SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  35
Télécharger pour lire hors ligne
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz:
เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง
โครงการติดตามนโยบายสื่อและโทรคมนาคม
NBTC Policy Watch
โครงร่างการนาเสนอ
• ความเป็นมาและข้อมูลพื้นฐานของคลื่น 1800 MHz
• ข้อโต้เถียงทางกฎหมายกรณีการขยายระยะเวลาคืนคลื่น
• ความล่าช้าในการจัดประมูล: ความบกพร่องโดยสุจริต?
• ทางเลือกอื่นในการเยียวยาผู้บริโภค
• ใครได้ประโยชน์: ผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
• CAT หรือ TRUE (+DPC) เหมาะสมกว่ากันที่จะให้บริการต่อ?
• บทสรุป
1.
ความเป็นมาและข้อมูลพื้นฐานของคลื่น 1800 MHz
ความเป็นมาและข้อมูลพื้นฐานของคลื่น 1800 MHz
• บริษัท กสท. หน่วยงานที่เคยเป็นเจ้าของคลื่น 1800 MHz ได้ทาสัญญา
สัมปทานในลักษณะที่เรียกว่า สร้าง-โอน-ให้บริการ (Build-Transfer-
Operate) กับบริษัทเอกชน 3 ราย คือ ทรูมูฟ ดีพีซี และดีแทค
ความเป็นมาและข้อมูลพื้นฐานของคลื่น 1800 MHz
• คลื่นที่ทรูมูฟและดีพีซีใช้ให้บริการอยู่กาลังจะหมดอายุสัมปทานวันที่ 15 ก.ย. นี้
ถือเป็นครั้งแรกที่คลื่นความถี่สาหรับการประกอบกิจการโทรคมนาคมซึ่งเคยให้
ผ่านระบบสัมปทานโดยหน่วยงานของรัฐ จะถูกนากลับมาสู่มือสาธารณะเพื่อ
จัดสรรใหม่โดย กสทช. ซึ่งถือเป็นงานที่ท้าทายสาหรับ กสทช. เพื่อให้การเปลี่ยน
ผ่านเป็นไปอย่างราบรื่น
คลื่นความถี่จัดสรร ปริมาณ
คลื่นที่ถือ
(MHz)
ระบบ
มาตรฐาน
ผู้รับ
อนุญาตให้
ใช้คลื่น
ผู้ให้บริการ
(สัมปทาน)
ระยะเวลา สิ้นอายุ
สัมปทานความถี่ส่ง (MHz) ความถี่รับ (MHz)
1710 1722.6 1805 1817.6 12.6 PCN 1800 กสท ทรูมูฟ 17 ปี 15 ก.ย. 56
1722.6 1747.9 1817.6 1842.9 25.3 PCN 1800 กสท ดีแทค 27 ปี 15 ก.ย. 61
1747.9 1760.5 1842.9 1855.5 12.6 PCN 1800 กสท ดีพีซี 16 ปี 15 ก.ย. 56
1760.5 1785 1855.5 1880 24.5 PCN 1800 กสท ดีแทค 27 ปี 15 ก.ย. 61
ความเป็นมาและข้อมูลพื้นฐานของคลื่น 1800 MHz
• เจตนารมณ์ในกฎหมายต้องการให้มีการนาคลื่นความถี่ที่เคยถือครองโดย
หน่วยงานรัฐกลับคืนมาสู่มือสาธารณะ ดังที่มาตรา 47 ในรัฐธรรมนูญ
2550 กาหนดว่า คลื่นความถี่เป็นทรัพยากรสื่อสารของชาติเพื่อประโยชน์
สาธารณะ และให้มีองค์กรอิสระ คือ กสทช. ทาหน้าที่จัดสรรคลื่นความถี่
• ด้วยเจตนารมณ์ดังกล่าว ภายหลังมีการออก พรบ. องค์กรจัดสรรคลื่น
ความถี่ฯ และ พรบ. การประกอบกิจการโทรคมนาคม รัฐต้องเปลี่ยน
สถานะของการสื่อสารแห่งประเทศไทย (CAT) และองค์การโทรศัพท์แห่ง
ประเทศไทย (TOT) จากผู้ให้สิทธิและกากับดูแลการใช้คลื่น มาเป็นผู้
บริการรายหนึ่งเหมือนบริษัทเอกชน
ความเป็นมาและข้อมูลพื้นฐานของคลื่น 1800 MHz
• มาตรา 80 ใน พรบ. การประกอบกิจการฯ คุ้มครองให้ผู้รับสัมปทานได้รับ
สิทธิประกอบกิจการต่อไปจนกว่าสัญญาสัมปทานสิ้นสุดเท่านั้น และ
จากนั้นต้องนากลับมาจัดสรรใหม่โดย กสทช. ในระบบใบอนุญาตด้วย
วิธีการประมูลเท่านั้น ตามที่กาหนดในมาตรา 45 พรบ. องค์กรฯ
• กฎหมายทั้งหมดแสดงให้เจตนารมณ์ของกฎหมายที่มุ่งหมายให้เกิดการ
เปลี่ยนผ่านจากระบบสัมปทาน (ที่หน่วยงานรัฐเป็นเจ้าของและจัดสรรให้
เอกชน) ไปสู่ระบบใบอนุญาต (ที่จัดสรรโดย กสทช. ด้วยวิธีการประมูล)
ซึ่งเป็นระบบที่มีความโปร่งใสและสร้างสนามแข่งขันที่เท่าเทียมกว่าระบบ
สัมปทาน
ความเป็นมาและข้อมูลพื้นฐานของคลื่น 1800 MHz
• มาตรา 80 ใน พรบ. การประกอบกิจการฯ คุ้มครองให้ผู้รับสัมปทานได้รับ
สิทธิประกอบกิจการต่อไปจนกว่าสัญญาสัมปทานสิ้นสุดเท่านั้น และ
จากนั้นต้องนากลับมาจัดสรรใหม่โดย กสทช. ในระบบใบอนุญาตด้วย
วิธีการประมูลเท่านั้น ตามที่กาหนดในมาตรา 45 พรบ. องค์กรฯ
• กฎหมายทั้งหมดแสดงให้เจตนารมณ์ของกฎหมายที่มุ่งหมายให้เกิดการ
เปลี่ยนผ่านจากระบบสัมปทาน (ที่หน่วยงานรัฐเป็นเจ้าของและจัดสรรให้
เอกชน) ไปสู่ระบบใบอนุญาต (ที่จัดสรรโดย กสทช. ด้วยวิธีการประมูล)
ซึ่งเป็นระบบที่มีความโปร่งใสและสร้างสนามแข่งขันที่เท่าเทียมกว่าระบบ
สัมปทาน
ความเป็นมาและข้อมูลพื้นฐานของคลื่น 1800 MHz
• กสทช. มีมติรับรอง (ร่าง) ประกาศ เรื่องการคุ้มครองผู้ใช้บริการในกรณีสิ้นสุด
การอนุญาต สัมปทาน หรือสัญญาการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ พ.ศ. ..... ซึ่ง
อนุญาตให้ผู้ให้บริการสามารถให้บริการบนคลื่นความถี่ที่หมดอายุสัมปทานได้
ต่อไปชั่วคราว โดย กทค. อ้างว่าเป็นการเยียวยาผู้ใช้บริการที่ยังคงค้างอยู่หลัง
คลื่นหมดอายุสัมปทานให้สามารถใช้บริการอย่างต่อเนื่อง เพราะไม่สามารถจัด
ให้มีการประมูลคลื่นความถี่ 1800 MHz ได้ทันก่อนหมดอายุสัมปทาน
คลื่น 1800 MHz ทรูมูฟ ดีพีซี ดีแทค
จานวนผู้ใช้บริการทั้งหมด 17,748,727 94,300 23,857,685
ระบบเติมเงิน (pre-paid) 17,021,123 - 21,271,447
ระบบรายเดือน (post-paid) 727,604 94,300 2,586,238
คาถามสาคัญ
• กทค. ใช้ฐานอานาจทางกฎหมายใดในการขยายระยะเวลาการคืนคลื่น
ออกไป? และถือเป็นการละเมิดเจตนารมณ์ของกฎหมายหรือไม่?
• กทค. มีเหตุจาเป็นอะไรถึงไม่สามารถดาเนินการให้เกิดการประมูลได้ทัน
จนเป็นเหตุให้ต้องขยายระยะเวลาคืนคลื่นออกไป?
• กทค. มีทางเลือกอื่นในการเยียวยาผู้บริโภคโดยไม่ต้องขยายระยะเวลาคืน
คลื่นออกไปหรือไม่?
• ใครได้ประโยชน์จากมาตรการขยายระยะเวลาคืนคลื่นกันแน่? ผู้บริโภค
หรือผู้ประกอบการ?
2.
ข้อโต้เถียงทางกฎหมายกรณีการขยายระยะเวลาคืนคลื่น
ข้อโต้เถียงทางกฎหมายกรณีการขยายระยะเวลาคืนคลื่น
ฐานอานาจทาง
กฎหมายที่ กทค.
ใช้อ้าง
มาตรา 47 ในรัฐธรรมนูญ 2550 กาหนดให้ กสทช.
ดาเนินการโดยคานึงถึงประโยชน์ของประชาชนเป็นสูงสุด
ข้อโต้แย้งทาง
กฎหมาย
กรณีมาตรา 47 ในรัฐธรรมนูญ เนื่องจากคลื่นความถี่เป็นทรัพยากร
สื่อสารของชาติ กสทช. ทาหน้าที่เพียงดูแลจัดสรรให้เป็นไปตาม
กฎหมาย ดังนั้น กสทช. จึงต้องดาเนินการตามข้อบัญญัติในกฎหมาย
ที่เกี่ยวข้องด้วย การอ้าง “ประโยชน์สูงสุดของประชาชน” แบบ
ตามใจชอบเช่นนี้ ย่อมทาให้การเปลี่ยนผ่านจากระบบสัมปทานไปสู่
ระบบใบอนุญาตต้องล่าช้าออกไป ซึ่งขัดกับหลักการส่งเสริมการ
แข่งขันเสรีเป็นธรรม ซึ่งเป็น “ประโยชน์สูงสุดของประชาชน” ที่ระบุ
ไว้ในรัฐธรรมนูญอย่างชัดเจน
ข้อโต้เถียงทางกฎหมายกรณีการขยายระยะเวลาคืนคลื่น
ฐานอานาจทาง
กฎหมายที่ กทค.
ใช้อ้าง
มาตรา 20 แห่ง พรบ. การประกอบกิจการโทรคมนาคม
ระบุว่าผู้ได้รับใบอนุญาตจะพักหรือหยุดการให้บริการ
ทั้งหมดหรือบางส่วนไม่ได้ ดังนั้น กทค. จึงไม่อาจปล่อยให้
เกิดเหตุการณ์ซิมดับได้
ข้อโต้แย้งทาง
กฎหมาย
มาตรา 20 แห่ง พรบ. การประกอบกิจการโทรคมนาคม ไม่ได้
ครอบคลุมถึงกรณีการหมดอายุสัมปทาน แต่หมายถึงการดาเนินการ
ของผู้ให้บริการในระหว่างช่วงอายุของใบอนุญาตที่จะพักหรือหยุด
ให้บริการตามอาเภอใจมิได้ ไม่เช่นนั้นคงไม่สามารถนาคลื่นกลับมา
