SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  6
Télécharger pour lire hors ligne
๑๕๘
วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
การนําหลักพุทธธรรมมาใชในการปกครองและการบริหาร
ในสังคมปจจุบันไมวาเราจะอยูที่ไหนก็มีแตคนพูดถึงแตเรื่องของปญหาดาน
การเมืองการปกครอง “ปญหา”ในทางพระพุทธศาสนา ตรงกับคําวา “ทุกข” เพราะ
ไมวาสังคมไหนถาสอบถามวามีปญหาหรือไม ก็คงจะไดคําตอบออกมาเหมือน ๆ กัน
วามีปญหา ยิ่งสังคมกําลังเรารอนไปดวยปญหาการเมือง คนในสังคมสวนใหญพอ
ไดรับฟงขอมูลขาวสารแลวคงไมมีความสบายใจเทาไหร เพราะนับตั้งแตผูนําการเมือง
ลงมาจนถึงประชาชนชั้นรากหญา ก็มีความวิตกกังวลกันมากบานเมืองของเราจะเกิด
อะไรขึ้น ทุกวันนี้บานเมืองของเราจะอยูรอด หรือไมนั้นก็ขึ้นอยูกับคนไมกี่กลุมซึ่งแต
ละกลุมก็มีผลประโยชนทั้งสิ้น ประชาชนตาดํา ๆ ที่ไมคอยรูเรื่องรูราวอะไรกับเขาก็
ถูกผลกระทบอยางหนีไมพน ถาจะถามวาเปนเพราะอะไร ก็อาจตอบวาเพราะความ
อยากมีอยากเปน อยูในโลกธรรมแปด มีความแกงแยงชิงดีชิงเดนกัน เรื่องลาภ ยศ
สรรเสริญ สุข เปนตน
๑๕๙
วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
หลักพุทธธรรมในธรรมาภิบาลกับบริบทไทย
หลักพุทธธรรมในธรรมาภิบาลกับบริบทไทยดั้งเดิมคืออะไร หลักพุทธธรรมใน
ธรรมมาภิบาลกับหลักการปกครองบานเมืองมีมาตั้งแตกอนสมัยสุโขทัยแลว ดังจะเห็น
ไดอยางชัดเจนในหลักทศพิธราชธรรมอันเปนหลักที่พระมหากษัตริยยึดถืออยางมั่นคง
ในการปกครองประเทศเสมอมา
นอกจากนั้นหลักพุทธธรรมยังเปนรากฐานของโลกทัศน และชีวะทัศนของคน
ไทยในอดีตที่แสดงออกทางวัฒนธรรม คานิยมและความเชื่อเรื่องบุญบาป เชน ทําดีได
ดี คนดีผีคุม ทําชั่วตกนรก เปนตน และจนถึงอยุธยาตอนกลางนั้นยังยึดหลักพุทธธรรม
ฝายเถรวาท และพุทธธรรมฝายมหายานปนกันกับศาสนาพราหมณอยู สมเกียติ วัน
ทะนะ กลาวถึงอํานาจ ๖ ประการที่มีผลตอวิถีชีวิตของบุคล และสังคมสวนรวมในชวง
สมัยสุโขทัยถึงอยุธยาตอนกลางวา อํานาจธรรม อํานาจพุทธเทพนิกร อํานาจอมนุษย
อํานาจพรมเทพนิกร อํานาจไสยเวท และอํานาจผูปกครองพุทธรัฐ อํานาจทั้ง ๖ มี
ความสัมพันธตอกันและกันซึ่งมีแนวคิดพื้นฐานมาจาก เรื่องไตรภูมิหรือพุทธจักรวาล
วิทยา
ในอยุธยา เมื่อสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ กอตั้งกรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ.ศ.๑๘๙๓
พระองคไดผสมผสานหลักพุทธศาสนากับพราหมณเขาดวยกันในราชพิธีตาง ๆ
พระมหากษัตริยในสมัยอยุธยา นอกจากเปนสมมติเทพที่ทรงธรรมแลว ยังเปนเทวรา
ชาที่ยิ่งใหญ ๒ ความหมายคือ ทรงเปนราชาที่มีภาวะแหงเทพในพระองค และทรง
เปนราชาผูทรงคุณธรรม ซึ่งเมื่อผูปกครองใชอํานาจไมเปนธรรมจะสงผลเปน
ภยันตรายตอบานเมืองใหรับผลรวมกันในสังคม ดังมีบทพรรณนาในเพลงยาว
พยากรณกรุงศรีอยุธยาวา “เมื่อพระมหากษัตริยไมทรงทศพิธราชธรรมก็จะเกิดภาวะ
ยุคเข็ญในสังคม ๑๖ ประการ กลาว คือ
เดือนดาวดินฟาจะอาเพศ อุบัติเหตุเกิดทั่วทุกทิศาน
มหาเมฆจะลุกเปนเพลิงกาฬ เกิดนิมิตพิสดารทุกบานเมือง
พระคงคาจะแดงเดือดดั่งเลือดนก อีกแผนดินเปนบาฟาจะเหลือง
ผีปาก็จะวิ่งเขาสิงเมือง ผีเมืองนั้นจะออกไปอยูไพร
พระเสื้อเมืองจะเอาตัวหนี พระกาลกุลีจะเขามาเปนไส
พระธรณีจะตีอกไห อกพระกาลจะไหมอยูเกรียมกรม
