถปฏิบัติไดเกิดผลจริง (รอยละ 58.18) ตัวบงชี้ที่ 16 ประเมินและปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรูของตนอยางตอเนื่อง และตัวบงชี้ที่ 44 มีระบบใน การจัดเก็บ การวิเคราะหขอมูลขาวสารอยางเปนระบบ (รอยละ 56.97) มีคารอยละของโรงเรียนที่มีความสอดคลอง กันสูงที่สุด มาตรฐานที่ 2 ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมตางๆ โดยคํานึงถึงผลที่จะเกิดแกผูเรียน (รอย 42.42) ตัวบงชี้ที่ 3 สงผลงานทางวิชาการไปลงใน สื่อสิ่งพิมพเพื่อเผยแพร (รอยละ15.76) มีคารอยละของโรงเรียนที่มีความสอดคลอง กันต่ําที่สดุ ระดับมัธยมศึกษา มาตรฐานที่ 12 สรางโอกาสใหผูเรียนไดเรียนรูในทุกสถานการณ (รอยละ 60.76) ตัวบงชี้ที่ 7 เลือกกิจกรรมการเรียนการสอนที่นาสนใจสําหรับ และตัวบงชี้ที่ 48 มองปญหาและอุปสรรคเปน โอกาสในการพัฒนาศักยภาพของผูเรียน (รอยละ 62.03) มีคารอยละของโรงเรียนที่มีความสอดคลองกันสูงที่สุด มาตรฐานที่ 1 ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครูอยูเสมอ (รอยละ 31.65) สวนตัวบงชี้ที่ 3 สงผลงานทางวิชาการไปลงในสื่อสิ่งพิมพเพื่อเผยแพร มีคารอยละของโรงเรียนที่มีความสอดคลองกันต่ําที่สุด (รอยละ15.19) 391 OJED, Vol.5, No.1, 2010, pp. 385-396
  • 8. ตอนที่ 3 ตัวบงชี้ที่คดสรรสําหรับตัวบงชี้การปฏิบตงานตามมาตรฐานวิชาชีพครู ั ั ิ ผลการวิเคราะหตัวบงชี้การปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนด เพื่อคัดสรรตัวบงชี้ ที่สะทอนผลการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนดกับผลการประเมินคุณภาพภายนอก รอบที่ 2 มาตรฐานดานครู ในมาตรฐานที่ 9 ของสมศ. พบวาไดตัวบงชี้คัดสรรทั้งหมดจํานวน 30 ตัว คือครู ที่สอนในสังกัดกทม. มีตัวบงชี้คัดสรรจํานวน 4 ตัว ครูที่สอนในสังกัดสพฐ. มีตัวบงชี้คัดสรรจํานวน 19 ตัว มีคารอยละของโรงเรียนที่มีความสอดคลองกันระหวางระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่ คุรุสภากําหนดกับผลการประเมินคุณภาพภายนอกมาตรฐานดานครูในมาตรฐานที่ 9 ของสมศ. มากกวารอยละ 50 และมีตัวบงชี้คัดสรรจํานวน 7 ตัว มีคารอยละของโรงเรียนที่มีความสอดคลองกันระหวางระดับการปฏิบัติงาน ของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนดกับผลการประเมินคุณภาพภายนอกมาตรฐานดานครูใน มาตรฐานที่ 9 ของสมศ. มากกวารอยละ 50 ของครูทั้งสองสังกัดการศึกษา อภิปรายผลการวิจย ั ผลการวิจัยพบวา การปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนดในมาตรฐานที่ 9 คือ รวมมือกับผูอื่นในสถานศึกษาอยางสรางสรรคมีการปฏิบัติงานสูงที่สุดอยูในระดับมากที่สุดนั้น เนื่องจากวา โรงเรียนไดใหความสําคัญในการมีสวนรวมกับคนอื่นในสถานศึกษาเพื่อการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน  ของครูใหดีมากขึ้น และเปนการปฏิบัติตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ (2547) ที่ไดกําหนดทิศทางใน การพัฒนาผูเรียนในมาตรฐานที่ 2 แนวการจัดการศึกษาที่มุงพัฒนาผูเรียนเปนสําคัญและการบริหารโดยใช สถานศึกษาเปนฐาน ตัวบงชี้ที่ 3 มีการบริหารจัดการที่ใชสถานศึกษาเปนฐานโดยใหองคกร ชุมชน มีสวนรวม ในการพัฒนาการจัด การเรียนรูตามสภาพทองถิ่น สภาพปญหาและความตองการที่แทจริงของผูเรียน และใน มาตรฐานที่ 3 แนวทางในการสรางสังคมแหงการเรียนรู ตัวบงชี้ที่ 1 การบริการวิชาการและสรางความรวมมือ ระหวางสถานศึกษากับชุมชนใหเปนสังคมแหงการเรียนรู ใหสถานศึกษารวมมือกับบุคลากรและองคกรใน ชุมชนที่เกี่ยวของทุกฝาย ทุกระดับ รวมจัดปจจัยและกระบวนการเรียนรูในชุมชน ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัย ของสุเพ็ญพร นิลชัย (2547) ไดทําการศึกษาเกี่ยวกับการดําเนินการจัดทําหลักสูตรทองถิ่นขึ้นในโรงเรียน นํารองผลการวิจัยพบวา ผูบริหารโรงเรียน ครู และชุมชนตางใหความรวมมือและชวยเหลือกันในการสราง หลักสูตรทองถิ่น มีการจัดตั้งคณะกรรมการเพื่ อดําเนินงานและติดตามการดําเนินงานการใชหลั กสูตร ทองถิ่น จนทําใหการนําเอาหลักสูตรทองถิ่นไปใชจริงประสบความสําเร็จและเกิดการพัฒนาการเรียนรูตอผูเรียน สําหรับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานที่ 1 คือปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนา วิชาชีพครูอยูเสมอมีการปฏิบัติงานต่ําที่สดอยูในระดับมากนั้นเนื่องจากวาครูสวนใหญไมมีเวลาในการศึกษา ุ คนควาทางวิชาการเพื่อพัฒนาตนเองอยูตลอดเวลา อันเนื่องมาจากภาระหนาที่การงานที่ครูไดรับมากเกินไป ครูจึงไมมเี วลามากพอตอการศึกษาคนควาเพื่อพัฒนาตนเอง สอดคลองกับงานวิจัยของธิดาพร คมสัน (2548) ไดทําการศึกษาการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนพบวา ครูมีการแสวงหาความรูเพื่อพัฒนาตนเองในดาน 392 OJED, Vol.5, No.1, 2010, pp. 385-396
  • 9. วิชาการและดานวิชาชีพครูโดยการเขารวมประชุมและอบรม มีระดับการปฏิบัติในระดับมาก โดยพบวา ปญหาและอุป สรรคที่ มีตอ การพั ฒ นาตนเองทางด า นวิช าการของครู คือ การจั ด สรรเวลาในการปฏิบั ติ ภาระหนาที่ของครูและภาระงานครูที่มากเกินไป ผลการวิเคราะหตัวบงชี้การปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนด เพื่อคัดสรร ตัวบงชี้ที่สะทอนผลการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนดกับผลการประเมินคุณภาพ ภายนอกรอบที่ 2 มาตรฐานดานครู ในมาตรฐานที่ 9 ของสมศ. พบวามีตัวบงชี้ คัดสรรจํานวน 7 ตัว มีคารอยละของ โรงเรียนที่มีความสอดคลองกันระหวางระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนด กับผลการประเมินคุณภาพภายนอกมาตรฐานดานครูในมาตรฐานที่ 9 ของสมศ. มากกวารอยละ 50 ของครู ทั้งสองสังกัดการศึกษา และพบวาครูที่สอนในสังกัดกทม. มีตัวบงชี้คัดสรรจํานวน 4 ตัว มีคารอยละของ โรงเรียนที่มีความสอดคลองกันระหวางระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนด กับผลการประเมินคุณภาพภายนอกมาตรฐานดานครูในมาตรฐานที่ 9 ของสมศ. มากกวารอยละ 50 ประกอบดวย ตัวบงชี้ที่ 9 มีความพยายามในการวิเคราะหจุดเดนและจุดดอยของผูเรียนเปนรายบุคคล ตัวบงชี้ที่ 19 จัดหา หรือเลือกใชสื่อการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับศักยภาพของผูเรียน ตัวบงชี้ที่ 21 ประเมินผลการใชส่ือการเรียน การสอนและปรับปรุงใหมีความเหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนการสอน และ ตัวบงชี้ที่ 30 มีการจัดทํา ขอเสนอแนะและแนวทางในการปรับปรุงเพื่อพัฒนาผูเรียน ดังนั้นหากครูในสังกัดกทม. ไดปฏิบัติตามตัวบงชี้ คัดสรรนี้แลวจะทําใหผลการประเมินคุณภาพภายนอกมาตรฐานดานครูในมาตรฐานที่ 9 ของสมศ. สูงยิ่งขึ้น ครูควรใหความสนใจและพิจารณาในการปฏิบัติตามเปนพิเศษ สวนครูที่สอนในสังกัดสพฐ. มีตัวบงชี้คัดสรรจํานวน 19 ตัว มีคารอยละของโรงเรียนที่มีความสอดคลอง กันระหวางระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนดกับผลการประเมินคุณภาพ ภายนอกมาตรฐานดานครูในมาตรฐานที่ 9 ของสมศ. มากกวารอยละ 50 ประกอบดวยตัวบงชี้ที่ 1 ศึกษาคนควา เพื่อพัฒนาตนเองทางวิชาการอยางตอเนื่อง ตัวบงชี้ที่ 4 เขารวมประชุม อบรม สัมมนา และการประชุม เชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาวิชาชีพครู ตัวบงชี้ที่ 5 เลือกกิจกรรมการเรียนการสอนโดยคํานึงถึงประโยชนที่ผูเรียน