จัดสรรใหม่ได้ในทุกกรณี อีกทั้ง กทค. ก็เคยมีคาสั่งเห็นชอบให้มีการ
ยกเลิกการให้บริการโทรคมนาคมมาก่อน
ข้อโต้เถียงทางกฎหมายกรณีการขยายระยะเวลาคืนคลื่น
ฐานอานาจทาง
กฎหมายที่ กทค.
ใช้อ้าง
มาตรา 27 (4) (6) (13) แห่ง พรบ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ
ให้อานาจ กสทช. ในการพิจารณาอนุญาตและกากับดูแลการใช้
คลื่นความถี่ตามหลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาต เพื่อให้ผู้ใช้บริการ
ได้รับบริการที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ รวดเร็วถูกต้องและเป็น
ธรรม
ข้อโต้แย้งทาง
กฎหมาย
มาตรา 27 แห่ง พรบ. องค์กรฯ ให้อานาจ กสทช. ในการ
พิจารณาอนุญาตและกากับดูแลคลื่นที่ชอบด้วยกฎหมายเท่านั้น
และไม่ขัดกับกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง กล่าวคือ กทค. ต้อง
พิสูจน์ให้ได้ก่อนว่าการขยายระยะเวลาคืนคลื่นสามารถทาได้ตาม
กฎหมายก่อนที่จะใช้อานาจในมาตรา 27
ข้อโต้เถียงทางกฎหมายกรณีการขยายระยะเวลาคืนคลื่น
ฐานอานาจทาง
กฎหมายที่ กทค.
ใช้อ้าง
มาตรา 84 แห่ง พรบ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ ประกอบกับ
มาตรา 83 ให้อานาจ กสทช. ในการกาหนดระยะเวลาที่แน่นอน
ในการให้ผู้ได้รับจัดสรรคลื่นความถี่หรือใช้คลื่นความถี่คืนคลื่น
เพื่อนาไปจัดสรรใหม่
ข้อโต้แย้งทาง
กฎหมาย
กทค. ได้ใช้อานาจในมาตรา 83 และ 84 แห่ง พรบ. องค์กรฯ ในแผน
แม่บทการบริหารคลื่นความถี่ข้อ 8.2.1 แล้วว่า คลื่นความถี่ที่หมดอายุ
สัมปทานต้องคืนมาให้ กสทช. จัดสรรใหม่ ดังนั้น กทค. จึงไม่มีสิทธิอ้าง
มาตราดังกล่าวเพื่อขยายระยะเวลาการใช้คลื่นของ CAT เพราะจะขัด
กับแผนแม่บทฯ อีกทั้ง กทค. ก็ไม่มีสิทธิให้ผู้รับสัมปทานอย่าง
Truemove และ DPC ใช้คลื่นต่อไป เพราะมาตรา 80 ของ พรบ. การ
ประกอบกิจการฯ คุ้มครองผู้ได้รับสัมปทานให้ใช้คลื่นต่อไปได้จนกว่า
สัมปทานจะสิ้นสุดลงเท่านั้น
ข้อโต้เถียงทางกฎหมายกรณีการขยายระยะเวลาคืนคลื่น
ฐานอานาจทาง
กฎหมายที่ กทค.
ใช้อ้าง
กทค. อ้างว่าประกาศดังกล่าวไม่ได้เป็นการขยายระยะเวลา
สัมปทาน และไม่ใช่การให้ใบอนุญาตโดยวิธีการประมูลตาม
มาตรา 45 แห่ง พรบ. องค์กรฯ เพราะถือเป็นการกากับดูแลเพื่อ
คุ้มครองผู้บริโภคจากเหตุการณ์ “ซิมดับ” แต่ไม่ใช่ “ความ
ประสงค์” ของผู้ให้บริการ จึงไม่เข้าข่ายมาตรา 45
ข้อโต้แย้งทาง
กฎหมาย
แม้จะอ้างว่าการยืดระยะเวลาใช้คลื่นความถี่ไม่ใช่ “ความประสงค์” ใน
การประกอบกิจการของผู้ให้บริการตามมาตรา 45 แห่ง พรบ. องค์กรฯ
แต่ กทค. ก็ไม่มีฐานอานาจใดๆ จะทาเช่นนั้นได้โดยไม่ขัดกับกฎหมาย
บางข้อ การฝืนอนุญาตให้ผู้ให้บริการรายเดิมอย่าง Truemove หรือ
DPC หรือผู้ให้สัมทานอย่าง กสท ใช้คลื่นประกอบกิจการต่อไป ถือเป็น
ความผิดตามมาตรา 79 แห่ง พรบ. องค์กรฯ ซึ่งวางโทษอาญากับ
กสทช. ที่ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม พรบ. ฉบับดังกล่าว
"สำหรับกรณีกำรพิจำรณำขยำยระยะเวลำในกำรใช้งำนคลื่นควำมถี่ย่ำน 800 MHz นั้น
เห็นว่ำ แม้ข้อกำหนดในเงื่อนไขกำรอนุญำตให้ประกอบกิจกำรโทรคมนำคมจะกำหนดให้
กทช. หรือ กสทช. สำมำรถพิจำรณำขยำยระยะเวลำในกำรใช้งำนคลื่นควำมถี่ได้ต่อไปก็
ตำม หำกแต่โดยที่พระรำชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นควำมถี่และกำกับกำรประกอบ
กิจกำรวิทยุกระจำยเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจกำรโทรคมนำคม พ.ศ. 2553 บัญญัติให้
การจัดสรรคลื่นความถี่ที่ใช้ในกิจการโทรคมนาคมจะต้องกระทาโดยวิธีการประมูล
เท่านั้น ประกอบกับแผนแม่บทการบริหารคลื่นความถี่มิได้กาหนดให้ กสทช. สามารถ
พิจารณาขยายระยะเวลาในการใช้งานคลื่นความถี่ที่ใช้ในกิจการโทรคมนาคมได้ อัน
เป็นการแสดงให้เห็นถึงนโยบายที่จะไม่พิจารณาขยายระยะเวลาในการใช้งานคลื่น
ความถี่ ดังนั้น เมื่อระยะเวลำในกำรใช้งำนคลื่นควำมถี่ย่ำน 800 MHz ของบริษัทฯ
สิ้นสุดลง ประกอบกับได้มีกำรตรำและใช้บังคับพระรำชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นควำมถี่
และกำกับกำรประกอบกิจกำรวิทยุกระจำยเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจกำรโทรคมนำคม
พ.ศ. 2553 แล้ว ซึ่งได้กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีกำรในกำรใช้งำนคลื่นควำมถี่เพื่อกำร
ประกอบกิจกำรโทรคมนำคมไว้ให้กระทำได้ด้วยวิธีกำรประมูลเท่ำนั้น กรณีนี้จึงไม่อาจที่
จะพิจารณาขยายระยะเวลาในการใช้งานคลื่นความถี่ได้“
คณะอนุกรรมการที่ปรึกษาด้านกฎหมาย กสทช.
3.
ความล่าช้าในการจัดประมูล: ความบกพร่องโดยสุจริต?
ความล่าช้าในการจัดการคลื่น 1800 MHz
• กสทช. เข้ารับตาแหน่งเมื่อต้นเดือนตุลาคม 2554 จึงมีเวลาเตรียมตัวก่อน
สิ้นสุดสัญญาสัมปทานคลื่น 1800 MHz เกือบ 2 ปี
• กสทช. รู้แน่นอนว่าต้องนาคลื่นความถี่กลับมาจัดสรรใหม่หลังแผนแม่บท
การบริหารคลื่นความถี่ประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 4
เมษายน 2555 จึงมีเวลาเตรียมตัวก่อนสิ้นสัญญาสัมปทาน เกือบ 1 ปี 6
เดือน
• ดร.เศรษฐพงค์ ออกมาให้สัมภาษณ์เองตั้งแต่เดือนเมษายน 2555 ว่าจะรีบ
จัดประมูลให้ทันเพื่อให้รายใหม่เข้ามารับช่วงในคลื่นความถี่ 1800 MHz
ได้อย่างต่อเนื่อง และจะจัดตั้งคณะทางานตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2555
ความล่าช้าในการจัดการคลื่น 1800 MHz
สิ่งที่ กทค. ควรเร่งทาตั้งแต่เดือนเมษายน 2555 คือ
• จัดตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทางานเตรียมความพร้อมสาหรับการประมูล
การประชาสัมพันธ์ และการหามาตรการคุ้มครองผู้บริโภคจากกระบวนการ
เปลี่ยนผ่าน
• เริ่มประชาสัมพันธ์ให้กับสาธารณะและขอความร่วมมือกับผู้ให้บริการอย่าง
ทรูมูฟและดีพีซีให้แจ้งกับลูกค้าถึงถึงวันสิ้นสัญญาสัมปทาน
• ขยายขีดความสามารถของ MNP เพื่อรองรับผู้ใช้บริการบนคลื่น 1800 MHz ที่
ประสงค์จะโอนย้ายค่ายได้มากขึ้น รวมถึงสร้างช่องทางในการแจ้งความ
ประสงค์เพื่ออานวยความสะดวกมากขึ้น (เช่น ผ่าน SMS เว็บไซต์ ฯลฯ)
• จัดการประมูลเพื่อหาผู้รับใบอนุญาตรายใหม่ให้ได้ก่อนวันสิ้นสุดสัมปทาน
ประมาณ 6 เดือน เพื่อให้มีเวลาเตรียมตัวสาหรับการรับช่วงการให้บริการได้
อย่างต่อเนื่อง
ที่มำ: ปรับจำกหนังสือพิมพ์ The Nation ฉบับวันที่ 10 มิถุนำยน 2513
ตารางสรุปกรอบเวลาที่ กทค. สามารถจัดการประมูลคลื่น 1800 MHz ให้แล้วเสร็จ หาก
ดาเนินการตั้งแต่หลังมีการประกาศแผนแม่บทในราชกิจจานุเบกษา
ความล่าช้าในการจัดการคลื่น 1800 MHz
• ในความเป็นจริง กทค. ไม่มีการจัดตั้งคณะทางานมารับผิดชอบงานที่เกี่ยวข้อง
จนกระทั่งไตรมาสที่ 2 ของปี 2556 ซึ่งทาให้ กทค. เหลือเวลาน้อยกว่า 6 เดือน
ในการเตรียมตัวก่อนสิ้นอายุสัมปทาน
• ดร.เศรษฐพงค์อ้างว่าที่ไม่สามารถจัดการล่วงหน้าได้เป็นเพราะ CAT แสดง
ความจานงว่าจะไม่คืนคลื่นความถี่ โดยอ้างว่ารัฐจะเสียประโยชน์
• กทค. ได้ยืนยันมาตลอดว่าสิทธิในคลื่น 1800 MHz ของ CAT ต้องหมดลงหลัง