ในลักษณะทํานายไวบหอนผิด เมื่อพินิจพิศดูก็เห็นสม
มิใชเทศกาลรอนก็รอนระงม มิใชเทศกาลลมลมก็พัด
มิใชเทศกาลหนาวก็หนาวพน มิใชเทศกาลฝนฝนก็อุบัติ
ทุกตนไมหยอมหญาสารพัด เกิดวิบัตินานาทั่วสากล
เทวดาซึ่งรักษาพระศาสนา จะรักษาแตคนฝายอกุศล
สัปบุรุษจะแพแกทรชน มิตรตนจะฆาซึ่งความรัก
ภรรยาจะฆาซึ่งคุณผัว คนชั่วจะมลางผูมีศักดิ์
ลูกศิษยจะสูครูพัก จะหาญหักผูใหญใหเปนผูนอย
๑๖๐
วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ผูมีศีลจะเสียซึ่งอํานาจ นักปราชญจะตกต่ําตอย
กระเบื้องจะเฟองฟูลอย น้ําเตาอันลอยนั้นจะถอยจม
ผูมีตระกูลจะสูญเผา เพราะจัณฑาลจะเขามาเสพสม
ผูมีศีลนั้นจะเสียซึ่งอารมณ เพราะสมัครสมาคมดวยมารยาฯ”
และกลาวอีกวา “ในไตรภูมิวินิจยกถาในสมัยพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกไดแสดง
คติบทบาทของผูปกครองที่สัมพันธกับความเปนไปของบานเมืองสังคมไวอยางแจมชัด
ดังนี้ ถาทาวพระยาทั้งปวงไมเปนธรรม พระยาอุปราชและเสนาบดีแล เศรษฐีทั้งปวง
ไมเปนธรรมแลว ไพรฟาประชากรชาวพระนคร แตบรรดาผูอยูในเขตแควนทั้งปวง
นั้น ก็จะไมเปนธรรมตลอดทั้งขอบขันฑสีมา ฝายเทพดาที่พิทักษรักษามนุษยทั้งปวง
นั้น ครั้นมนุษยไมเปนธรรมแลว ก็จะพลอยเสียจะพลอยไมเปนธรรมไปดวยสิ้น ครั้น
อารักษเทวดาไมเปนธรรมแลว ภูมิเทวดาที่เปนมิตรแหงอารักษเทวดานั้นก็จะพลอย
ไมเปนธรรมไปดวยสิ้น...ฯ”
หลักพุทธธรรมในธรรมาภิบาลในสมัยรัตนโกสินทร ไดรับการยืนยันจากงาน
ของสุนทรีย อาสะไวย ในการศึกษาอุดมการณพระศรีอาริยะถึงกบฏผูมีบุญภาคอีสาน
ซึ่งสุนทรีย ไดกลาวไวในเอกสารการสัมมนาสองทศวรรษรัตนโกสินทรความ
เปลี่ยนแปลงของสังคมไทยวา19
๒๐ “ถึงแมวาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
จักไดพยายามแกไขปญหาระบบราชการหลายประการทั้งในดานการปฏิรูปโครงสราง
การจัดการศึกษาเพื่อสรางผูมีคุณสมบัติเปนขาราชการ การสงเสริม การปลูกฝง
ศีลธรรม จรรยา แตปญหาการขาดคุณธรรมของขาราชการ โดยเฉพาะในดานการ
แสวงหาผลประโยชนโดยอาศัยตําแหนงหนาที่ทางราชการก็ยังเปนปญหาเรื้อรังของ
สังคมไทย และหลายครั้งก็เปนเหตุแหงความไมสงบของบานเมือง ในการตอสูของ
ขบวนการผูมีบุญภาคอีสานระหวาง พ.ศ. ๒๔๔๔ - ๒๔๔๕ ผูกอการไดแสดงเหตุผล
ของการรวมกันตอสูกับเจาหนาที่บานเมืองวาเนื่องจากการปกครองที่ปราศจาก “ทัส
สาราชธรรม” ของผูปกครองหัวเมืองเปนตนวา “...อุผิเก็บเอาขาวไพรไดลานไดนอย
ปลอยเอานัดใหเขาฉิบหาย คันวาเอาเสียก็เก็บเอา แถมเอามาเปนขาวของอาณา
ประโยชนแหงตน...กะใหแกกันวาไดขาวของแหงเขาแลวก็ยินดีก็เอาไปสูปนกันกิน
และโทษอันนี้ก็ผิดฮีตบานคองเมือง เพราะทาวพระยาไมชอบทัสสาราช ธรรม.”
นอกจากนี้จากการศึกษาของเหรียญ ศรีจันทร และเนตร พูนพิพัฒน ไดพบวา20
๒๑ การ
กบฏ เมื่อ ร.ศ.๑๓๐ มีเหตุมาจากความไมพอใจสภาพสังคมโดยเฉพาะปญหาระบบ
ราชการ ดังเชนความเห็นของผูกอการกบฏ ที่วา “เจาหนาที่ปกครองนับตั้งแตตน
๒๐
สุนทรีย อาสะไวย. (๒๕๒๔). จากอุดมการณพระศรีอาริยถึงกบฏผูมีบุญภาคอีสาน. เอกสาร
ประกอบการสัมมนาสองศตวรรษรัตนโกสินทร : ความเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.
๒๑
เหรียญ ศรีจันทร และเนตร พูนวิวัฒน. (๒๕๑๕). กบฎร.ศ.๑๓๐. กรุงเทพฯ : คัมภีร.
๑๖๑
วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
จนถึงปลายแถวจะเปนหลักแหลงที่พึ่งพิงอยางจริงจังไดยาก นอกจากเปนสมัครพรรค
พวกที่ไดรับประโยชนรวมกัน”
แตวัฒนธรรม คานิยม และความเชื่อดังกลาวคอย ๆ เปลี่ยนไปเมื่อผูปกครอง
ของไทยไดแยกหลักนิติธรรมออกจากหลักศาสนธรรม นับตั้งแตในรัชสมัยของ
พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยู (รัชกาลที่ ๔) เปนตนมา ในปจจุบันความรูจึง
เปนเพียงสวนหนึ่งของคุณธรรมหรือความรูคูธรรมเทานั้น
แกนพุทธธรรมในธรรมาภิบาล
พระพุทธศาสนาไดใหหลักธรรมะเพื่อการยกระดับจิตใจมนุษย ใหหลุดพนจาก
ความคิดที่ไมถูกตอง ไมงามโดยพื้นฐาน (อกุศลมูล) การเกื้อกูล การเสียสละใหแกผู
ออนแอกวา (ทานมัย) การยกระดับจิตใจจากปุถุชนใหสูงขึ้นสูความเปนอริยะชนมี
ความโปรงใส ตลอดทั้งเกื้อกูลซึ่งกันและกัน เพราะเห็นวาสรรพสัตวตกอยูภายใต
สามัญลักษณ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตาดวยกัน สัตวทุกหมูเหลาจึงควรเปนเพื่อนเกิด
แก เจ็บตาย ควรบําเพ็ญประโยชนเกื้อกูลแกกันและกัน ไมควรเบียดเบียนซึ่งกันและ
กัน (สีลมัย) ถือวาดํารงอยูในหลักนิติธรรม และไดชื่อวาเปนไปตามหลักคุณ ธรรม
การทํากิจใด ๆ ที่ประกอบไปดวยความตั้งใจมั่น ดวยสติ สัมปะชัญญะ จิตใจแนวแน
สะอาดสงบ ใชโยนิโสมนสิการและพรอมรับฟงการกลาวตําหนิจากคนอื่น (ปะระโตโฆ
สะ) ชื่อวา เปนสัมมาทิฏฐิ เรียกวา หลักการมีสวนรวม การเคารพคนอื่น( สมานัตตา)
การพรอมตรวจสอบตนเอง (อัตตานัง โจทยัตตานัง) ไดชื่อวา ยึดหลักความโปรงใส
หลักความรับผิดชอบ ซึ่งสอดคลองกับหลักธรรมาภิบาลสากลทั้ง ๖ ดาน ดังกลาว
สรุปหลักธรรมาภิบาลที่ใชในบริบทสากลมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญกับ
ธรรมาภิบาลในบริบทไทยดั้งเดิมและบริบทพุทธธรรมดังนี้คือ หลักธรรมาภิบาลใน
บริบทสากลเนนไปที่โครงสราง การปฏิบัติตามกฎระเบียบ/ขอบังคับที่กําหนดขึ้นเปน
ลายลักษณอักษร เนนการมีประสิทธิภาพ ความคุมคาตอตนทุน แตหลักธรรมาภิบาล
ในบริบทไทยดั้งเดิมจะเนนตัวบุคคล ที่ตองเปนคนดี มีคุณธรรม เพราะถาคนไมดี ไมมี
คุณธรรมจะสงผลตอสภาวะแวดลอมทั้งปวงรวมทั้ง บานเมือง ดิน ฟา อากาศจะเกิด
อาเพศไปตางๆ นานาดวย
สวนหลักธรรมาภิบาลในมิติพุทธธรรมนั้นไดเนนไปที่ทั้งโครงสรางและตัว
บุคคล โดยใหน้ําหนักลงไปที่ตัวบุคคล ที่ตองเปนคนดี มีคุณธรรม ซึ่งการเปนคนดี มี
คุณธรรมนั้นสามารถพัฒนาไดจากปริมาณสูคุณภาพจากปุถุชนไปสูความเปนคนดี
(สาธุชน) แลวกาวขึ้นไปสูความเปนอริยะชนและเปนอรหันตไดในที่สุด ซึ่งการ
ยกระดับนี้ ใชหลักธรรมคือ อริยสัจ ๔ และมรรคมีองค ๘ เปนเครื่องมือที่สําคัญ
๑๖๒
วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
กิจกรรม/แบบฝกหัดทายบท ๗
แบบปรนัย
๑. กูฏทันตะ หมายถึงอะไร
ก. คนเมืองทันตะ ข. คนฟนเหยิน
ค. คนฟนใหญ ง. คนเมืองกูฎ
๒. เพื่อความสุข ความเจริญของตนเอง และประชาชนในหมูบานของเขา กูฏทันตพราหมณในฐานะ
เปนผูปกครองจัดทําพิธีอะไรตามความเชื่อของเขา
ก. พิธีอัศวเมธ ข. พิธีอุปสมบท
ค. พิธีโกนจุก ง. พิธีบูชายัญ
๓. อาชีพใดไมใชอาชีพที่สงเสริมเพื่อการพัฒนาใหประชาชนอยูดีกินดี มีความสงบสุข
ก. การสงเสริมเกษตรกรรม ข. การสงเสริมพานิชยกรรม
ค. การสงเสริมขาราชการ ง. การสงเสริมการคามนุษย
