SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  14
เริ่มเกิดขึ้นจากเหตุการณ์ในวันที่ 11 กันยายน 2544 โดยเหตุการณ์ดังกล่าวมี
รายละเอียด ดังนี้
เป็ นเหตุการณ์ก่อการร้ายที่มุ่งสร้างความเสียหายแก่ชาวอเมริกัน โดยกลุ่ม
บุคคลที่มีเหตุผลทางการเมืองเพื่อหวังผลในการทาลายขวัญและกาลังใจของชาว
อเมริกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งความปลอดภัยในชีวิต และสัญลักษณ์ของประเทศอเมริกา
ต้องถูกทาลายไปด้วยเครื่องบินของสหรัฐอเมริกาเอง
ซึ่งเป็ นผลเนื่องมาจากความไม่ลงรอยกันระหว่างโลกตะวันตกและกลุ่มอัลกออิ
ดะห์ (Al-Qaeda) ที่ดาเนินต่อเนื่องมาเป็ นเวลานานหลายปี กลุ่มกองทัพผู้ก่อการร้าย
นี้ถูกก่อตั้งขึ้นในช่วงปลายทศวรรษ 1980 โดย โอซามา บิน ลาเดน (Osama Bin
Laden) เพื่อกาจัดอิทธิพลของชาติตะวันตกออกจากโลกมุสลิม
1) สหรัฐอเมริกาต้องสูญเสียชีวิตมนุษย์และทรัพย์สินจานวนมาก
2) เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง เศรษฐกิจที่เริ่มชะลอ
มา
ตั้งแต่ก่อนหน้าเกิดวิกฤตการณ์ก็ประสบปัญหามากขึ้น
3) ขวัญกาลังใจของประชาชนชาวอเมริกันตกต่าลงและเกิดแนวความคิดแบบ
ชาตินิยมขึ้นมาแทนที่
4) นโยบายการปกครองในประเทศของรัฐบาลอเมริกาเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
โดย
หันมาเน้นด้านความมั่นคงเป็ นหลัก แทนที่สิทธิเสรีภาพในระบบประชาธิปไตย
5) เหตุการณ์การก่อวินาศกรรมวันที่ 11 กันยายน ได้ถูกรัฐบาลสหรัฐอเมริกา
และ เป็ นชนวนมาสู่การเกิด สงครามในอัฟกานิสถาน
ต่อมา
ก่อให้เกิดสงครามและการก่อการร้ายมากขึ้น สหรัฐอเมริกาได้ประกาศสงคราม
กับกลุ่มก่อการร้ายและพร้อมจะทาลายกลุ่มองค์กรเหล่านี้ รวมทั้งรัฐบาลที่ให้แหล่งพักพิง
และสนับสนุนการก่อการร้าย โดยประธานาธิบดีบุช ได้ประกาศให้ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก
ต้องตัดสินใจว่าประเทศเหล่านั้นจะอยู่ข้างอเมริกาหรืออยู่ข้าง ฝ่ายก่อการร้าย
ทาให้รัฐบาลประเทศต่าง ๆ ดาเนินนโยบายต่างประเทศอย่างระมัดระวัง ในการ
หลีกเลี่ยงปัญหาความขัดแย้งทั้งจากสหรัฐอเมริกาและกลุ่มก่อการร้าย
สงครามในคริสต์ศตวรรษที่ 21 จึงเกิดขึ้น โดยสหรัฐอเมริกาเข้าไปโค่นล้ม
รัฐบาลของประเทศอิรักและอัฟกานิสถานโดยอ้างถึง ความกดขี่ในด้านการปกครองและการ
สนับสนุนการก่อการร้ายของรัฐบาลชุดเก่า แล้วจัดตั้งรัฐบาลชุดใหม่ที่เป็ นมิตรกับ
สหรัฐอเมริกาซึ่งเท่ากับเป็ นการขยายอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาไปด้วย ขณะเดียวกัน
กลุ่มก่อการร้ายก็ต่อต้านสหรัฐอเมริกาและชาติพันธมิตร เช่น อังกฤษ และออสเตรเลีย
ด้วยการก่อวินาศกรรมทาลายชีวิตและทรัพย์สินเพิ่มมากขึ้น เช่น เหตุการณ์การ
ก่อวินาศกรรมระเบิดสถานบันเทิงในเกาะบาหลีเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ. 2002 มี
ผู้เสียชีวิต 202 คน บาดเจ็บกว่า 300 คน
หลังเหตุการณ์วันที่ 11 กันยายน ค.ศ.2001 สหรัฐอเมริกาและ
ประเทศพันธมิตรนาโต เช่น อังกฤษได้ส่งกองทัพเข้าไปในประเทศ
อัฟกานิสถานเพื่อจับกุมนายบินลาเดน ผู้นาขบวนการอัลกออิดะห์ ซึ่ง
สหรัฐอเมริกาเชื่อว่าเป็ นผู้บงการในเหตุการณ์ 11 กันยายน
แม้ไม่สามารถจับกุมบินลาเดนได้ แต่สหรัฐอเมริกาก็ถือเป็ นโอกาส
ทาสงครามกวาดล้างกลุ่มตาลีบัน (Taliban) ซึ่งให้ที่พักพิงแก่บินลาเดน
ผู้นาของกลุ่มอัลกออิดะห์และพรรคพวก พร้อมกับแต่งตั้งให้นายฮามิด
การ์ไซ (Hamid Karzai) ชาวอัฟกานิสภานซึ่งลี้ภัยและได้รับสัญชาติ
อเมริกันเป็ นประธานาธิบดีของอัฟกานิสถานในปลาย ค.ศ. 2001
อย่างไรก็ตามเหตุการณ์ในอัฟกานิสถานยังไม่สงบ กลุ่มตาลีบัน
ยังคงหลบซ่อนแอบแฝงอยู่ในเขตหุบเขาและอยู่ตามเขตแดนที่เป็ น
รอยต่อระหว่างอัฟกานิสถานกับปากีสถาน กองทัพสหรัฐอเมริกา
และพันธมิตรนาโตได้ใช้เครื่องบินลาดตระเวนโจมตีพวกนักรบตาลี
บันอยู่เนืองๆ จนทาให้ประชาชนผู้บริสุทธิ์เสียชีวิตและทรัพย์สิน แต่ก็
ไม่สามารถทาลายกลุ่มตาลีบันได้หมดสิ้น โดยเฉพาะไม่สามารถจับกุม
ผู้นาตาลีบัน บินลาเดนและสมาชิกกลุ่มอัลกออิดะห์ได้
นอกจากนี้สภาพการณ์ในกรุงคาบูลก็ยังไม่น่าไว้วางใจ เพราะมี
การก่อวินาศกรรมอยู่เสมอ และมีผู้นาระดับสูงถูกลอบฆาตกรรมโดยที่
รัฐบาลไม่สามารถจับกุมคนร้ายมาลงโทษได้
ปัจจุบันรัฐบาลอัฟกานิสถานยังไม่สามารถปราบปรามกลุ่มตาลี
บัน ซึ่งซ่องสุมกาลังอยู่ในเขตทุรกันดารที่ยากแก่การปราบปราม
นอกจากนี้ยังประสบปัญหาการปราบปรามเสพติดซึ่งมีแหล่งผลิตอยู่
ในบริเวณพรมแดนด้านปากีสถาน และเป็ นแหล่งผลิตยาเสพติดที่ใหญ่
ที่สุดในโลก
ส่วนกองทัพสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรนาโตก็ยังคงปฏิบัติการ
ทิ้งระเบิดแหล่งหลบซ่อนของนักรบตาลีบันและบินลาเดนกับพรรค
พวก ขณะเดียวกันกลุ่มก่อการร้ายในอัฟกานิสถานก็ยังคงก่อ
วินาศกรรมในกรุงคาบูลและเมืองอื่นๆ ของประเทศ ทาให้ชาว
อัฟกานิสถานยังไม่สามารถดารงชีวิตอย่างปกติสุขได้ในปัจจุบัน
อย่างไรก็ตาม ภายหลังได้มีข่าวคราวการแถลงการณ์ของ
ประธานาธิบดีบารัค โอบามา เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2011 เกี่ยวกับ
การที่ โอซามา บิน ลาเดนได้เสียชีวิตระหว่างการถูกจับกุม ขณะหลบ
ซ่อนตัวอยู่ในประเทศปากีสถานนั้น ทาให้เกิดการเฉลิมฉลองไปทั่ว
นับเป็ นการปิ ดฉากประวัติศาสตร์ที่น่าเจ็บปวดครั้งนี้ของสหรัฐอเมริกา