สิ้นอายุสัมปทานตามที่กาหนดไว้ในแผนแม่บทฯ
• ไม่มีเหตุผลที่ กทค. จะหยุดดาเนินการเพียงเพราะ CAT “ต้องการ” ขยาย
ระยะเวลาการใช้คลื่นโดยไม่มีฐานอานาจทางกฎหมายใดๆ
• กทค. โดย ดร.สุทธิพล วิจารณ์ CAT ว่าให้เลิก “จับผู้บริโภคเป็นตัวประกัน”
แต่การละเลยต่อหน้าที่ของ กทค. จนนาไปสู่การอ้างผู้บริโภคเพื่อยืดระยะเวลา
คืนคลื่นออกไป ถือเป็นการ “จับผู้บริโภคเป็นตัวประกัน” หรือไม่?
4.
ทางเลือกอื่นในการเยียวยาผู้บริโภคโดยไม่ต้องขยาย
ระยะเวลาคืนคลื่นออกไป
ทางเลือกอื่นในการจัดการกับผู้บริโภค
• ในรายงานของคณะอนุกรรมการเตรียมความพร้อมฯ ได้เสนอทางเลือกอื่น
ที่ช่วยเยียวยาผู้บริโภคโดยไม่ต้องขยายระเวลาคืนคลื่นออกไปอีก 2
แนวทาง (ในรายงานเห็นว่าการขยายระยะเวลาน่าจะมีปัญหาทาง
กฎหมาย)
–การโอนย้ายผู้บริโภคคงค้างไปยังผู้ให้บริการรายอื่น เช่น คลื่น 850
ของ True คลื่น 1800 ของ DTAC คลื่น 900 ของ AIS รวมถึงคลื่น
2100 ที่เพิ่งประมูลไป (ค่อนข้างยุ่งยาก)
–การนาคลื่น 1800 ในช่วงคลื่นที่ยังว่างอยู่ ซึ่ง DTAC ทาสัญญากับ
CAT มาใช้รองรับลูกค้าคงค้างเป็นการชั่วคราว (พิจารณาแนวทางนี้)
ทางเลือกอื่นในการจัดการกับผู้บริโภค
• คลื่น 1800 MHz (ในช่วง 1760.5-1785 กับ 1855.5-1880) ยังไม่มีการใช้งาน
เพราะเป็นคลื่นสารองที่ DTAC จะใช้ได้ก็ต่อเมื่อคลื่นที่ให้บริการหลักเต็ม (หลัง
ประมูลคลื่น 2100 โอกาสในการใช้ยิ่งน้อยลง)
• เป็นทางเลือกที่ดีเพราะเป็นคลื่น 1800 ลูกค้าเดิมจึงไม่ต้องกังวลเรื่องเครื่องลูกข่าย
อีกทั้งโครงข่ายที่ CAT จะรับโอนจาก TRUE และ DPC ก็ใช้กับคลื่น 1800 ได้
• กทค. ควรประสานให้เกิดการพูดคุยระหว่าง CAT และ DTAC ทว่าในความเป็นจริง
กทค. ไม่เคยสารวจความเป็นไปได้ของทางเลือกนี้
CAT/
True
CAT/
True
CAT/DTAC CAT/DTAC
CAT/
DPC
CAT/
DPC
CAT/DTAC CAT/DTAC
1710 1785 1805 1817.6 18801722.6 1747.9 1760.5 1842.9 1855.5
5.
ใครได้ประโยชน์จากมาตรการขยายระยะเวลา:
ผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการรายเดิม?
เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
• ผู้บริโภคไม่ได้รับประโยชน์ใดๆ และไม่จาเป็นต้องได้รับการเยียวยาหาก 1)
กทค. จัดประมูลได้ทันล่วงหน้า 6 เดือนเพื่อหาผู้ให้บริการรายใหม่มารับ
ช่วงต่อ (พร้อมประชาสัมพันธ์และขยายขีดความสามารถของ MNP) และ
2) กทค. พิจารณามาตรการทางเลือกอื่นๆ เช่น ย้ายลูกค้าไปยังคลื่น 1800
MHz ที่ว่างอยู่
• การไม่ดาเนินการให้ทันท่วงทีและการไม่พิจารณาทางเลือกอื่นทาให้อดตั้ง
กังขาไม่ได้ว่า มาตรการขยายระยะเวลาคืนคลื่นเป็นการเยียวยาใครกัน
แน่? ผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
• หากไม่ใช้มาตรการขยายระยะเวลาออกไป ผู้ประกอบการรายเดิมจะ
สูญเสียฐานลูกค้าบนคลื่นของตนไป โดยเฉพาะ TRUE ที่มีลูกค้าอยู่
มากกว่า 17 ล้านราย และไม่สามารถโอนย้ายลูกค้าไปยังคลื่น 850 และ
2100 ได้ทัน
• ผู้ประกอบการรายเดิมอาจได้ประโยชน์จากการให้บริการในช่วงขยาย
ระยะเวลา เนื่องจากไม่ต้องเสียค่าสัมปทานร้อยละ 30 ให้กับ CAT อีก
ต่อไป (ในปี 2554 ทรูมูฟจ่ายให้ CAT 4,175 ล้านบาท และดีพีซี 2,654
ล้านบาท) และอาจไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมรายปีบวกกับค่า USO รวมกัน
เกือบร้อยละ 6 ของรายได้ (เนื่องจากไม่ใช่การให้ใบอนุญาตตามคาพูดของ
กทค.)
6.
CAT หรือ TRUE (+DPC) เหมาะที่จะเป็นผู้ให้บริการ
ในช่วยขยายระยะเวลาคืนคลื่นมากกว่ากัน?
CAT หรือ TRUE (+DPC)?
• ในกรณีเกิด “มายากลทางกฎหมาย” ขึ้น (คือการขยายระยะเวลาคืนคลื่น
ทาได้โดยไม่ละเมิดกฎหมายข้อใด) คาถามคือ CAT หรือ TRUE เหมาะเป็น
ผู้ให้บริการต่อ (พร้อมฐานลูกค้า) มากกว่ากัน?
• จากคาสัมภาษณ์ของ กทค. และคาพูดใน (ร่าง) ประกาศคุ้มครอง
ผู้ใช้บริการฯ (“ให้ผู้ให้บริการมีหน้าที่บริการต่อไปเป็นการชั่วคราว”) มี
แนวโน้มที่ กทค. จะตัดสินให้ผู้ให้บริการรายเดิม คือ TRUE และ DPC
เป็นผู้ได้รับสิทธิให้บริการต่อ
CAT หรือ TRUE (+DPC)?
• หากพิจารณาความพร้อมในการให้บริการและประเด็นทางกฎหมายแล้ว
CAT น่าจะเหมาะสมกว่าที่จะเป็นผู้ให้บริการต่อมากกว่า
– CAT จะเป็นผู้รับโอนโครงข่ายและอุปกรณ์หลังหมดสัญญาสัมปทาน จึงมีความ
พร้อมในด้านโครงสร้างมากกว่า (แม้ว่า TRUE จะมีความพร้อมด้านศูนย์บริการ
มากกว่า)
– มาตรา 80 พรบ. การประกอบกิจการฯ ระบุให้ผู้รับสัมปทานมีสิทธิประกอบ
กิจการจนกว่าสัมปทานจะสิ้นสุดลงเท่ำนั้น ดังนั้นทรูมูฟและดีพีซีจึงไม่มีสิทธิ
ให้บริการต่อบนคลื่นเดิมตามข้อกฎหมายอย่างชัดเจน ในขณะที่กรณีของ CAT
นั้นมีความเป็นไปได้ทางกฎหมายมากกว่า หาก กสทช. แก้แผนแม่บทข้อ 8.2.1
โดยกาหนดเป็นกรณีเฉพาะให้ CAT คืนคลื่นที่รับคืนมาจากทรูมูฟและดีพีซี
หลังจากสิ้นอายุสัมปทานภายใน 1 ปี
7.
บทสรุป
บทสรุป
• เจตนารมณ์ในกฎหมายชี้ชัดว่า คลื่นความถี่เป็นทรัพยากรสื่อสาร
สาธารณะ และต้องการให้เกิดการเปลี่ยนผ่านจากระบบสัมปทานไปสู่
ระบบใบอนุญาต ดังนั้น คลื่น 1800 MHz ที่จะหมดอายุสัมปทานจะต้อง
คืนกลับมาสู่มือสาธารณะ และจัดสรรใหม่ด้วยวิธีการประมูลโดย กสทช.
• กทค. ไม่มีฐานอานาจทางกฎหมายใดๆ ในการออกมาตรการขยาย
ระยะเวลาคืนคลื่นความถี่ และอาจมีความผิดอาญาตามมาตรา 79 แห่ง
พรบ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ
• ความล่าช้าในการดาเนินการให้กระบวนการเปลี่ยนผ่านจากระบบ
สัมปทานไปสู่ระบบใบอนุญาตราบรื่นและเป็นไปตามกรอบเวลา ถือเป็น
“การละเลยต่อหน้าที่” ของ กทค. จนนาไปสู่มาตรการขยายระยะเวลา
โดยเอา “ผู้บริโภคเป็นตัวประกัน”
บทสรุป
• กทค. ไม่เคยสารวจแนวทางอื่นซึ่งช่วยให้ผู้ใช้บริการสามารถใช้บริการได้
อย่างต่อเนื่อง (ไม่เจอ “ซิมดับ”) โดยไม่ต้องละเมิดกฎหมายด้วยการขยาย
ระยะเวลาคืนคลื่นออกไป ทว่า กทค. ไม่เคยสารวจความเป็นไปได้ของ
มาตราเหล่านี้
• มาตรการขยายระยะเวลาน่าจะเป็นมาตรการเยียวยาผู้ประกอบการ
มากกว่าผู้บริโภค เพราะ TRUE (+DPC) สามารถรักษาฐานลูกค้าของ
ตนเองได้ชั่วคราว และไม่ต้องเสียค่าสัมปทาน (รวมถึงอาจไม่ต้องเสีย
ค่าธรรมเนียมต่างๆ ให้กับ กสทช. ซึ่งจะสร้างการแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม)
• ในกรณีที่มาตรการขยายระยะเวลาคืนคลื่นไม่ผิดกฎหมาย CAT ควรเป็นผู้
ได้รับสิทธิในการให้บริการชั่วคราว เมื่อพิจารณาความพร้อมด้านโครงสร้าง
และประเด็นทางกฎหมาย
บทสรุป
• ราคาที่สังคมต้องจ่ายสาหรับมาตรการที่ดูจะเยียวยาผู้ประกอบการ
มากกว่า คือ
– โอกาสในการสร้างมาตรฐานที่ดีสาหรับการเปลี่ยนผ่านจากระบบสัมปทาน
ไปสู่ระบบใบอนุญาต
– โอกาสในการสร้างการแข่งขันที่เสรีและเป็นธรรมในกิจการโทรคมนาคม
– โอกาสที่ประเทศชาติเสียไปจากการพัฒนาเทคโนโลยีการสื่อสาร
– และโอกาสที่ผู้บริโภคเสียไปจากการได้ใช้เทคโนโลยีการสื่อสารใหม่ๆ อย่าง
4G ซึ่งจะช่วยกระตุ้นการเติบโตทางเศรษฐกิจและพัฒนาศักยภาพในการ
แข่งขัน