๔. การบริหารจัดการองคกรสามารถเทียบเคียงไดกับพระสูตรใด
ก. กูฏทันตสูตร ข. มหาสีหนาทสูตร
ค. อัคคัญญสูตร ง. จักกวัตติสูตร
๕. กําลังของพระตถาคตเจามีทั้งหมดกี่ประการ
ก. ๔ ประการ ข. ๖ ประการ
ค. ๘ ประการ ง. ๑๐ ประการ
๖. เวสารัชชญาณ หมายถึงญาณประเภทใด
ก. ญาณทําใหแกลวกลา ข. ญาณทําใหสวาง
ค. ญาณทําใหระลึกชาติได ง. ญาณทําใหเห็นอนาคต
๗. put the right man in the right job หมายถึงอะไร
ก. หางานใหคนทํา ข. จัดคนใหเหมาะกับงาน
ค. ใสคนใหเต็มงาน ง. ใสงานใหเต็มคน
๘. การทําใหหลาย ๆ ฝายสามารถพูดคุยและทํางานรวมกันได เกิดจากการใชหลักการใดตอไปนี้
ก. การใชงบประมาณ ข. การสรุปรายงาน
ค. การประสานงาน ง. การจัดการองคการ
๙. งบประมาณสูงสุดในทางพระพุทธศาสนาคืออะไร
ก. ธนบัตร ข. อสังหาริมทรัพย
ค. สังหาริมทรัพย ง. อริยทรัพย
๑๐. การจัดระบบองคการโดยอาศัยกลุมชนหรืออาชีพในกลุมขัติยบริษัท หมายถึง พวกใด
ก. พวกนักปกครอง, นักการเมือง ข. พวกพอคา
ค. พวกนักบวช ง. พวกครูอาจารย
๑๖๓
วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
บรรณานุกรม
ชัยอนันต สมุทวณิช. (๒๕๓๕). รัฐ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ที. สี. (ไทย) เลมที่ ๙
ที. ปา. (ไทย) เลมที่ ๑๑
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. (๒๕๔๒). การสรางธรรมาภิบาลในสังคมไทย. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพเดือนตุลา จํากัด.
ปรีชา ชางขวัญยืน. (๒๕๔๒). ธรรมรัฐ – ธรรมราชา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
พระครูโสภณปริยัติสุธี. (๒๕๕๐). รัฐศาสตรในพระไตรปฎก. พะเยา : โรงพิมพเจริญอักษร.
พระณัฐพงษ ปฺญาวชิโร (ฉลาดแหลม). (๒๕๑๙) การศึกษาเปรียบเทียบแนว
ความคิดทางสังคมในพุทธปรัชญาเถรวาทกับปรัชญาขงจื้อ. กรุงเทพฯ :
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๔๖). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ :
นานมีบุคสพับลิเคชันส.
สมชาย ปรีชาศิลปะกุล. (๒๕๔๖). อธรรมรัฐ. บทความ ในหนังสือ ธรรมาภิบาลกับคอรัปชั่นใน
สังคมไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันวิถีทรรศน.
สุชีพ ปุญญานุภาพ. (๒๕๔๓) สารัตถะแหงศาสนธรรม. กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สัญญา สัญญาวิวัฒน. (๒๕๔๓). สังคมวิทยาการเมือง. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพสุขภาพใจ.
สุนทรีย อาสะไวย. (๒๕๒๔). จากอุดมการณพระศรีอาริยถึงกบฏผูมีบุญภาคอีสาน. เอกสาร
ประกอบการสัมมนาสองศตวรรษรัตนโกสินทร : ความเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย.
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.
สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). (๒๕๔๔). ธรรมาภิบาลการมีสวนรวม
ของประชาชนและกระบวนการทางดานสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ :
สํานักพิมพสาธาร.
สุรชาติ บํารุงสุข. (๒๕๔๖). กองทัพกับธรรมรัฐ : ขอคิดเพื่อการบริหารของประชาสังคม.
บทความ ในหนังสือ ธรรมาภิบาลกับคอรัปชั่นในสังคมไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันวิถีทรรศน.
เหรียญ ศรีจันทร และเนตร พูนวิวัฒน. (๒๕๑๕). กบฎร.ศ.๑๓๐. กรุงเทพฯ : คัมภีร.

