SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  31
Télécharger pour lire hors ligne
TPM : Total Production Maintenance
การบารุงรักษาทวีผลทุกคนมีส่วนร่วม
วัตถุประสงค์
เพื่อให้มีการใช้และบารุงรักษาเครื่องจักร
อุปกรณ์อย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ
เป้ าหมายหลัก 5 ประการของ TPM
1. การปรับปรุงประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักรและ
อุปกรณ์สูงขึ้น
2. การสร้างระบบบารุงรักษาด้วยตนเอง
3. สร้างระบบบารุงรักษาของฝ่ ายบารุงรักษา
4. ฝึกอบรมบุคลากรให้มีความชานาญทั้งด้านการใช้และ
การบารุงรักษาเครื่องจักร
TPM : Total Production Maintenance
1. การบารุงรักษาเชิงป้ องกัน (Preventive Maintenance : PM)
วิธีการ - บารุงรักษาเพื่อป้ องกันการชารุด ความเสียหาย วิธีการ
บารุง
รักษาเครื่องจักรตามเวลา หรือแผนล่วงหน้า
ผู้รับผิดชอบ - หน่วยซ่อมบารุง
- ผู้วางแผนและผู้ติดตาม
TPM : Total Production Maintenance
2. การบารุงรักษาเชิงแก้ไขปรับปรุง (Corrective Maintenance: CM)
วิธีการ - ปรับปรุงแก้ไขจุดอ่อน/ข้อเสีย ของเครื่องจักร เพื่อลด
ความถี่
ของความเสียหาย โดยพิจารณาถึง ความคุ้มค่าการ
ทางานด้วย
ผู้รับผิดชอบ - หน่วยซ่อมบารุง
- วิศวกร/ออกแบบ และผู้ให้ข้อมูล
TPM : Total Production Maintenance
3. การป้ องกันการบารุงรักษา (Maintenance Prevention : MP)
วิธีการ - ออกแบบเครื่องจักรให้ใช้ทนทาน
- เลือกใช้เทคนิคใหม่ วัสดุดีกว่าเดิม
- เลือกใช้เครื่องจักรที่มีคุณสมบัติดี
ผู้รับผิดชอบ ทาร่วมกันหลายหน่วย
- ออกแบบ
- วิจัย
- จัดหา
TPM : Total Production Maintenance
4. การซ่อมบารุงหลังเกิดเหตุเสียหาย (Break Down Maintenance : BM)
วิธีการ - ซ่อมเครื่องหลังจากเกิดความเสียหายขัดข้อง
ผู้รับผิดชอบ - หน่วยซ่อมบารุง
- ผู้ใช้งานมีหน้าที่ให้ข้อมูล
TPM : Total Production Maintenance
5. การบารุงรักษาด้วยตนเอง (Self Maintenance : SM)
วิธีการ - ผู้ใช้งานเครื่องจักรให้ถูกต้อง และดูแลเครื่องจักรใน
เบื้องต้น
อย่างเป็นระบบต่อเนื่องโดยผ่านงานปฏิบัติของ
กลุ่มย่อย
(Small group)
ผู้รับผิดชอบ - ผู้ใช้เครื่องจักร
TPM : Total Production Maintenance
การบารุงรักษาด้วยตนเอง (Self Maintenance : SM)
วัตถุประสงค์
1. การป้ องกันการเสื่อมสภาพ
- ใช้เครื่องจักรถูกวิธีตามคู่มือการใช้
- ดูแลทาความสะอาด หยอดน้ามันขันแน่น
2. การวัดการเสื่อมสภาพ
- ตรวจเช็คประจาวัน โดยประสาททั้ง 5
- ตรวจสอบเป็นระยะด้วยมือง่ายๆ
3. การทาให้กลับสู่สภาพเดิม
- การเปลี่ยนชิ้นส่วนด้วยตนเอง
- ให้ข้อมูลข้อขัดข้องแก่หน่วยซ่อมบารุงเครื่องจักร
การบริหาร
ผู้บริหาร ประกาศนโยบาย เป้ าหมาย แผนงาน-จัดตั้งกลุ่ม
การกาหนดนโยบาย เป็นการทางานเป็นระบบ
ปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
เพื่อความปลอดภัย
ง่ายต่อการบารุงรักษา
ถูกต้องตามหลักการ