Contenu connexe

Plus de Isriya Paireepairit

Wearable Computing: Fad or For Real?
Wearable Computing: Fad or For Real?Wearable Computing: Fad or For Real?
Wearable Computing: Fad or For Real?Isriya Paireepairit
 
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัล
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัลความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัล
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัลIsriya Paireepairit
 
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัลแนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัลIsriya Paireepairit
 
จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัล
จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัลจะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัล
จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัลIsriya Paireepairit
 
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทยกฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทยIsriya Paireepairit
 
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติIsriya Paireepairit
 
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHzทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHzIsriya Paireepairit
 
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิโครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิIsriya Paireepairit
 
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRIร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRIIsriya Paireepairit
 
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัลการกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัลIsriya Paireepairit
 
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้ง
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้งสไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้ง
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้งIsriya Paireepairit
 
Thailand 1800MHz Frequency Management
Thailand 1800MHz Frequency ManagementThailand 1800MHz Frequency Management
Thailand 1800MHz Frequency ManagementIsriya Paireepairit
 
IPTV and Internet TV - Thailand Case
IPTV and Internet TV - Thailand CaseIPTV and Internet TV - Thailand Case
IPTV and Internet TV - Thailand CaseIsriya Paireepairit
 
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคมข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคมIsriya Paireepairit
 
บรรยาย ดร.คณิศ แสงสุวรรณ (23 Nov 2011)
บรรยาย ดร.คณิศ แสงสุวรรณ (23 Nov 2011)บรรยาย ดร.คณิศ แสงสุวรรณ (23 Nov 2011)
บรรยาย ดร.คณิศ แสงสุวรรณ (23 Nov 2011)Isriya Paireepairit
 
นายวิชิต เอื้ออารีวรกุล อุปนายกสมาคมเคเบิ้ลทีวีแห่งประเทศไทย
นายวิชิต เอื้ออารีวรกุล อุปนายกสมาคมเคเบิ้ลทีวีแห่งประเทศไทยนายวิชิต เอื้ออารีวรกุล อุปนายกสมาคมเคเบิ้ลทีวีแห่งประเทศไทย
นายวิชิต เอื้ออารีวรกุล อุปนายกสมาคมเคเบิ้ลทีวีแห่งประเทศไทยIsriya Paireepairit
 

Plus de Isriya Paireepairit (20)

Wearable Computing: Fad or For Real?
Wearable Computing: Fad or For Real?Wearable Computing: Fad or For Real?
Wearable Computing: Fad or For Real?
 