Contenu connexe

Tendances

ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาวัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยpentanino
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมpentanino
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมkorakate
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยbabyoam
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธNopporn Thepsithar
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองPadvee Academy
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์sangworn
 

Tendances (18)

ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
 
8.2
8.28.2
8.2
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
 
9789740328667
97897403286679789740328667
9789740328667
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 

En vedette (12)

7.1
7.17.1
7.1
 
Lesson8 bp
Lesson8 bpLesson8 bp
Lesson8 bp
 
6.3
6.36.3
6.3
 
8.1
8.18.1
8.1
 
6.2
6.26.2
6.2
 
Test
TestTest
Test
 
Presentaciones Exitosas con Powerpoint
Presentaciones Exitosas con PowerpointPresentaciones Exitosas con Powerpoint
Presentaciones Exitosas con Powerpoint
 
TOR
TORTOR
TOR
 
Verkkokaupan perusteet - Digisawotta 6.4.2016
Verkkokaupan perusteet - Digisawotta 6.4.2016Verkkokaupan perusteet - Digisawotta 6.4.2016
Verkkokaupan perusteet - Digisawotta 6.4.2016
 
Qué es el tétanos
Qué es el tétanosQué es el tétanos
Qué es el tétanos
 
Supplier Sandal Hotel Murah Di Jogja
Supplier Sandal Hotel Murah Di JogjaSupplier Sandal Hotel Murah Di Jogja
Supplier Sandal Hotel Murah Di Jogja
 
Zomato: Transforming the Global Restaurant Business
Zomato: Transforming the Global Restaurant BusinessZomato: Transforming the Global Restaurant Business
Zomato: Transforming the Global Restaurant Business
 

Similaire à 7.3

Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet apeemai12
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมBoonlert Aroonpiboon
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่T Ton Ton
 
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขกลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขPornthip Tanamai
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมpajaree_musikapong
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)pajaree_musikapong
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมpajaree_musikapong
 
สิทธิมนุษ พยาบาล
สิทธิมนุษ พยาบาลสิทธิมนุษ พยาบาล
สิทธิมนุษ พยาบาลluckana9
 
ต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจนต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจนDinhin Rakpong-Asoke
 
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศKlangpanya
 
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบweeraboon wisartsakul
 
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )Pornthip Tanamai
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 

Similaire à 7.3 (20)

Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet a
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขกลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคม
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคม
 
สิทธิมนุษ พยาบาล
สิทธิมนุษ พยาบาลสิทธิมนุษ พยาบาล
สิทธิมนุษ พยาบาล
 
ต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจนต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจน
 