วิธีการทา Self Maintenance : SM
ขั้นตอนการบารุงรักษาด้วยตนเอง
1. การบริหารกลุ่ม
2. จัดทารายงานเครื่องจักร-อุปกรณ์
3. การทาความสะอาดเครื่องจักร-อุปกรณ์
4. การตรวจสอบการขันแน่น
5. การตรวจสอบการหล่อลื่น
6. การแก้ไขต้นเหตุความสกปรก
วิธีการทา Self Maintenance : SM
ขั้นตอนการบารุงรักษาด้วยตนเอง
7. แผนงานการบารุงด้วยตนเอง
8. กาหนดชื่อประจาเครื่องจักร
9. เขียนขั้นตอนวิธีการใช้เครื่องจักร-อุปกรณ์
10. ประวัติการบารุงรักษาเครื่องจักร-อุปกรณ์
11. การตรวจสอบ
12. แผนผังแสดงที่ตั้งเครื่องจักร-อุปกรณ์
13. มาตรฐานการบารุงรักษาด้วยตนเอง
วิธีการทา Self Maintenance : SM
ขั้นตอนการบารุงรักษาด้วยตนเอง
14. บันทึกการใช้งานเครื่องจักร-อุปกรณ์
15. การแก้ไข/ปรับแต่งเครื่องจักร-อุปกรณ์
16. การซ่อมเครื่องจักรเล็กๆน้อยๆโดยผู้ใช้เครื่องจักร
17. ระบบการแจ้งซ่อม
18. การจัดทาและการรวบรวมเอกสาร
19. การปรับปรุงเอกสาร
20. ระบบเอกสาร
วิธีการทา Self Maintenance : SM
การบริหารกลุ่ม
1. การจัดตั้งกลุ่ม
- การจดทะเบียนกลุ่ม
- การจัดทาแผนผังความรับผิดชอบ
2. การประชุมกลุ่ม
- มีประชุมต่อเนื่อง
- บันทึกการประชุมทุกครั้ง
- รายงานผู้บังคับบัญชาทราบ
- สมาชิกกลุ่มเข้าประชุมพร้อมเพรียงกัน
การทา Self Maintenance : SM
การจัดทารายการเครื่อง
* จัดทารายการเครื่องจักรทั้งหมดในความรับผิดชอบ
กลุ่ม
* นาเสนอผู้บังคับบัญชาลงนามทราบ
การทา Self Maintenance : SM
การทาความสะอาดเครื่องจักร
* ทาความสะอาดภายนอก
* ทาความสะอาดภายใน
วิธีการทา Self Maintenance : SM
การตรวจสอบการขันแน่น
* ตรวจสอบการขันแน่น ตามที่คู่มือกาหนด
* ทาเครื่องหมายที่น๊อต / สกรู ที่จาเป็น เช่น จุดที่
เคลื่อนไหว, จุดที่มีการสั่นสะเทือน
วิธีการทา Self Maintenance : SM
การตรวจสอบการหล่อลื่น
* ตรวจสอบและเติมสารหล่อลื่นให้อยู่ในระดับที่
กาหนด
* ทาเครื่องหมายเพื่อความสะดวกในการเติม
- บอกชนิด / ประเภทที่ต้องเติม
- บอกระดับ / ปริมาณที่ต้องเติม
วิธีการทา Self Maintenance : SM
การแก้ไขความสกปรก
* จัดทาเป็นมาตรฐานหรือมาตรฐาน
- แผนบารุงรักษารายปี
- อนุมัติโดยผู้บริหาร
- จัดเก็บตามหลัก 5 ส
* รายงานผู้บังคับบัญชาทราบ
วิธีการทา Self Maintenance : SM
แผนการเก็บบารุงรักษาด้วยตนเอง
* จัดทาแผนบารุงรักษาตัวเองในระยะยาว
- กาหนดการตรวจสอบการขันแน่น
- กาหนดการตรวจสอบเพิ่มเติม
- กาหนดการทาความสะอาดทั้งภายนอกภายใน
* รายงานแผนงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบ
วิธีการทา Self Maintenance : SM
แผนการเก็บบารุงรักษาด้วยตนเอง
* จัดทาและติดตั้งแผนงาน
- ต้องได้รับการอนุมัติจากผู้บังคับบัญชา
- ติดตั้ง / จัดเก็บไว้ในสถานที่ และตาแหน่งที่
สามารถ
รับรู้และใช้งานได้ง่าย
- ใช้หลัก 5 ส. มาประยุกต์
- คานึงถึงหลักความปลอดภัยด้วยเสมอ
วิธีการทา Self Maintenance : SM
กาหนดชื่อผู้รับผิดชอบประจาเครื่องจักร