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัล
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัลความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัล
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัล
 
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัลแนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
 
จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัล
จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัลจะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัล
จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัล
 
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทยกฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
 
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
 
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHzทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
 
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิโครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
 
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRIร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
 
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัลการกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
 
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้ง
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้งสไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้ง
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้ง
 
Agenda Bangkok
Agenda BangkokAgenda Bangkok
Agenda Bangkok
 
Mobile Trends 2012
Mobile Trends 2012Mobile Trends 2012
Mobile Trends 2012
 
Thailand 1800MHz Frequency Management
Thailand 1800MHz Frequency ManagementThailand 1800MHz Frequency Management
Thailand 1800MHz Frequency Management
 
IPTV and Internet TV - Thailand Case
IPTV and Internet TV - Thailand CaseIPTV and Internet TV - Thailand Case
IPTV and Internet TV - Thailand Case
 
Three IT Kingdoms
Three IT KingdomsThree IT Kingdoms
Three IT Kingdoms
 
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคมข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม
 
Teleuse@BOP4
Teleuse@BOP4Teleuse@BOP4
Teleuse@BOP4
 
บรรยาย ดร.คณิศ แสงสุวรรณ (23 Nov 2011)
บรรยาย ดร.คณิศ แสงสุวรรณ (23 Nov 2011)บรรยาย ดร.คณิศ แสงสุวรรณ (23 Nov 2011)
บรรยาย ดร.คณิศ แสงสุวรรณ (23 Nov 2011)
 
นายวิชิต เอื้ออารีวรกุล อุปนายกสมาคมเคเบิ้ลทีวีแห่งประเทศไทย
นายวิชิต เอื้ออารีวรกุล อุปนายกสมาคมเคเบิ้ลทีวีแห่งประเทศไทยนายวิชิต เอื้ออารีวรกุล อุปนายกสมาคมเคเบิ้ลทีวีแห่งประเทศไทย
นายวิชิต เอื้ออารีวรกุล อุปนายกสมาคมเคเบิ้ลทีวีแห่งประเทศไทย
 

ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?