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
 
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
 
G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 

7.3

  • 1. ๑๕๘ วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การนําหลักพุทธธรรมมาใชในการปกครองและการบริหาร ในสังคมปจจุบันไมวาเราจะอยูที่ไหนก็มีแตคนพูดถึงแตเรื่องของปญหาดาน การเมืองการปกครอง “ปญหา”ในทางพระพุทธศาสนา ตรงกับคําวา “ทุกข” เพราะ ไมวาสังคมไหนถาสอบถามวามีปญหาหรือไม ก็คงจะไดคําตอบออกมาเหมือน ๆ กัน วามีปญหา ยิ่งสังคมกําลังเรารอนไปดวยปญหาการเมือง คนในสังคมสวนใหญพอ ไดรับฟงขอมูลขาวสารแลวคงไมมีความสบายใจเทาไหร เพราะนับตั้งแตผูนําการเมือง ลงมาจนถึงประชาชนชั้นรากหญา ก็มีความวิตกกังวลกันมากบานเมืองของเราจะเกิด อะไรขึ้น ทุกวันนี้บานเมืองของเราจะอยูรอด หรือไมนั้นก็ขึ้นอยูกับคนไมกี่กลุมซึ่งแต ละกลุมก็มีผลประโยชนทั้งสิ้น ประชาชนตาดํา ๆ ที่ไมคอยรูเรื่องรูราวอะไรกับเขาก็ ถูกผลกระทบอยางหนีไมพน ถาจะถามวาเปนเพราะอะไร ก็อาจตอบวาเพราะความ อยากมีอยากเปน อยูในโลกธรรมแปด มีความแกงแยงชิงดีชิงเดนกัน เรื่องลาภ ยศ สรรเสริญ สุข เปนตน
  • 2. ๑๕๙ วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา หลักพุทธธรรมในธรรมาภิบาลกับบริบทไทย หลักพุทธธรรมในธรรมาภิบาลกับบริบทไทยดั้งเดิมคืออะไร หลักพุทธธรรมใน ธรรมมาภิบาลกับหลักการปกครองบานเมืองมีมาตั้งแตกอนสมัยสุโขทัยแลว ดังจะเห็น ไดอยางชัดเจนในหลักทศพิธราชธรรมอันเปนหลักที่พระมหากษัตริยยึดถืออยางมั่นคง ในการปกครองประเทศเสมอมา นอกจากนั้นหลักพุทธธรรมยังเปนรากฐานของโลกทัศน และชีวะทัศนของคน ไทยในอดีตที่แสดงออกทางวัฒนธรรม คานิยมและความเชื่อเรื่องบุญบาป เชน ทําดีได ดี คนดีผีคุม ทําชั่วตกนรก เปนตน และจนถึงอยุธยาตอนกลางนั้นยังยึดหลักพุทธธรรม ฝายเถรวาท และพุทธธรรมฝายมหายานปนกันกับศาสนาพราหมณอยู สมเกียติ วัน ทะนะ กลาวถึงอํานาจ ๖ ประการที่มีผลตอวิถีชีวิตของบุคล และสังคมสวนรวมในชวง สมัยสุโขทัยถึงอยุธยาตอนกลางวา อํานาจธรรม อํานาจพุทธเทพนิกร อํานาจอมนุษย อํานาจพรมเทพนิกร อํานาจไสยเวท และอํานาจผูปกครองพุทธรัฐ อํานาจทั้ง ๖ มี ความสัมพันธตอกันและกันซึ่งมีแนวคิดพื้นฐานมาจาก เรื่องไตรภูมิหรือพุทธจักรวาล วิทยา ในอยุธยา เมื่อสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ กอตั้งกรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ.ศ.๑๘๙๓ พระองคไดผสมผสานหลักพุทธศาสนากับพราหมณเขาดวยกันในราชพิธีตาง ๆ พระมหากษัตริยในสมัยอยุธยา นอกจากเปนสมมติเทพที่ทรงธรรมแลว ยังเปนเทวรา ชาที่ยิ่งใหญ ๒ ความหมายคือ ทรงเปนราชาที่มีภาวะแหงเทพในพระองค และทรง เปนราชาผูทรงคุณธรรม ซึ่งเมื่อผูปกครองใชอํานาจไมเปนธรรมจะสงผลเปน ภยันตรายตอบานเมืองใหรับผลรวมกันในสังคม ดังมีบทพรรณนาในเพลงยาว พยากรณกรุงศรีอยุธยาวา “เมื่อพระมหากษัตริยไมทรงทศพิธราชธรรมก็จะเกิดภาวะ ยุคเข็ญในสังคม ๑๖ ประการ กลาว คือ เดือนดาวดินฟาจะอาเพศ อุบัติเหตุเกิดทั่วทุกทิศาน มหาเมฆจะลุกเปนเพลิงกาฬ เกิดนิมิตพิสดารทุกบานเมือง พระคงคาจะแดงเดือดดั่งเลือดนก อีกแผนดินเปนบาฟาจะเหลือง ผีปาก็จะวิ่งเขาสิงเมือง ผีเมืองนั้นจะออกไปอยูไพร พระเสื้อเมืองจะเอาตัวหนี พระกาลกุลีจะเขามาเปนไส พระธรณีจะตีอกไห อกพระกาลจะไหมอยูเกรียมกรม ในลักษณะทํานายไวบหอนผิด เมื่อพินิจพิศดูก็เห็นสม มิใชเทศกาลรอนก็รอนระงม มิใชเทศกาลลมลมก็พัด มิใชเทศกาลหนาวก็หนาวพน มิใชเทศกาลฝนฝนก็อุบัติ ทุกตนไมหยอมหญาสารพัด เกิดวิบัตินานาทั่วสากล เทวดาซึ่งรักษาพระศาสนา จะรักษาแตคนฝายอกุศล สัปบุรุษจะแพแกทรชน มิตรตนจะฆาซึ่งความรัก ภรรยาจะฆาซึ่งคุณผัว คนชั่วจะมลางผูมีศักดิ์ ลูกศิษยจะสูครูพัก จะหาญหักผูใหญใหเปนผูนอย