* กาหนดชื่อผู้รับผิดชอบทุกอุปกรณ์
* จัดทาป้ ายแสดงชื่อผู้รับผิดชอบทุกอุปกรณ์
- ติดในตาแหน่งรับรู้ได้ง่าย
- นาหลัก 5 ส. มาประยุกต์
- ต้องคานึงถึงหลักความปลอดภัยด้วยเสมอ
วิธีการทา Self Maintenance : SM
เขียนขั้นตอนวิธีการใช้เครื่องจักร
* เขียนวิธีการใช้เครื่องจักร-อุปกรณ์แต่ละเครื่อง
- ประชุมกลุ่มพิจารณาข้อกาหนด & ข้อควรระวัง ขั้นตอน
ครอบคลุม ตั้งแค่ก่อนใช้ /ขณะใช้ / หลังใช้
* ติดตั้ง / จัดเก็บขั้นตอนและวิธีการใช้เครื่องจักร-อุปกรณ์
แต่ละเครื่อง โดย
- ติดตั้ง /จัดเก็บ ในตาแหน่งง่ายต่อการรับรู้
- นาหลัก 5 ส. มาประยุกต์
- คานึงถึงความปลอดภัย
วิธีการทา Self Maintenance : SM
ประวัติการซ่อมบารุงรักษาเครื่องจักร
* จดบันทึกรายละเอียดการซ่อม : อาการเสีย, สาเหตุ,
วัน,
เวลาเสีย, วิธีการแก้ไข, อะไหล่, ค่าใช้จ่าย, ผู้ซ่อม
* แยกใส่แฟ้ มประจาเครื่องจักร : นาหลัก 5ส. มาใช้
วิธีการทา Self Maintenance : SM
การตรวจสอบ
* จัดทาแบบฟอร์มการตรวจสอบ
- จัดทาหรือพิจารณาแบบฟอร์มโดยกลุ่ม
- ใช้แบบฟอร์มที่ทาตรวจสอบอุปกรณ์เป็นประจา หรือแผนการตรวจสอบ
* การรายงานและการตรวจสอบ
- หัวหน้ากลุ่มรับทราบทุกครั้ง
- หัวหน้ากลุ่มลงนามรับทราบ
- หัวหน้ากลุ่มรวบรวมและรายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบทุกเดือน
วิธีการทา Self Maintenance : SM
แผนผังแสดงที่ตั้งของเครื่องจักรอุปกรณ์
* จัดทาและติดตั้งเครื่องหมายประจาเครื่องจักร-อุปกรณ์ทั้งหมด
* จัดทาแผนผังแสดงที่ตั้งพร้อมระบุหมายเลขประจาเครื่องจักร-
อุปกรณ์
วิธีการทา Self Maintenance : SM
มาตรฐานการบารุงรักษาด้วยตนเอง
* มาตรฐานการบารุงรักษาด้วยตนเอง
* มาตรฐานตรวจสอบ
* มาตรฐานการทางาน
* มาตรฐานการซ่อมแซม / ปรับแต่ง
* มาตรฐานการควบคุมวัสดุสารอง
* มาตรฐานการบันทึกข้อมุล
วิธีการทา Self Maintenance : SM
ขั้นตอนการประชุมกลุ่มเพื่อพิจารณาการจัดทามาตรฐาน ประกอบด้วย
1. ภาพแสดงเครื่องจักรพร้อมแสดงจุดต่างๆ
2. อธิบายรายละเอียดของมาตรฐานเพื่อใช้ในการตรวจสอบ
3. อธิบายวิธีการทาความสะอาด ขันแน่น หล่อลื่น
4. ระบุอุปกรณ์ที่ใช้ทาความสะอาด ขันแน่น หล่อลื่น
5. ระบุเวลาที่ใช้ทาความสะอาด ขันแน่น หล่อลื่น
6. ระบุความถี่และผู้ปฏิบัติในการทาความสะอาด ขันแน่น หล่อลื่น
วิธีการทา Self Maintenance : SM
การบันทึกการทางานของเครื่องจักร
1. ระยะเวลาเฉลี่ยระหว่างเหตุขัดข้อง = เวลารวมที่เครื่องจักรทางาน = ดู
ประสิทธิภาพ
(Mean Time Between Failure : MTBF) จานวนครั้งที่หยุดงาน เครื่องจักร
2. ระยะเวลาเฉลี่ยของการแก้ไขเหตุขัดข้อง = เวลารวมที่เครื่องหยุด = ดู
ความสามารถ
(Mean Time To Repair : MTTR) จานวนครั้งที่หยุด ในการซ่อม
วิธีการทา Self Maintenance : SM
การบันทึกการทางานของเครื่องจักรอุปกรณ์
* จดบันทึกการใช้งานของเครื่องจักร-อุปกรณ์ลงในแบบ
ฟอร์มที่จัดทาขึ้น
* วัดประสิทธิภาพของเครื่องจักร-อุปกรณ์ตามความ
เหมาะสม
1 intro