  • 1. ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ? วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง โครงการติดตามนโยบายสื่อและโทรคมนาคม NBTC Policy Watch
  • 2. โครงร่างการนาเสนอ • ความเป็นมาและข้อมูลพื้นฐานของคลื่น 1800 MHz • ข้อโต้เถียงทางกฎหมายกรณีการขยายระยะเวลาคืนคลื่น • ความล่าช้าในการจัดประมูล: ความบกพร่องโดยสุจริต? • ทางเลือกอื่นในการเยียวยาผู้บริโภค • ใครได้ประโยชน์: ผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ? • CAT หรือ TRUE (+DPC) เหมาะสมกว่ากันที่จะให้บริการต่อ? • บทสรุป
  • 4. ความเป็นมาและข้อมูลพื้นฐานของคลื่น 1800 MHz • บริษัท กสท. หน่วยงานที่เคยเป็นเจ้าของคลื่น 1800 MHz ได้ทาสัญญา สัมปทานในลักษณะที่เรียกว่า สร้าง-โอน-ให้บริการ (Build-Transfer- Operate) กับบริษัทเอกชน 3 ราย คือ ทรูมูฟ ดีพีซี และดีแทค
  • 5. ความเป็นมาและข้อมูลพื้นฐานของคลื่น 1800 MHz • คลื่นที่ทรูมูฟและดีพีซีใช้ให้บริการอยู่กาลังจะหมดอายุสัมปทานวันที่ 15 ก.ย. นี้ ถือเป็นครั้งแรกที่คลื่นความถี่สาหรับการประกอบกิจการโทรคมนาคมซึ่งเคยให้ ผ่านระบบสัมปทานโดยหน่วยงานของรัฐ จะถูกนากลับมาสู่มือสาธารณะเพื่อ จัดสรรใหม่โดย กสทช. ซึ่งถือเป็นงานที่ท้าทายสาหรับ กสทช. เพื่อให้การเปลี่ยน ผ่านเป็นไปอย่างราบรื่น คลื่นความถี่จัดสรร ปริมาณ คลื่นที่ถือ (MHz) ระบบ มาตรฐาน ผู้รับ อนุญาตให้ ใช้คลื่น ผู้ให้บริการ (สัมปทาน) ระยะเวลา สิ้นอายุ สัมปทานความถี่ส่ง (MHz) ความถี่รับ (MHz) 1710 1722.6 1805 1817.6 12.6 PCN 1800 กสท ทรูมูฟ 17 ปี 15 ก.ย. 56 1722.6 1747.9 1817.6 1842.9 25.3 PCN 1800 กสท ดีแทค 27 ปี 15 ก.ย. 61 1747.9 1760.5 1842.9 1855.5 12.6 PCN 1800 กสท ดีพีซี 16 ปี 15 ก.ย. 56 1760.5 1785 1855.5 1880 24.5 PCN 1800 กสท ดีแทค 27 ปี 15 ก.ย. 61
  • 6. ความเป็นมาและข้อมูลพื้นฐานของคลื่น 1800 MHz • เจตนารมณ์ในกฎหมายต้องการให้มีการนาคลื่นความถี่ที่เคยถือครองโดย หน่วยงานรัฐกลับคืนมาสู่มือสาธารณะ ดังที่มาตรา 47 ในรัฐธรรมนูญ 2550 กาหนดว่า คลื่นความถี่เป็นทรัพยากรสื่อสารของชาติเพื่อประโยชน์ สาธารณะ และให้มีองค์กรอิสระ คือ กสทช. ทาหน้าที่จัดสรรคลื่นความถี่ • ด้วยเจตนารมณ์ดังกล่าว ภายหลังมีการออก พรบ. องค์กรจัดสรรคลื่น ความถี่ฯ และ พรบ. การประกอบกิจการโทรคมนาคม รัฐต้องเปลี่ยน สถานะของการสื่อสารแห่งประเทศไทย (CAT) และองค์การโทรศัพท์แห่ง ประเทศไทย (TOT) จากผู้ให้สิทธิและกากับดูแลการใช้คลื่น มาเป็นผู้ บริการรายหนึ่งเหมือนบริษัทเอกชน
  • 7. ความเป็นมาและข้อมูลพื้นฐานของคลื่น 1800 MHz • มาตรา 80 ใน พรบ. การประกอบกิจการฯ คุ้มครองให้ผู้รับสัมปทานได้รับ สิทธิประกอบกิจการต่อไปจนกว่าสัญญาสัมปทานสิ้นสุดเท่านั้น และ จากนั้นต้องนากลับมาจัดสรรใหม่โดย กสทช. ในระบบใบอนุญาตด้วย วิธีการประมูลเท่านั้น ตามที่กาหนดในมาตรา 45 พรบ. องค์กรฯ • กฎหมายทั้งหมดแสดงให้เจตนารมณ์ของกฎหมายที่มุ่งหมายให้เกิดการ เปลี่ยนผ่านจากระบบสัมปทาน (ที่หน่วยงานรัฐเป็นเจ้าของและจัดสรรให้ เอกชน) ไปสู่ระบบใบอนุญาต (ที่จัดสรรโดย กสทช. ด้วยวิธีการประมูล) ซึ่งเป็นระบบที่มีความโปร่งใสและสร้างสนามแข่งขันที่เท่าเทียมกว่าระบบ สัมปทาน
  • 8. ความเป็นมาและข้อมูลพื้นฐานของคลื่น 1800 MHz • มาตรา 80 ใน พรบ. การประกอบกิจการฯ คุ้มครองให้ผู้รับสัมปทานได้รับ สิทธิประกอบกิจการต่อไปจนกว่าสัญญาสัมปทานสิ้นสุดเท่านั้น และ จากนั้นต้องนากลับมาจัดสรรใหม่โดย กสทช. ในระบบใบอนุญาตด้วย วิธีการประมูลเท่านั้น ตามที่กาหนดในมาตรา 45 พรบ. องค์กรฯ • กฎหมายทั้งหมดแสดงให้เจตนารมณ์ของกฎหมายที่มุ่งหมายให้เกิดการ เปลี่ยนผ่านจากระบบสัมปทาน (ที่หน่วยงานรัฐเป็นเจ้าของและจัดสรรให้ เอกชน) ไปสู่ระบบใบอนุญาต (ที่จัดสรรโดย กสทช. ด้วยวิธีการประมูล) ซึ่งเป็นระบบที่มีความโปร่งใสและสร้างสนามแข่งขันที่เท่าเทียมกว่าระบบ สัมปทาน
  • 9. ความเป็นมาและข้อมูลพื้นฐานของคลื่น 1800 MHz • กสทช. มีมติรับรอง (ร่าง) ประกาศ เรื่องการคุ้มครองผู้ใช้บริการในกรณีสิ้นสุด การอนุญาต สัมปทาน หรือสัญญาการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ พ.ศ. ..... ซึ่ง อนุญาตให้ผู้ให้บริการสามารถให้บริการบนคลื่นความถี่ที่หมดอายุสัมปทานได้ ต่อไปชั่วคราว โดย กทค. อ้างว่าเป็นการเยียวยาผู้ใช้บริการที่ยังคงค้างอยู่หลัง คลื่นหมดอายุสัมปทานให้สามารถใช้บริการอย่างต่อเนื่อง เพราะไม่สามารถจัด ให้มีการประมูลคลื่นความถี่ 1800 MHz ได้ทันก่อนหมดอายุสัมปทาน คลื่น 1800 MHz ทรูมูฟ ดีพีซี ดีแทค จานวนผู้ใช้บริการทั้งหมด 17,748,727 94,300 23,857,685 ระบบเติมเงิน (pre-paid) 17,021,123 - 21,271,447 ระบบรายเดือน (post-paid) 727,604 94,300 2,586,238
  • 10. คาถามสาคัญ • กทค. ใช้ฐานอานาจทางกฎหมายใดในการขยายระยะเวลาการคืนคลื่น ออกไป? และถือเป็นการละเมิดเจตนารมณ์ของกฎหมายหรือไม่? • กทค. มีเหตุจาเป็นอะไรถึงไม่สามารถดาเนินการให้เกิดการประมูลได้ทัน จนเป็นเหตุให้ต้องขยายระยะเวลาคืนคลื่นออกไป? • กทค. มีทางเลือกอื่นในการเยียวยาผู้บริโภคโดยไม่ต้องขยายระยะเวลาคืน คลื่นออกไปหรือไม่? • ใครได้ประโยชน์จากมาตรการขยายระยะเวลาคืนคลื่นกันแน่? ผู้บริโภค หรือผู้ประกอบการ?
  • 12. ข้อโต้เถียงทางกฎหมายกรณีการขยายระยะเวลาคืนคลื่น ฐานอานาจทาง กฎหมายที่ กทค. ใช้อ้าง มาตรา 47 ในรัฐธรรมนูญ 2550 กาหนดให้ กสทช. ดาเนินการโดยคานึงถึงประโยชน์ของประชาชนเป็นสูงสุด ข้อโต้แย้งทาง กฎหมาย กรณีมาตรา 47 ในรัฐธรรมนูญ เนื่องจากคลื่นความถี่เป็นทรัพยากร สื่อสารของชาติ กสทช. ทาหน้าที่เพียงดูแลจัดสรรให้เป็นไปตาม กฎหมาย ดังนั้น กสทช. จึงต้องดาเนินการตามข้อบัญญัติในกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องด้วย การอ้าง “ประโยชน์สูงสุดของประชาชน” แบบ ตามใจชอบเช่นนี้ ย่อมทาให้การเปลี่ยนผ่านจากระบบสัมปทานไปสู่ ระบบใบอนุญาตต้องล่าช้าออกไป ซึ่งขัดกับหลักการส่งเสริมการ แข่งขันเสรีเป็นธรรม ซึ่งเป็น “ประโยชน์สูงสุดของประชาชน” ที่ระบุ ไว้ในรัฐธรรมนูญอย่างชัดเจน
  • 13. ข้อโต้เถียงทางกฎหมายกรณีการขยายระยะเวลาคืนคลื่น ฐานอานาจทาง กฎหมายที่ กทค. ใช้อ้าง มาตรา 20 แห่ง พรบ. การประกอบกิจการโทรคมนาคม ระบุว่าผู้ได้รับใบอนุญาตจะพักหรือหยุดการให้บริการ ทั้งหมดหรือบางส่วนไม่ได้ ดังนั้น กทค. จึงไม่อาจปล่อยให้ เกิดเหตุการณ์ซิมดับได้ ข้อโต้แย้งทาง กฎหมาย มาตรา 20 แห่ง พรบ. การประกอบกิจการโทรคมนาคม ไม่ได้ ครอบคลุมถึงกรณีการหมดอายุสัมปทาน แต่หมายถึงการดาเนินการ ของผู้ให้บริการในระหว่างช่วงอายุของใบอนุญาตที่จะพักหรือหยุด ให้บริการตามอาเภอใจมิได้ ไม่เช่นนั้นคงไม่สามารถนาคลื่นกลับมา จัดสรรใหม่ได้ในทุกกรณี อีกทั้ง กทค. ก็เคยมีคาสั่งเห็นชอบให้มีการ ยกเลิกการให้บริการโทรคมนาคมมาก่อน