  • 3. ๑๖๐ วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ผูมีศีลจะเสียซึ่งอํานาจ นักปราชญจะตกต่ําตอย กระเบื้องจะเฟองฟูลอย น้ําเตาอันลอยนั้นจะถอยจม ผูมีตระกูลจะสูญเผา เพราะจัณฑาลจะเขามาเสพสม ผูมีศีลนั้นจะเสียซึ่งอารมณ เพราะสมัครสมาคมดวยมารยาฯ” และกลาวอีกวา “ในไตรภูมิวินิจยกถาในสมัยพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกไดแสดง คติบทบาทของผูปกครองที่สัมพันธกับความเปนไปของบานเมืองสังคมไวอยางแจมชัด ดังนี้ ถาทาวพระยาทั้งปวงไมเปนธรรม พระยาอุปราชและเสนาบดีแล เศรษฐีทั้งปวง ไมเปนธรรมแลว ไพรฟาประชากรชาวพระนคร แตบรรดาผูอยูในเขตแควนทั้งปวง นั้น ก็จะไมเปนธรรมตลอดทั้งขอบขันฑสีมา ฝายเทพดาที่พิทักษรักษามนุษยทั้งปวง นั้น ครั้นมนุษยไมเปนธรรมแลว ก็จะพลอยเสียจะพลอยไมเปนธรรมไปดวยสิ้น ครั้น อารักษเทวดาไมเปนธรรมแลว ภูมิเทวดาที่เปนมิตรแหงอารักษเทวดานั้นก็จะพลอย ไมเปนธรรมไปดวยสิ้น...ฯ” หลักพุทธธรรมในธรรมาภิบาลในสมัยรัตนโกสินทร ไดรับการยืนยันจากงาน ของสุนทรีย อาสะไวย ในการศึกษาอุดมการณพระศรีอาริยะถึงกบฏผูมีบุญภาคอีสาน ซึ่งสุนทรีย ไดกลาวไวในเอกสารการสัมมนาสองทศวรรษรัตนโกสินทรความ เปลี่ยนแปลงของสังคมไทยวา19 ๒๐ “ถึงแมวาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว จักไดพยายามแกไขปญหาระบบราชการหลายประการทั้งในดานการปฏิรูปโครงสราง การจัดการศึกษาเพื่อสรางผูมีคุณสมบัติเปนขาราชการ การสงเสริม การปลูกฝง ศีลธรรม จรรยา แตปญหาการขาดคุณธรรมของขาราชการ โดยเฉพาะในดานการ แสวงหาผลประโยชนโดยอาศัยตําแหนงหนาที่ทางราชการก็ยังเปนปญหาเรื้อรังของ สังคมไทย และหลายครั้งก็เปนเหตุแหงความไมสงบของบานเมือง ในการตอสูของ ขบวนการผูมีบุญภาคอีสานระหวาง พ.ศ. ๒๔๔๔ - ๒๔๔๕ ผูกอการไดแสดงเหตุผล ของการรวมกันตอสูกับเจาหนาที่บานเมืองวาเนื่องจากการปกครองที่ปราศจาก “ทัส สาราชธรรม” ของผูปกครองหัวเมืองเปนตนวา “...อุผิเก็บเอาขาวไพรไดลานไดนอย ปลอยเอานัดใหเขาฉิบหาย คันวาเอาเสียก็เก็บเอา แถมเอามาเปนขาวของอาณา ประโยชนแหงตน...กะใหแกกันวาไดขาวของแหงเขาแลวก็ยินดีก็เอาไปสูปนกันกิน และโทษอันนี้ก็ผิดฮีตบานคองเมือง เพราะทาวพระยาไมชอบทัสสาราช ธรรม.” นอกจากนี้จากการศึกษาของเหรียญ ศรีจันทร และเนตร พูนพิพัฒน ไดพบวา20 ๒๑ การ กบฏ เมื่อ ร.ศ.๑๓๐ มีเหตุมาจากความไมพอใจสภาพสังคมโดยเฉพาะปญหาระบบ ราชการ ดังเชนความเห็นของผูกอการกบฏ ที่วา “เจาหนาที่ปกครองนับตั้งแตตน ๒๐ สุนทรีย อาสะไวย. (๒๕๒๔). จากอุดมการณพระศรีอาริยถึงกบฏผูมีบุญภาคอีสาน. เอกสาร ประกอบการสัมมนาสองศตวรรษรัตนโกสินทร : ความเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ๒๑ เหรียญ ศรีจันทร และเนตร พูนวิวัฒน. (๒๕๑๕). กบฎร.ศ.๑๓๐. กรุงเทพฯ : คัมภีร.
  • 4. ๑๖๑ วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา จนถึงปลายแถวจะเปนหลักแหลงที่พึ่งพิงอยางจริงจังไดยาก นอกจากเปนสมัครพรรค พวกที่ไดรับประโยชนรวมกัน” แตวัฒนธรรม คานิยม และความเชื่อดังกลาวคอย ๆ เปลี่ยนไปเมื่อผูปกครอง ของไทยไดแยกหลักนิติธรรมออกจากหลักศาสนธรรม นับตั้งแตในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยู (รัชกาลที่ ๔) เปนตนมา ในปจจุบันความรูจึง เปนเพียงสวนหนึ่งของคุณธรรมหรือความรูคูธรรมเทานั้น แกนพุทธธรรมในธรรมาภิบาล พระพุทธศาสนาไดใหหลักธรรมะเพื่อการยกระดับจิตใจมนุษย ใหหลุดพนจาก ความคิดที่ไมถูกตอง ไมงามโดยพื้นฐาน (อกุศลมูล) การเกื้อกูล การเสียสละใหแกผู ออนแอกวา (ทานมัย) การยกระดับจิตใจจากปุถุชนใหสูงขึ้นสูความเปนอริยะชนมี ความโปรงใส ตลอดทั้งเกื้อกูลซึ่งกันและกัน เพราะเห็นวาสรรพสัตวตกอยูภายใต สามัญลักษณ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตาดวยกัน สัตวทุกหมูเหลาจึงควรเปนเพื่อนเกิด แก เจ็บตาย ควรบําเพ็ญประโยชนเกื้อกูลแกกันและกัน ไมควรเบียดเบียนซึ่งกันและ กัน (สีลมัย) ถือวาดํารงอยูในหลักนิติธรรม และไดชื่อวาเปนไปตามหลักคุณ ธรรม การทํากิจใด ๆ ที่ประกอบไปดวยความตั้งใจมั่น ดวยสติ สัมปะชัญญะ จิตใจแนวแน สะอาดสงบ ใชโยนิโสมนสิการและพรอมรับฟงการกลาวตําหนิจากคนอื่น (ปะระโตโฆ สะ) ชื่อวา เปนสัมมาทิฏฐิ เรียกวา หลักการมีสวนรวม การเคารพคนอื่น( สมานัตตา) การพรอมตรวจสอบตนเอง (อัตตานัง โจทยัตตานัง) ไดชื่อวา ยึดหลักความโปรงใส หลักความรับผิดชอบ ซึ่งสอดคลองกับหลักธรรมาภิบาลสากลทั้ง ๖ ดาน ดังกลาว สรุปหลักธรรมาภิบาลที่ใชในบริบทสากลมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญกับ ธรรมาภิบาลในบริบทไทยดั้งเดิมและบริบทพุทธธรรมดังนี้คือ หลักธรรมาภิบาลใน บริบทสากลเนนไปที่โครงสราง การปฏิบัติตามกฎระเบียบ/ขอบังคับที่กําหนดขึ้นเปน ลายลักษณอักษร เนนการมีประสิทธิภาพ ความคุมคาตอตนทุน แตหลักธรรมาภิบาล ในบริบทไทยดั้งเดิมจะเนนตัวบุคคล ที่ตองเปนคนดี มีคุณธรรม เพราะถาคนไมดี ไมมี คุณธรรมจะสงผลตอสภาวะแวดลอมทั้งปวงรวมทั้ง บานเมือง ดิน ฟา อากาศจะเกิด อาเพศไปตางๆ นานาดวย สวนหลักธรรมาภิบาลในมิติพุทธธรรมนั้นไดเนนไปที่ทั้งโครงสรางและตัว บุคคล โดยใหน้ําหนักลงไปที่ตัวบุคคล ที่ตองเปนคนดี มีคุณธรรม ซึ่งการเปนคนดี มี คุณธรรมนั้นสามารถพัฒนาไดจากปริมาณสูคุณภาพจากปุถุชนไปสูความเปนคนดี (สาธุชน) แลวกาวขึ้นไปสูความเปนอริยะชนและเปนอรหันตไดในที่สุด ซึ่งการ ยกระดับนี้ ใชหลักธรรมคือ อริยสัจ ๔ และมรรคมีองค ๘ เปนเครื่องมือที่สําคัญ