จะไดรับ ตัวบงชี้ที่ 6 เลือกกิจกรรมที่มุงพัฒนาความสามารถของผูเรียนไดจริง ตัวบงชี้ที่ 7 เลือกกิจกรรม การเรียนการสอนที่นาสนใจสําหรับผูเรียน ตัวบงชี้ที่ 8 เลือกกิจกรรมการเรียนการสอนที่สงเสริมใหผูเรียนมี คุณธรรมและจริยธรรม ตัวบงชี้ที่ 10 จัดกิจกรรมการเรียนรูที่หลากหลายเพื่อตอบสนองความถนัดและความสนใจ ของผูเรียน ตัวบงชี้ที่ 11 มีความพยายามชวยเหลือและติดตามเพื่อแกไขปญหาทางการเรียนของผูเรียน ตัวบงชี้ที่ 12 มีการปรับเปลี่ยนวิธีสอนเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูมากที่สุด ตัวบงชี้ที่ 13 เลือกใชแผนการจัดการเรียนรูที่ ทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดอยางเต็มตามศักยภาพ ตัวบงชี้ที่ 14 จัดทําแผนการจัดการเรียนรูที่มีกิจกรรม การเรียนรูหลากหลายวิธี ตัวบงชี้ที่ 25 จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากการปฏิบัติจริง ตัวบงชี้ที่ 26 จัดกิจกรรม การเรียนการสอนที่ใหผูเรียนคนหาความรูและสรุปความคิดรวบยอดไดเอง ตัวบงชี้ที่ 43 แสวงหาความรู ขอมูล ขาวสารตางๆ ตามสถานการณของสังคมที่เปนปจจุบัน ตัวบงชี้ที่ 45 นําขอมูลขาวสารที่ทันตอสถานการณปจจุบัน มาใชในการจัดการเรียนการสอน ตัวบงชี้ที่ 46 ใชขอมูลขาวสารในการแกไขปญหาการพัฒนาตนเองพัฒนา 393 OJED, Vol.5, No.1, 2010, pp. 385-396
  • 10. งานและพัฒนาสังคม ตัวบงชี้ที่ 47 นําปญหาและอุปสรรคมาจัดกิจกรรมการเรียน การสอนเพื่อพัฒนาผูเรียน ได ตัวบงชี้ที่ 48 มองปญหาและอุปสรรคเปนโอกาสในการพัฒนาศักยภาพของผูเรียน และตัวบงชี้ที่ 49 เมื่อพบ ปญหาและอุปสรรคสามารถจัดกิจกรรมการเรียน การสอนไดอยางมีสติโดยไมใชอารมณ ตัวบงชี้เหลานี้ครู ในสังกัดสพฐ. ครูควรใหความสําคัญและปฏิบัติตามเปนพิเศษเพื่อผลการประเมินคุณภาพภายนอกมาตรฐาน ดานครู ในมาตรฐานที่ 9 ของสมศ. สูงยิ่งขึ้น ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช 1. จากการวิจัยพบวามาตรฐานที่ 1 คือปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครูอยู เสมอ มีการปฏิบัติงานของครูที่ต่ําที่สุด ทั้งสังกัดกรุงเทพมหานครและสังกัดสํานักงานการศึกษาขึ้นพื้นฐาน ดังนั้นหนวยงานที่เกี่ยวของดังกลาวควรที่จะมีการกระตุนใหครูไดมีการปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับ การพัฒนาวิชาชีพครูอยูเสมอ เชน การจัดการอบรม สัมมนา เพื่อฝกทักษะ กระบวนการ ตลอดจนเปน การกระตุนใหครูไดมีการพัฒนาตนเองทางดานวิชาการอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ควรมีการติดตามและ ประเมินความรูกับครูเปนระยะๆ เพื่อใหครูไดมีการดําเนินการศึกษาคนควาเพื่อหาความรูอยูเปนประจํา 2. ตัวบงชี้การปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูทุกตัวมีความสําคัญตอครู เพราะครูมีหนาที่ ที่ตองปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากําหนด แตจากการวิจัยเพื่อคัดสรรตัวบงชี้การปฏิบัติงานตาม มาตรฐานวิชาชีพครูในภาพรวมไดมาตรฐานวิชาชีพครูที่คัดสรรคือมาตรฐานที่ 4 พัฒนาแผนการสอนให สามารถปฏิบัติไดเกิดผลจริง มาตรฐานที่ 6 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเนนผลถาวรที่เกิดแกผูเรียน มาตรฐานที่ 11 แสวงหาและใชขอมูลขาวสารในการพัฒนา และมาตรฐานที่ 12 สรางโอกาสใหผูเรียนไดเรียนรู ในทุกสถานการณ ที่ครูควรใหความสําคัญเปนพิเศษเนื่องจากมาตรฐานดังกลาวมีคารอยละของโรงเรียนที่มี ความสอดคลองกันระหวางระดับการปฏิบัติงานของครูกับผลการประเมินคุณภาพภายนอก มาตรฐานดานครู ในมาตรฐานที่ 9 ของสมศ. สูงกวารอยละ 50 หากครูไดปฏิบัติตามอยางเปนพิเศษแลวจะสงผลตอผล