  • 14. ข้อโต้เถียงทางกฎหมายกรณีการขยายระยะเวลาคืนคลื่น ฐานอานาจทาง กฎหมายที่ กทค. ใช้อ้าง มาตรา 27 (4) (6) (13) แห่ง พรบ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ ให้อานาจ กสทช. ในการพิจารณาอนุญาตและกากับดูแลการใช้ คลื่นความถี่ตามหลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาต เพื่อให้ผู้ใช้บริการ ได้รับบริการที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ รวดเร็วถูกต้องและเป็น ธรรม ข้อโต้แย้งทาง กฎหมาย มาตรา 27 แห่ง พรบ. องค์กรฯ ให้อานาจ กสทช. ในการ พิจารณาอนุญาตและกากับดูแลคลื่นที่ชอบด้วยกฎหมายเท่านั้น และไม่ขัดกับกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง กล่าวคือ กทค. ต้อง พิสูจน์ให้ได้ก่อนว่าการขยายระยะเวลาคืนคลื่นสามารถทาได้ตาม กฎหมายก่อนที่จะใช้อานาจในมาตรา 27
  • 15. ข้อโต้เถียงทางกฎหมายกรณีการขยายระยะเวลาคืนคลื่น ฐานอานาจทาง กฎหมายที่ กทค. ใช้อ้าง มาตรา 84 แห่ง พรบ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ ประกอบกับ มาตรา 83 ให้อานาจ กสทช. ในการกาหนดระยะเวลาที่แน่นอน ในการให้ผู้ได้รับจัดสรรคลื่นความถี่หรือใช้คลื่นความถี่คืนคลื่น เพื่อนาไปจัดสรรใหม่ ข้อโต้แย้งทาง กฎหมาย กทค. ได้ใช้อานาจในมาตรา 83 และ 84 แห่ง พรบ. องค์กรฯ ในแผน แม่บทการบริหารคลื่นความถี่ข้อ 8.2.1 แล้วว่า คลื่นความถี่ที่หมดอายุ สัมปทานต้องคืนมาให้ กสทช. จัดสรรใหม่ ดังนั้น กทค. จึงไม่มีสิทธิอ้าง มาตราดังกล่าวเพื่อขยายระยะเวลาการใช้คลื่นของ CAT เพราะจะขัด กับแผนแม่บทฯ อีกทั้ง กทค. ก็ไม่มีสิทธิให้ผู้รับสัมปทานอย่าง Truemove และ DPC ใช้คลื่นต่อไป เพราะมาตรา 80 ของ พรบ. การ ประกอบกิจการฯ คุ้มครองผู้ได้รับสัมปทานให้ใช้คลื่นต่อไปได้จนกว่า สัมปทานจะสิ้นสุดลงเท่านั้น
  • 16. ข้อโต้เถียงทางกฎหมายกรณีการขยายระยะเวลาคืนคลื่น ฐานอานาจทาง กฎหมายที่ กทค. ใช้อ้าง กทค. อ้างว่าประกาศดังกล่าวไม่ได้เป็นการขยายระยะเวลา สัมปทาน และไม่ใช่การให้ใบอนุญาตโดยวิธีการประมูลตาม มาตรา 45 แห่ง พรบ. องค์กรฯ เพราะถือเป็นการกากับดูแลเพื่อ คุ้มครองผู้บริโภคจากเหตุการณ์ “ซิมดับ” แต่ไม่ใช่ “ความ ประสงค์” ของผู้ให้บริการ จึงไม่เข้าข่ายมาตรา 45 ข้อโต้แย้งทาง กฎหมาย แม้จะอ้างว่าการยืดระยะเวลาใช้คลื่นความถี่ไม่ใช่ “ความประสงค์” ใน การประกอบกิจการของผู้ให้บริการตามมาตรา 45 แห่ง พรบ. องค์กรฯ แต่ กทค. ก็ไม่มีฐานอานาจใดๆ จะทาเช่นนั้นได้โดยไม่ขัดกับกฎหมาย บางข้อ การฝืนอนุญาตให้ผู้ให้บริการรายเดิมอย่าง Truemove หรือ DPC หรือผู้ให้สัมทานอย่าง กสท ใช้คลื่นประกอบกิจการต่อไป ถือเป็น ความผิดตามมาตรา 79 แห่ง พรบ. องค์กรฯ ซึ่งวางโทษอาญากับ กสทช. ที่ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม พรบ. ฉบับดังกล่าว
  • 17. "สำหรับกรณีกำรพิจำรณำขยำยระยะเวลำในกำรใช้งำนคลื่นควำมถี่ย่ำน 800 MHz นั้น เห็นว่ำ แม้ข้อกำหนดในเงื่อนไขกำรอนุญำตให้ประกอบกิจกำรโทรคมนำคมจะกำหนดให้ กทช. หรือ กสทช. สำมำรถพิจำรณำขยำยระยะเวลำในกำรใช้งำนคลื่นควำมถี่ได้ต่อไปก็ ตำม หำกแต่โดยที่พระรำชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นควำมถี่และกำกับกำรประกอบ กิจกำรวิทยุกระจำยเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจกำรโทรคมนำคม พ.ศ. 2553 บัญญัติให้ การจัดสรรคลื่นความถี่ที่ใช้ในกิจการโทรคมนาคมจะต้องกระทาโดยวิธีการประมูล เท่านั้น ประกอบกับแผนแม่บทการบริหารคลื่นความถี่มิได้กาหนดให้ กสทช. สามารถ พิจารณาขยายระยะเวลาในการใช้งานคลื่นความถี่ที่ใช้ในกิจการโทรคมนาคมได้ อัน เป็นการแสดงให้เห็นถึงนโยบายที่จะไม่พิจารณาขยายระยะเวลาในการใช้งานคลื่น ความถี่ ดังนั้น เมื่อระยะเวลำในกำรใช้งำนคลื่นควำมถี่ย่ำน 800 MHz ของบริษัทฯ สิ้นสุดลง ประกอบกับได้มีกำรตรำและใช้บังคับพระรำชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นควำมถี่ และกำกับกำรประกอบกิจกำรวิทยุกระจำยเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจกำรโทรคมนำคม พ.ศ. 2553 แล้ว ซึ่งได้กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีกำรในกำรใช้งำนคลื่นควำมถี่เพื่อกำร ประกอบกิจกำรโทรคมนำคมไว้ให้กระทำได้ด้วยวิธีกำรประมูลเท่ำนั้น กรณีนี้จึงไม่อาจที่ จะพิจารณาขยายระยะเวลาในการใช้งานคลื่นความถี่ได้“ คณะอนุกรรมการที่ปรึกษาด้านกฎหมาย กสทช.
  • 19. ความล่าช้าในการจัดการคลื่น 1800 MHz • กสทช. เข้ารับตาแหน่งเมื่อต้นเดือนตุลาคม 2554 จึงมีเวลาเตรียมตัวก่อน สิ้นสุดสัญญาสัมปทานคลื่น 1800 MHz เกือบ 2 ปี • กสทช. รู้แน่นอนว่าต้องนาคลื่นความถี่กลับมาจัดสรรใหม่หลังแผนแม่บท การบริหารคลื่นความถี่ประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 4 เมษายน 2555 จึงมีเวลาเตรียมตัวก่อนสิ้นสัญญาสัมปทาน เกือบ 1 ปี 6 เดือน • ดร.เศรษฐพงค์ ออกมาให้สัมภาษณ์เองตั้งแต่เดือนเมษายน 2555 ว่าจะรีบ จัดประมูลให้ทันเพื่อให้รายใหม่เข้ามารับช่วงในคลื่นความถี่ 1800 MHz ได้อย่างต่อเนื่อง และจะจัดตั้งคณะทางานตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2555
  • 20. ความล่าช้าในการจัดการคลื่น 1800 MHz สิ่งที่ กทค. ควรเร่งทาตั้งแต่เดือนเมษายน 2555 คือ • จัดตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทางานเตรียมความพร้อมสาหรับการประมูล การประชาสัมพันธ์ และการหามาตรการคุ้มครองผู้บริโภคจากกระบวนการ เปลี่ยนผ่าน • เริ่มประชาสัมพันธ์ให้กับสาธารณะและขอความร่วมมือกับผู้ให้บริการอย่าง ทรูมูฟและดีพีซีให้แจ้งกับลูกค้าถึงถึงวันสิ้นสัญญาสัมปทาน • ขยายขีดความสามารถของ MNP เพื่อรองรับผู้ใช้บริการบนคลื่น 1800 MHz ที่ ประสงค์จะโอนย้ายค่ายได้มากขึ้น รวมถึงสร้างช่องทางในการแจ้งความ ประสงค์เพื่ออานวยความสะดวกมากขึ้น (เช่น ผ่าน SMS เว็บไซต์ ฯลฯ) • จัดการประมูลเพื่อหาผู้รับใบอนุญาตรายใหม่ให้ได้ก่อนวันสิ้นสุดสัมปทาน ประมาณ 6 เดือน เพื่อให้มีเวลาเตรียมตัวสาหรับการรับช่วงการให้บริการได้ อย่างต่อเนื่อง
  • 21. ที่มำ: ปรับจำกหนังสือพิมพ์ The Nation ฉบับวันที่ 10 มิถุนำยน 2513 ตารางสรุปกรอบเวลาที่ กทค. สามารถจัดการประมูลคลื่น 1800 MHz ให้แล้วเสร็จ หาก ดาเนินการตั้งแต่หลังมีการประกาศแผนแม่บทในราชกิจจานุเบกษา
  • 22. ความล่าช้าในการจัดการคลื่น 1800 MHz • ในความเป็นจริง กทค. ไม่มีการจัดตั้งคณะทางานมารับผิดชอบงานที่เกี่ยวข้อง จนกระทั่งไตรมาสที่ 2 ของปี 2556 ซึ่งทาให้ กทค. เหลือเวลาน้อยกว่า 6 เดือน ในการเตรียมตัวก่อนสิ้นอายุสัมปทาน • ดร.เศรษฐพงค์อ้างว่าที่ไม่สามารถจัดการล่วงหน้าได้เป็นเพราะ CAT แสดง ความจานงว่าจะไม่คืนคลื่นความถี่ โดยอ้างว่ารัฐจะเสียประโยชน์ • กทค. ได้ยืนยันมาตลอดว่าสิทธิในคลื่น 1800 MHz ของ CAT ต้องหมดลงหลัง สิ้นอายุสัมปทานตามที่กาหนดไว้ในแผนแม่บทฯ • ไม่มีเหตุผลที่ กทค. จะหยุดดาเนินการเพียงเพราะ CAT “ต้องการ” ขยาย ระยะเวลาการใช้คลื่นโดยไม่มีฐานอานาจทางกฎหมายใดๆ • กทค. โดย ดร.สุทธิพล วิจารณ์ CAT ว่าให้เลิก “จับผู้บริโภคเป็นตัวประกัน” แต่การละเลยต่อหน้าที่ของ กทค. จนนาไปสู่การอ้างผู้บริโภคเพื่อยืดระยะเวลา คืนคลื่นออกไป ถือเป็นการ “จับผู้บริโภคเป็นตัวประกัน” หรือไม่?