Contenu connexe

Plus de MaloNe Wanger

Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2MaloNe Wanger
 
01 bolt and nut - r2
01 bolt and nut - r201 bolt and nut - r2
01 bolt and nut - r2MaloNe Wanger
 
01 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r101 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r1MaloNe Wanger
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1MaloNe Wanger
 
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน r1
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน   r1Corrosion สนิมและการกัดกร่อน   r1
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน r1MaloNe Wanger
 
01 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r101 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r1MaloNe Wanger
 
01 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r101 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r1MaloNe Wanger
 
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน
Corrosion สนิมและการกัดกร่อนCorrosion สนิมและการกัดกร่อน
Corrosion สนิมและการกัดกร่อนMaloNe Wanger
 

Plus de MaloNe Wanger (12)

Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
 
01 bolt and nut - r2
01 bolt and nut - r201 bolt and nut - r2
01 bolt and nut - r2
 
01 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r101 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r1
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
 
01 lubrucation - r1
01 lubrucation - r101 lubrucation - r1
01 lubrucation - r1
 
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน r1
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน   r1Corrosion สนิมและการกัดกร่อน   r1
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน r1
 
01 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r101 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r1
 
01 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r101 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r1
 
01 p&id - 1
01 p&id - 101 p&id - 1
01 p&id - 1
 
01 lubrucation
01 lubrucation01 lubrucation
01 lubrucation
 
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน
Corrosion สนิมและการกัดกร่อนCorrosion สนิมและการกัดกร่อน
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน
 