การประเมินคุณภาพภายนอกมาตรฐานดานครู ในมาตรฐานที่ 9 ของสมศ. สูงยิ่งขึ้น ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 1. การวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาความสัมพันธระหวางระดับการปฏิบัติงานของครูตามมาตรฐาน ดานการปฏิบัติงานของครูที่คุรุสภากําหนดกับผลการประเมินคุณภาพภายนอกมาตรฐานดานครู ในมาตรฐานที่ 9 ของสมศ. ดังนั้นในการวิจัยครั้งตอไปควรที่จะนําเอามาตรฐานดานอื่นๆ ที่สมศ. กําหนด โดยเฉพาะมาตรฐานดานผูเรียน มาทําการศึกษาเพื่อหาความสอดคลองระหวางระดับการปฏิบัติงานของครูกับผลการประเมินดานผูเรียน 2. การวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาเชิงสํารวจเพียงอยางเดียว ซึ่งยังไมอาจใหสารสนเทศของระดับการปฏิบัติงาน ของครูครบรอบดานเทาที่ควร ดังนั้นในการศึกษาเพื่อทําวิจัยครั้งตอไปควรมีการศึกษาเชิงปริมาณและ เชิงคุณภาพรวมกันเพื่อใหไดขอมูลที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น 394 OJED, Vol.5, No.1, 2010, pp. 385-396
  • 11. รายการอางอิง ภาษาไทย ธิดาพร คมสัน. 2548. การติดตามการปฏิบตงานของครูตนแบบระดับอนุบาล.วิทยานิพนธปริญญา ั ิ  มหาบัณฑิต, สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ภาควิชาหลักสูตร การสอนและเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา, สํานักงาน. 2550. มาตรฐานตัวบงชี้และเกณฑ การพิจารณา เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน รอบที่ 2 (พ.ศ. 2549-2553). กรุงเทพมหานคร: สํานักงานรับรองและประเมินคุณภาพการศึกษา. เลขาธิการคุรสภา, สํานักงาน. 2546. รายงานประจําป 2546 สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา สํานักงาน ุ (สกสค). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. เลขาธิการคุรสภา, สํานักงาน. 2548. มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. ุ เลขาธิการคุรุสภา, สํานักงาน. 2548. วันครู 2549. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. วัยญา ยิมยวน. 2547. การวิเคราะหอภิมานของปจจัยที่มความสัมพันธกับการคิดวิจารณญาณ.วิทยานิพนธ ้ ี ปริญญามหาบัณฑิต. สาขาวิชาวิจัยการศึกษา ภาควิชาวิจยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร ั จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วุฒิไกร เทียงดี. 2549. ปจจัยที่สัมพันธกับความสามารถในการคิดวิเคราะหของนักเรียนระดับชัน ่ ้ มัธยมศึกษาปที่ 3 จังหวัดกาฬสินธุ. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. สาขาวิชาวิจยการศึกษา ั ศึกษาธิการ, กระทรวง. 2546. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 พรอมกฎกระทรวงที่เกี่ยวของและพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพองคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ (ร.ส.พ.). สุเพ็ญพร นิลชัย. (2547). การดําเนินการจัดหลักสูตรทองถิ่น กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ของโรงเรียนนํารอง โครงการกองทุนหมูบานสืบสานดวยโรงเรียน. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. สาขาวิชานิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเปนผูนาทางการศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ํ สุทธิวรรณ แสงกาศ. 2550. การพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุของคุณภาพนักเรียนของโรงเรียนในฝน. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. สาขาวิชาวิจัยการศึกษา ภาควิชาวิจยและจิตวิทยาการศึกษา ั คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ภาษาอังกฤษ Arnona, S., and Reichel, N. 2007. Who is the ideal teacher? Am I? Similarity and difference in perception of students of education regarding the qualities of a good teacher and of their own qualities as teachers. Teachers and Teaching: Theory and Practice 13 (11): 441–464. 395 OJED, Vol.5, No.1, 2010, pp. 385-396