  • 24. ทางเลือกอื่นในการจัดการกับผู้บริโภค • ในรายงานของคณะอนุกรรมการเตรียมความพร้อมฯ ได้เสนอทางเลือกอื่น ที่ช่วยเยียวยาผู้บริโภคโดยไม่ต้องขยายระเวลาคืนคลื่นออกไปอีก 2 แนวทาง (ในรายงานเห็นว่าการขยายระยะเวลาน่าจะมีปัญหาทาง กฎหมาย) –การโอนย้ายผู้บริโภคคงค้างไปยังผู้ให้บริการรายอื่น เช่น คลื่น 850 ของ True คลื่น 1800 ของ DTAC คลื่น 900 ของ AIS รวมถึงคลื่น 2100 ที่เพิ่งประมูลไป (ค่อนข้างยุ่งยาก) –การนาคลื่น 1800 ในช่วงคลื่นที่ยังว่างอยู่ ซึ่ง DTAC ทาสัญญากับ CAT มาใช้รองรับลูกค้าคงค้างเป็นการชั่วคราว (พิจารณาแนวทางนี้)
  • 25. ทางเลือกอื่นในการจัดการกับผู้บริโภค • คลื่น 1800 MHz (ในช่วง 1760.5-1785 กับ 1855.5-1880) ยังไม่มีการใช้งาน เพราะเป็นคลื่นสารองที่ DTAC จะใช้ได้ก็ต่อเมื่อคลื่นที่ให้บริการหลักเต็ม (หลัง ประมูลคลื่น 2100 โอกาสในการใช้ยิ่งน้อยลง) • เป็นทางเลือกที่ดีเพราะเป็นคลื่น 1800 ลูกค้าเดิมจึงไม่ต้องกังวลเรื่องเครื่องลูกข่าย อีกทั้งโครงข่ายที่ CAT จะรับโอนจาก TRUE และ DPC ก็ใช้กับคลื่น 1800 ได้ • กทค. ควรประสานให้เกิดการพูดคุยระหว่าง CAT และ DTAC ทว่าในความเป็นจริง กทค. ไม่เคยสารวจความเป็นไปได้ของทางเลือกนี้ CAT/ True CAT/ True CAT/DTAC CAT/DTAC CAT/ DPC CAT/ DPC CAT/DTAC CAT/DTAC 1710 1785 1805 1817.6 18801722.6 1747.9 1760.5 1842.9 1855.5
  • 27. เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ? • ผู้บริโภคไม่ได้รับประโยชน์ใดๆ และไม่จาเป็นต้องได้รับการเยียวยาหาก 1) กทค. จัดประมูลได้ทันล่วงหน้า 6 เดือนเพื่อหาผู้ให้บริการรายใหม่มารับ ช่วงต่อ (พร้อมประชาสัมพันธ์และขยายขีดความสามารถของ MNP) และ 2) กทค. พิจารณามาตรการทางเลือกอื่นๆ เช่น ย้ายลูกค้าไปยังคลื่น 1800 MHz ที่ว่างอยู่ • การไม่ดาเนินการให้ทันท่วงทีและการไม่พิจารณาทางเลือกอื่นทาให้อดตั้ง กังขาไม่ได้ว่า มาตรการขยายระยะเวลาคืนคลื่นเป็นการเยียวยาใครกัน แน่? ผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
  • 28. เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ? • หากไม่ใช้มาตรการขยายระยะเวลาออกไป ผู้ประกอบการรายเดิมจะ สูญเสียฐานลูกค้าบนคลื่นของตนไป โดยเฉพาะ TRUE ที่มีลูกค้าอยู่ มากกว่า 17 ล้านราย และไม่สามารถโอนย้ายลูกค้าไปยังคลื่น 850 และ 2100 ได้ทัน • ผู้ประกอบการรายเดิมอาจได้ประโยชน์จากการให้บริการในช่วงขยาย ระยะเวลา เนื่องจากไม่ต้องเสียค่าสัมปทานร้อยละ 30 ให้กับ CAT อีก ต่อไป (ในปี 2554 ทรูมูฟจ่ายให้ CAT 4,175 ล้านบาท และดีพีซี 2,654 ล้านบาท) และอาจไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมรายปีบวกกับค่า USO รวมกัน เกือบร้อยละ 6 ของรายได้ (เนื่องจากไม่ใช่การให้ใบอนุญาตตามคาพูดของ กทค.)
  • 29. 6. CAT หรือ TRUE (+DPC) เหมาะที่จะเป็นผู้ให้บริการ ในช่วยขยายระยะเวลาคืนคลื่นมากกว่ากัน?
  • 30. CAT หรือ TRUE (+DPC)? • ในกรณีเกิด “มายากลทางกฎหมาย” ขึ้น (คือการขยายระยะเวลาคืนคลื่น ทาได้โดยไม่ละเมิดกฎหมายข้อใด) คาถามคือ CAT หรือ TRUE เหมาะเป็น ผู้ให้บริการต่อ (พร้อมฐานลูกค้า) มากกว่ากัน? • จากคาสัมภาษณ์ของ กทค. และคาพูดใน (ร่าง) ประกาศคุ้มครอง ผู้ใช้บริการฯ (“ให้ผู้ให้บริการมีหน้าที่บริการต่อไปเป็นการชั่วคราว”) มี แนวโน้มที่ กทค. จะตัดสินให้ผู้ให้บริการรายเดิม คือ TRUE และ DPC เป็นผู้ได้รับสิทธิให้บริการต่อ
  • 31. CAT หรือ TRUE (+DPC)? • หากพิจารณาความพร้อมในการให้บริการและประเด็นทางกฎหมายแล้ว CAT น่าจะเหมาะสมกว่าที่จะเป็นผู้ให้บริการต่อมากกว่า – CAT จะเป็นผู้รับโอนโครงข่ายและอุปกรณ์หลังหมดสัญญาสัมปทาน จึงมีความ พร้อมในด้านโครงสร้างมากกว่า (แม้ว่า TRUE จะมีความพร้อมด้านศูนย์บริการ มากกว่า) – มาตรา 80 พรบ. การประกอบกิจการฯ ระบุให้ผู้รับสัมปทานมีสิทธิประกอบ กิจการจนกว่าสัมปทานจะสิ้นสุดลงเท่ำนั้น ดังนั้นทรูมูฟและดีพีซีจึงไม่มีสิทธิ ให้บริการต่อบนคลื่นเดิมตามข้อกฎหมายอย่างชัดเจน ในขณะที่กรณีของ CAT นั้นมีความเป็นไปได้ทางกฎหมายมากกว่า หาก กสทช. แก้แผนแม่บทข้อ 8.2.1 โดยกาหนดเป็นกรณีเฉพาะให้ CAT คืนคลื่นที่รับคืนมาจากทรูมูฟและดีพีซี หลังจากสิ้นอายุสัมปทานภายใน 1 ปี
  • 33. บทสรุป • เจตนารมณ์ในกฎหมายชี้ชัดว่า คลื่นความถี่เป็นทรัพยากรสื่อสาร สาธารณะ และต้องการให้เกิดการเปลี่ยนผ่านจากระบบสัมปทานไปสู่ ระบบใบอนุญาต ดังนั้น คลื่น 1800 MHz ที่จะหมดอายุสัมปทานจะต้อง คืนกลับมาสู่มือสาธารณะ และจัดสรรใหม่ด้วยวิธีการประมูลโดย กสทช. • กทค. ไม่มีฐานอานาจทางกฎหมายใดๆ ในการออกมาตรการขยาย ระยะเวลาคืนคลื่นความถี่ และอาจมีความผิดอาญาตามมาตรา 79 แห่ง พรบ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ • ความล่าช้าในการดาเนินการให้กระบวนการเปลี่ยนผ่านจากระบบ สัมปทานไปสู่ระบบใบอนุญาตราบรื่นและเป็นไปตามกรอบเวลา ถือเป็น “การละเลยต่อหน้าที่” ของ กทค. จนนาไปสู่มาตรการขยายระยะเวลา โดยเอา “ผู้บริโภคเป็นตัวประกัน”
  • 34. บทสรุป • กทค. ไม่เคยสารวจแนวทางอื่นซึ่งช่วยให้ผู้ใช้บริการสามารถใช้บริการได้ อย่างต่อเนื่อง (ไม่เจอ “ซิมดับ”) โดยไม่ต้องละเมิดกฎหมายด้วยการขยาย ระยะเวลาคืนคลื่นออกไป ทว่า กทค. ไม่เคยสารวจความเป็นไปได้ของ มาตราเหล่านี้ • มาตรการขยายระยะเวลาน่าจะเป็นมาตรการเยียวยาผู้ประกอบการ มากกว่าผู้บริโภค เพราะ TRUE (+DPC) สามารถรักษาฐานลูกค้าของ ตนเองได้ชั่วคราว และไม่ต้องเสียค่าสัมปทาน (รวมถึงอาจไม่ต้องเสีย ค่าธรรมเนียมต่างๆ ให้กับ กสทช. ซึ่งจะสร้างการแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม) • ในกรณีที่มาตรการขยายระยะเวลาคืนคลื่นไม่ผิดกฎหมาย CAT ควรเป็นผู้ ได้รับสิทธิในการให้บริการชั่วคราว เมื่อพิจารณาความพร้อมด้านโครงสร้าง และประเด็นทางกฎหมาย
  • 35. บทสรุป • ราคาที่สังคมต้องจ่ายสาหรับมาตรการที่ดูจะเยียวยาผู้ประกอบการ มากกว่า คือ – โอกาสในการสร้างมาตรฐานที่ดีสาหรับการเปลี่ยนผ่านจากระบบสัมปทาน ไปสู่ระบบใบอนุญาต – โอกาสในการสร้างการแข่งขันที่เสรีและเป็นธรรมในกิจการโทรคมนาคม – โอกาสที่ประเทศชาติเสียไปจากการพัฒนาเทคโนโลยีการสื่อสาร – และโอกาสที่ผู้บริโภคเสียไปจากการได้ใช้เทคโนโลยีการสื่อสารใหม่ๆ อย่าง 4G ซึ่งจะช่วยกระตุ้นการเติบโตทางเศรษฐกิจและพัฒนาศักยภาพในการ แข่งขัน