01-Bolt and Nut
01-Bolt and Nut01-Bolt and Nut
01-Bolt and Nut
 

1 intro

  • 1.
  • 2. TPM : Total Production Maintenance การบารุงรักษาทวีผลทุกคนมีส่วนร่วม วัตถุประสงค์ เพื่อให้มีการใช้และบารุงรักษาเครื่องจักร อุปกรณ์อย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ
  • 3. เป้ าหมายหลัก 5 ประการของ TPM 1. การปรับปรุงประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักรและ อุปกรณ์สูงขึ้น 2. การสร้างระบบบารุงรักษาด้วยตนเอง 3. สร้างระบบบารุงรักษาของฝ่ ายบารุงรักษา 4. ฝึกอบรมบุคลากรให้มีความชานาญทั้งด้านการใช้และ การบารุงรักษาเครื่องจักร
  • 4. TPM : Total Production Maintenance 1. การบารุงรักษาเชิงป้ องกัน (Preventive Maintenance : PM) วิธีการ - บารุงรักษาเพื่อป้ องกันการชารุด ความเสียหาย วิธีการ บารุง รักษาเครื่องจักรตามเวลา หรือแผนล่วงหน้า ผู้รับผิดชอบ - หน่วยซ่อมบารุง - ผู้วางแผนและผู้ติดตาม
  • 5. TPM : Total Production Maintenance 2. การบารุงรักษาเชิงแก้ไขปรับปรุง (Corrective Maintenance: CM) วิธีการ - ปรับปรุงแก้ไขจุดอ่อน/ข้อเสีย ของเครื่องจักร เพื่อลด ความถี่ ของความเสียหาย โดยพิจารณาถึง ความคุ้มค่าการ ทางานด้วย ผู้รับผิดชอบ - หน่วยซ่อมบารุง - วิศวกร/ออกแบบ และผู้ให้ข้อมูล
  • 6. TPM : Total Production Maintenance 3. การป้ องกันการบารุงรักษา (Maintenance Prevention : MP) วิธีการ - ออกแบบเครื่องจักรให้ใช้ทนทาน - เลือกใช้เทคนิคใหม่ วัสดุดีกว่าเดิม - เลือกใช้เครื่องจักรที่มีคุณสมบัติดี ผู้รับผิดชอบ ทาร่วมกันหลายหน่วย - ออกแบบ - วิจัย - จัดหา
  • 7. TPM : Total Production Maintenance 4. การซ่อมบารุงหลังเกิดเหตุเสียหาย (Break Down Maintenance : BM) วิธีการ - ซ่อมเครื่องหลังจากเกิดความเสียหายขัดข้อง ผู้รับผิดชอบ - หน่วยซ่อมบารุง - ผู้ใช้งานมีหน้าที่ให้ข้อมูล
  • 8. TPM : Total Production Maintenance 5. การบารุงรักษาด้วยตนเอง (Self Maintenance : SM) วิธีการ - ผู้ใช้งานเครื่องจักรให้ถูกต้อง และดูแลเครื่องจักรใน เบื้องต้น อย่างเป็นระบบต่อเนื่องโดยผ่านงานปฏิบัติของ กลุ่มย่อย (Small group) ผู้รับผิดชอบ - ผู้ใช้เครื่องจักร
  • 9. TPM : Total Production Maintenance การบารุงรักษาด้วยตนเอง (Self Maintenance : SM) วัตถุประสงค์ 1. การป้ องกันการเสื่อมสภาพ - ใช้เครื่องจักรถูกวิธีตามคู่มือการใช้ - ดูแลทาความสะอาด หยอดน้ามันขันแน่น 2. การวัดการเสื่อมสภาพ - ตรวจเช็คประจาวัน โดยประสาททั้ง 5 - ตรวจสอบเป็นระยะด้วยมือง่ายๆ 3. การทาให้กลับสู่สภาพเดิม - การเปลี่ยนชิ้นส่วนด้วยตนเอง - ให้ข้อมูลข้อขัดข้องแก่หน่วยซ่อมบารุงเครื่องจักร
  • 10. การบริหาร ผู้บริหาร ประกาศนโยบาย เป้ าหมาย แผนงาน-จัดตั้งกลุ่ม การกาหนดนโยบาย เป็นการทางานเป็นระบบ ปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ เพื่อความปลอดภัย ง่ายต่อการบารุงรักษา ถูกต้องตามหลักการ