  • 12. Bolyard, J. J., and Moyer-Packenham, P. S. 2008. A review of the literature on mathematics and science teacher quality. Peabody Journal of Education 83(4): 509–535. Bousted, M., and Johnson, M. 2005. What will it take for teachers to become “new” professionals?. Education Review 18(2): 18. Cathy. 2008. The top 10 qualities of a good teacher. [Online] Available from: http://www.ripplesofimprovement.com/index.php/connecting-with-others/the-top-10-qualities-of- a-good-teacher/ [2009, June 17] Cherubini, L. 2009. Exploring prospective teachers’ critical thinking: Case-based pedagogy and the standards of professional practice. Teaching and Teacher Education 25: 228–234. Christie, D. 2006. The Standard for chartered teacher in Scotland : A new context for the assessment and professional development of teachers. Studies in Educational Evaluation 32: 53-72. Claire, E. 2009 . teacher qualities. [Online] Available from: http://www.uwec.edu/Career/Students/ JobSearch/teachers/teacherqualities.htm [2009, June 17] Department of Education. 2001. NBPTS career and technical education standards. National Board For Professional Teaching Standards 3:1-94. Jusuf, H. (2005). Improving Teacher Quality, A Keyword For Improving Education Facing Global Challenges. The Turkish Online Journal of Educational Technology 4(1): 33. Kyriakides, L., Creemers, B., and Antoniou, P. 2009. Teacher behavior and student outcomes: Suggestions for research on teacher training and professional development. Teaching and Teacher Education 25: 12-23. Ministry Of Education, New Zealand. 1999. Professional standards : Criteria for quality teaching. Educational Research 10: 1- 13. Queensland Government. 2005. Professional standards for teachers. Department of education:1-36. Sandholtz, J. H., and Scribner, S. P. 2006. The paradox of administrative control in fostering teacher professional development. Teaching and Teacher Education 22: 1104-1117. Townsend, B. 2009. The qualities of a Truly professional teacher. [Online] Available from: http://www.eslemployment.com/esl-employers/the-qualities-of-a-truly-professional-teacher.htm [2009, June 17] TrainingandDevelopmentAgencyforSchools.2007.Professionalstandardsforteachers Whysitstillinyourcareer?.TDA313:1-36. Vanderschaaf, M. F., Stokkinga, K. M., and Verloop, N. 2008. Teacher beliefs and teacher behavior in portfolio assessment. Teaching and Teacher Education 24: 1691-1704. Wen, J. R., and Shih, W. L. 2008. Exploring the information literacy competence standards for elementary and high school teachers. Computers & Education 50: 787-806. 396 OJED, Vol.5, No.1, 2010, pp. 385-396