  • 5. ๑๖๒ วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา กิจกรรม/แบบฝกหัดทายบท ๗ แบบปรนัย ๑. กูฏทันตะ หมายถึงอะไร ก. คนเมืองทันตะ ข. คนฟนเหยิน ค. คนฟนใหญ ง. คนเมืองกูฎ ๒. เพื่อความสุข ความเจริญของตนเอง และประชาชนในหมูบานของเขา กูฏทันตพราหมณในฐานะ เปนผูปกครองจัดทําพิธีอะไรตามความเชื่อของเขา ก. พิธีอัศวเมธ ข. พิธีอุปสมบท ค. พิธีโกนจุก ง. พิธีบูชายัญ ๓. อาชีพใดไมใชอาชีพที่สงเสริมเพื่อการพัฒนาใหประชาชนอยูดีกินดี มีความสงบสุข ก. การสงเสริมเกษตรกรรม ข. การสงเสริมพานิชยกรรม ค. การสงเสริมขาราชการ ง. การสงเสริมการคามนุษย ๔. การบริหารจัดการองคกรสามารถเทียบเคียงไดกับพระสูตรใด ก. กูฏทันตสูตร ข. มหาสีหนาทสูตร ค. อัคคัญญสูตร ง. จักกวัตติสูตร ๕. กําลังของพระตถาคตเจามีทั้งหมดกี่ประการ ก. ๔ ประการ ข. ๖ ประการ ค. ๘ ประการ ง. ๑๐ ประการ ๖. เวสารัชชญาณ หมายถึงญาณประเภทใด ก. ญาณทําใหแกลวกลา ข. ญาณทําใหสวาง ค. ญาณทําใหระลึกชาติได ง. ญาณทําใหเห็นอนาคต ๗. put the right man in the right job หมายถึงอะไร ก. หางานใหคนทํา ข. จัดคนใหเหมาะกับงาน ค. ใสคนใหเต็มงาน ง. ใสงานใหเต็มคน ๘. การทําใหหลาย ๆ ฝายสามารถพูดคุยและทํางานรวมกันได เกิดจากการใชหลักการใดตอไปนี้ ก. การใชงบประมาณ ข. การสรุปรายงาน ค. การประสานงาน ง. การจัดการองคการ ๙. งบประมาณสูงสุดในทางพระพุทธศาสนาคืออะไร ก. ธนบัตร ข. อสังหาริมทรัพย ค. สังหาริมทรัพย ง. อริยทรัพย ๑๐. การจัดระบบองคการโดยอาศัยกลุมชนหรืออาชีพในกลุมขัติยบริษัท หมายถึง พวกใด ก. พวกนักปกครอง, นักการเมือง ข. พวกพอคา ค. พวกนักบวช ง. พวกครูอาจารย
  • 6. ๑๖๓ วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา บรรณานุกรม ชัยอนันต สมุทวณิช. (๒๕๓๕). รัฐ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ที. สี. (ไทย) เลมที่ ๙ ที. ปา. (ไทย) เลมที่ ๑๑ บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. (๒๕๔๒). การสรางธรรมาภิบาลในสังคมไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพเดือนตุลา จํากัด. ปรีชา ชางขวัญยืน. (๒๕๔๒). ธรรมรัฐ – ธรรมราชา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. พระครูโสภณปริยัติสุธี. (๒๕๕๐). รัฐศาสตรในพระไตรปฎก. พะเยา : โรงพิมพเจริญอักษร. พระณัฐพงษ ปฺญาวชิโร (ฉลาดแหลม). (๒๕๑๙) การศึกษาเปรียบเทียบแนว ความคิดทางสังคมในพุทธปรัชญาเถรวาทกับปรัชญาขงจื้อ. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๔๖). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ : นานมีบุคสพับลิเคชันส. สมชาย ปรีชาศิลปะกุล. (๒๕๔๖). อธรรมรัฐ. บทความ ในหนังสือ ธรรมาภิบาลกับคอรัปชั่นใน สังคมไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันวิถีทรรศน. สุชีพ ปุญญานุภาพ. (๒๕๔๓) สารัตถะแหงศาสนธรรม. กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย. สัญญา สัญญาวิวัฒน. (๒๕๔๓). สังคมวิทยาการเมือง. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพสุขภาพใจ. สุนทรีย อาสะไวย. (๒๕๒๔). จากอุดมการณพระศรีอาริยถึงกบฏผูมีบุญภาคอีสาน. เอกสาร ประกอบการสัมมนาสองศตวรรษรัตนโกสินทร : ความเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). (๒๕๔๔). ธรรมาภิบาลการมีสวนรวม ของประชาชนและกระบวนการทางดานสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพสาธาร. สุรชาติ บํารุงสุข. (๒๕๔๖). กองทัพกับธรรมรัฐ : ขอคิดเพื่อการบริหารของประชาสังคม. บทความ ในหนังสือ ธรรมาภิบาลกับคอรัปชั่นในสังคมไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันวิถีทรรศน. เหรียญ ศรีจันทร และเนตร พูนวิวัฒน. (๒๕๑๕). กบฎร.ศ.๑๓๐. กรุงเทพฯ : คัมภีร.