  • 11. วิธีการทา Self Maintenance : SM ขั้นตอนการบารุงรักษาด้วยตนเอง 1. การบริหารกลุ่ม 2. จัดทารายงานเครื่องจักร-อุปกรณ์ 3. การทาความสะอาดเครื่องจักร-อุปกรณ์ 4. การตรวจสอบการขันแน่น 5. การตรวจสอบการหล่อลื่น 6. การแก้ไขต้นเหตุความสกปรก
  • 12. วิธีการทา Self Maintenance : SM ขั้นตอนการบารุงรักษาด้วยตนเอง 7. แผนงานการบารุงด้วยตนเอง 8. กาหนดชื่อประจาเครื่องจักร 9. เขียนขั้นตอนวิธีการใช้เครื่องจักร-อุปกรณ์ 10. ประวัติการบารุงรักษาเครื่องจักร-อุปกรณ์ 11. การตรวจสอบ 12. แผนผังแสดงที่ตั้งเครื่องจักร-อุปกรณ์ 13. มาตรฐานการบารุงรักษาด้วยตนเอง
  • 13. วิธีการทา Self Maintenance : SM ขั้นตอนการบารุงรักษาด้วยตนเอง 14. บันทึกการใช้งานเครื่องจักร-อุปกรณ์ 15. การแก้ไข/ปรับแต่งเครื่องจักร-อุปกรณ์ 16. การซ่อมเครื่องจักรเล็กๆน้อยๆโดยผู้ใช้เครื่องจักร 17. ระบบการแจ้งซ่อม 18. การจัดทาและการรวบรวมเอกสาร 19. การปรับปรุงเอกสาร 20. ระบบเอกสาร
  • 14. วิธีการทา Self Maintenance : SM การบริหารกลุ่ม 1. การจัดตั้งกลุ่ม - การจดทะเบียนกลุ่ม - การจัดทาแผนผังความรับผิดชอบ 2. การประชุมกลุ่ม - มีประชุมต่อเนื่อง - บันทึกการประชุมทุกครั้ง - รายงานผู้บังคับบัญชาทราบ - สมาชิกกลุ่มเข้าประชุมพร้อมเพรียงกัน
  • 15. การทา Self Maintenance : SM การจัดทารายการเครื่อง * จัดทารายการเครื่องจักรทั้งหมดในความรับผิดชอบ กลุ่ม * นาเสนอผู้บังคับบัญชาลงนามทราบ
  • 16. การทา Self Maintenance : SM การทาความสะอาดเครื่องจักร * ทาความสะอาดภายนอก * ทาความสะอาดภายใน
  • 17. วิธีการทา Self Maintenance : SM การตรวจสอบการขันแน่น * ตรวจสอบการขันแน่น ตามที่คู่มือกาหนด * ทาเครื่องหมายที่น๊อต / สกรู ที่จาเป็น เช่น จุดที่ เคลื่อนไหว, จุดที่มีการสั่นสะเทือน
  • 18. วิธีการทา Self Maintenance : SM การตรวจสอบการหล่อลื่น * ตรวจสอบและเติมสารหล่อลื่นให้อยู่ในระดับที่ กาหนด * ทาเครื่องหมายเพื่อความสะดวกในการเติม - บอกชนิด / ประเภทที่ต้องเติม - บอกระดับ / ปริมาณที่ต้องเติม
  • 19. วิธีการทา Self Maintenance : SM การแก้ไขความสกปรก * จัดทาเป็นมาตรฐานหรือมาตรฐาน - แผนบารุงรักษารายปี - อนุมัติโดยผู้บริหาร - จัดเก็บตามหลัก 5 ส * รายงานผู้บังคับบัญชาทราบ
  • 20. วิธีการทา Self Maintenance : SM แผนการเก็บบารุงรักษาด้วยตนเอง * จัดทาแผนบารุงรักษาตัวเองในระยะยาว - กาหนดการตรวจสอบการขันแน่น - กาหนดการตรวจสอบเพิ่มเติม - กาหนดการทาความสะอาดทั้งภายนอกภายใน * รายงานแผนงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบ
  • 21. วิธีการทา Self Maintenance : SM แผนการเก็บบารุงรักษาด้วยตนเอง * จัดทาและติดตั้งแผนงาน - ต้องได้รับการอนุมัติจากผู้บังคับบัญชา - ติดตั้ง / จัดเก็บไว้ในสถานที่ และตาแหน่งที่ สามารถ รับรู้และใช้งานได้ง่าย - ใช้หลัก 5 ส. มาประยุกต์ - คานึงถึงหลักความปลอดภัยด้วยเสมอ