Contenu connexe

Tendances

อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
Suphatsara Amornluk
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอนภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
Kwandjit Boonmak
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
Jiraporn
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
Mc'Napat KhunKhoei
 

Tendances (20)

การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
บทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงาน
บทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงานบทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงาน
บทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงาน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอนภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาส
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอบทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
กิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศกิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศ
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 

En vedette

ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

En vedette (11)

ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
 
Kennady
KennadyKennady
Kennady
 
Truman
TrumanTruman
Truman
 
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
 
อิสราเอลและอาหรับ
อิสราเอลและอาหรับอิสราเอลและอาหรับ
อิสราเอลและอาหรับ
 
กำแพงเบอร น(สมบร ณ_)-1
กำแพงเบอร น(สมบร ณ_)-1กำแพงเบอร น(สมบร ณ_)-1
กำแพงเบอร น(สมบร ณ_)-1
 
กลุ่มก่อการร้ายอิสลาม
กลุ่มก่อการร้ายอิสลามกลุ่มก่อการร้ายอิสลาม
กลุ่มก่อการร้ายอิสลาม
 
นิกิต้า ครุสชอฟ
นิกิต้า  ครุสชอฟนิกิต้า  ครุสชอฟ
นิกิต้า ครุสชอฟ
 
ฟ้เดล กัสโตร
ฟ้เดล กัสโตรฟ้เดล กัสโตร
ฟ้เดล กัสโตร
 
กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
1
11
1
 

สงครามในอัฟกานิสถาน