  • 22. วิธีการทา Self Maintenance : SM กาหนดชื่อผู้รับผิดชอบประจาเครื่องจักร * กาหนดชื่อผู้รับผิดชอบทุกอุปกรณ์ * จัดทาป้ ายแสดงชื่อผู้รับผิดชอบทุกอุปกรณ์ - ติดในตาแหน่งรับรู้ได้ง่าย - นาหลัก 5 ส. มาประยุกต์ - ต้องคานึงถึงหลักความปลอดภัยด้วยเสมอ
  • 23. วิธีการทา Self Maintenance : SM เขียนขั้นตอนวิธีการใช้เครื่องจักร * เขียนวิธีการใช้เครื่องจักร-อุปกรณ์แต่ละเครื่อง - ประชุมกลุ่มพิจารณาข้อกาหนด & ข้อควรระวัง ขั้นตอน ครอบคลุม ตั้งแค่ก่อนใช้ /ขณะใช้ / หลังใช้ * ติดตั้ง / จัดเก็บขั้นตอนและวิธีการใช้เครื่องจักร-อุปกรณ์ แต่ละเครื่อง โดย - ติดตั้ง /จัดเก็บ ในตาแหน่งง่ายต่อการรับรู้ - นาหลัก 5 ส. มาประยุกต์ - คานึงถึงความปลอดภัย
  • 24. วิธีการทา Self Maintenance : SM ประวัติการซ่อมบารุงรักษาเครื่องจักร * จดบันทึกรายละเอียดการซ่อม : อาการเสีย, สาเหตุ, วัน, เวลาเสีย, วิธีการแก้ไข, อะไหล่, ค่าใช้จ่าย, ผู้ซ่อม * แยกใส่แฟ้ มประจาเครื่องจักร : นาหลัก 5ส. มาใช้
  • 25. วิธีการทา Self Maintenance : SM การตรวจสอบ * จัดทาแบบฟอร์มการตรวจสอบ - จัดทาหรือพิจารณาแบบฟอร์มโดยกลุ่ม - ใช้แบบฟอร์มที่ทาตรวจสอบอุปกรณ์เป็นประจา หรือแผนการตรวจสอบ * การรายงานและการตรวจสอบ - หัวหน้ากลุ่มรับทราบทุกครั้ง - หัวหน้ากลุ่มลงนามรับทราบ - หัวหน้ากลุ่มรวบรวมและรายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบทุกเดือน
  • 26. วิธีการทา Self Maintenance : SM แผนผังแสดงที่ตั้งของเครื่องจักรอุปกรณ์ * จัดทาและติดตั้งเครื่องหมายประจาเครื่องจักร-อุปกรณ์ทั้งหมด * จัดทาแผนผังแสดงที่ตั้งพร้อมระบุหมายเลขประจาเครื่องจักร- อุปกรณ์
  • 27. วิธีการทา Self Maintenance : SM มาตรฐานการบารุงรักษาด้วยตนเอง * มาตรฐานการบารุงรักษาด้วยตนเอง * มาตรฐานตรวจสอบ * มาตรฐานการทางาน * มาตรฐานการซ่อมแซม / ปรับแต่ง * มาตรฐานการควบคุมวัสดุสารอง * มาตรฐานการบันทึกข้อมุล
  • 28. วิธีการทา Self Maintenance : SM ขั้นตอนการประชุมกลุ่มเพื่อพิจารณาการจัดทามาตรฐาน ประกอบด้วย 1. ภาพแสดงเครื่องจักรพร้อมแสดงจุดต่างๆ 2. อธิบายรายละเอียดของมาตรฐานเพื่อใช้ในการตรวจสอบ 3. อธิบายวิธีการทาความสะอาด ขันแน่น หล่อลื่น 4. ระบุอุปกรณ์ที่ใช้ทาความสะอาด ขันแน่น หล่อลื่น 5. ระบุเวลาที่ใช้ทาความสะอาด ขันแน่น หล่อลื่น 6. ระบุความถี่และผู้ปฏิบัติในการทาความสะอาด ขันแน่น หล่อลื่น
  • 29. วิธีการทา Self Maintenance : SM การบันทึกการทางานของเครื่องจักร 1. ระยะเวลาเฉลี่ยระหว่างเหตุขัดข้อง = เวลารวมที่เครื่องจักรทางาน = ดู ประสิทธิภาพ (Mean Time Between Failure : MTBF) จานวนครั้งที่หยุดงาน เครื่องจักร 2. ระยะเวลาเฉลี่ยของการแก้ไขเหตุขัดข้อง = เวลารวมที่เครื่องหยุด = ดู ความสามารถ (Mean Time To Repair : MTTR) จานวนครั้งที่หยุด ในการซ่อม
  • 30. วิธีการทา Self Maintenance : SM การบันทึกการทางานของเครื่องจักรอุปกรณ์ * จดบันทึกการใช้งานของเครื่องจักร-อุปกรณ์ลงในแบบ ฟอร์มที่จัดทาขึ้น * วัดประสิทธิภาพของเครื่องจักร-อุปกรณ์ตามความ เหมาะสม