SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  51
Télécharger pour lire hors ligne
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com
10 ธันวาคม 2561
เกริ่นนา
 คุณเคยอยู่ในสถานการณ์ที่คุณจาเป็นต้องคิดอย่างรวดเร็ว แต่คิด
ไม่ออกหรือไม่?
 บางครั้ง คุณอาจต้องการคิดได้เร็ว เพื่อการติดต่อสื่อสารใน
ชีวิตประจาวัน
 การเรียนรู้วิธีการคิดอย่างรวดเร็ว สามารถสร้างผลบวกสาหรับ
อาชีพ การศึกษา หรือชีวิตส่วนตัวของคุณ
บทความนี้ นามาจาก
https://www.wikihow.com/Think-Fast
1. ทาจิตใจของคุณให้ปล่อยวาง
 เป็นการง่ายที่จะพูดมากกว่าทา เมื่อคุณต้องการให้คาตอบอย่าง
รวดเร็วในทันที ให้สงบจิตใจตัวเองโดยใช้เทคนิคการผ่อนคลายเช่น:
 หายใจเข้าลึก ๆ คุณจะชะลออัตราการเต้นของหัวใจ และส่งออกซิเจนไปยัง
สมองมากขึ้น
 มองบวกกับตัวคุณเองซ้า ๆ เช่น "ฉันตอบได้" และหากคุณต้องเผชิญกับ
สถานการณ์ที่ต้องใช้การคิดอย่างรวดเร็วบ่อย ๆ คุณอาจมีวลีส่วนตัวที่
เฉพาะเจาะจงที่คิดไว้ล่วงหน้า
 เกร็งกล้ามเนื้ อของคุณสักครู่แล้วปล่อย จะช่วยคุณมีสมาธิ ให้เลือกกล้ามเนื้ อ
ที่ผู้คนไม่สามารถมองเห็นได้ เช่นกล้ามต้นแขนหรือกล้ามเนื้ อต้นขา (คุณไม่
ต้องการแสดงความเครียดให้คนเห็น)
2. ฟังคาถามอย่างรอบคอบ
 ตรวจสอบให้แน่ใจว่า คุณตีความคาถามได้ถูกต้อง โดยมองตรงไปที่
เขาหรือเธอและใส่ใจกับคาถาม ลดการรบกวนทั้งหมดเช่น วาง
โทรศัพท์มือถือ ปิดทีวี และปิดแล็ปท็อป
 นอกจากนี้ คุณยังสามารถศึกษาภาษากายของผู้ถาม ให้เน้นไปที่
ดวงตา การแสดงออกทางสีหน้า และตาแหน่งของร่างกาย
 ตัวอย่างเช่น ถ้าบุคคลนั้นตามองตรงที่คุณ มีรอยยิ้ม และหันหน้าเข้า
หาคุณ นี่เป็นข้อบ่งชี้ที่ดี ที่เขาหรือเธอสนใจในสิ่งที่คุณต้องการพูด
 อย่างไรก็ตาม โปรดจาไว้ว่า การแสดงออกทางสีหน้า อาจทาให้เข้าใจ
ผิดได้ เพราะบางคนสามารถปกปิดความรู้สึกได้ ด้วยการแสดงออก
ทางสีหน้าของพวกเขา
3. ถามคาถามซ้า
 ถ้าคุณไม่เข้าใจคาถาม ให้ถามคาถามซ้าอีก เพื่อให้แน่ใจว่าคุณ
เข้าใจสิ่งที่ถาม และจะทาให้คุณมีเวลามากขึ้นในการคิดด้วย
เช่นกัน
 ตัวอย่างเช่น "คุณช่วยทวนคาถามซ้าอีกครั้งได้หรือไม่?"
4. ทวนซ้าคาถามด้วยตัวเอง
 นอกจากนี้ คุณสามารถถามคาถามซ้ากับตัวเอง เพื่อให้ง่ายต่อ
การเข้าใจ การพูดออกมาดัง ๆ กับตัวเอง อาจช่วยให้คุณเข้าใจ
ได้ดียิ่งขึ้น และยังช่วยให้คุณมีเวลามากขึ้นในการหาคาตอบ
 อย่ากลัวที่จะถามให้ชี้ แจงเพิ่มเติม หากคาถามไม่ชัดเจนหรือใช้ศัพท์
แสงที่ไม่คุ้นเคย คาชี้ แจงที่เรียบง่าย อาจช่วยให้คุณตอบคาถามได้อย่าง
รวดเร็วและมีเหตุผล ให้พูดว่า "คุณช่วยอธิบายเพิ่มว่าหมายถึงอะไร? "
หรือ "ฉันไม่ค่อยเข้าใจคาถาม คุณช่วยถามใหม่ได้หรือไม่?"
5. ตอบตรงจุด
 มุ่งเน้นไปที่จุดเดียวและมีข้อมูลที่สนับสนุน จะช่วยกาหนด
เป้ าหมายการเริ่มต้นตอบกลับของคุณ หลีกเลี่ยงการให้
รายละเอียดนอกเรื่อง หากผู้ถามต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเติม
เขาหรือเธอจะถามต่อ ในขณะเดียวกัน คุณได้แสดงให้เห็นว่า
คุณสามารถคิดอย่างรวดเร็ว และให้ข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว
 ตัวอย่างเช่น ถ้าถามคุณว่า "คุณเคยขายสินค้ามานานแค่ไหน?" คาตอบ
ของคุณควรสั้น คุณอาจตอบว่า "ประมาณแปดปี" อย่าไปลง
รายละเอียดเกี่ยวกับสถานที่ทั้งหมด ที่คุณเคยทางานในช่วงแปดปีที่
ผ่านมา เว้นแต่ผู้ถามจะขอให้คุณทาเช่นนั้น
1. ให้เตรียมคิดสถานการณ์เผื่อไว้ล่วงหน้า
 ให้ใช้เวลาเมื่อไม่ได้อยู่ภายใต้ความกดดัน โดยพิจารณา
สถานการณ์ที่เรียกร้องให้มีการคิดอย่างรวดเร็ว และวางแผน
ล่วงหน้าว่า คุณจะตอบคาถามเหล่านี้ ได้อย่างไร
 ตัวอย่างเช่น คุณครูอาจถามคาถามเกี่ยวกับสิ่งที่คุณอ่านในชั้นเรียน
เช่น "ชื่อตัวละครหลักคืออะไร" หรือ "คุณคิดอะไรเกี่ยวกับหนังสือเล่ม
นี้ ?" พิจารณาคาถามที่ครูอาจถาม และพยายามเตรียมคาตอบของคุณ
ล่วงหน้า เพื่อที่คุณจะได้ไม่ต้องหยุดคิดเป็นเวลานาน
2. ฝึกพูดและเขียนอย่างชัดเจน
 การสื่อสารที่ชัดเจน จะช่วยให้คุณให้ข้อมูลกับคนอื่นได้อย่าง
รวดเร็ว และหลีกเลี่ยงการตีความผิด
 ฝึกขจัดเสียงที่ไม่ต้องการเช่น "เอ้อ" และ "อ้า" มากเกินไป
 ใช้สิ่งที่ไม่ใช่คาพูดเช่น การมองตา และการหยุดนิ่งชั่วคราว
 ใช้ไวยากรณ์ที่เหมาะสม
 ประมาณการสถานการณ์ และกาหนดวิธีการตอบสนองอย่างเหมาะสม
3. ตรวจสอบให้แน่ใจว่าคุณรู้เรื่องเป็นอย่างดี
 ตระหนักถึงรายละเอียดของโครงการและข้อมูลเบื้องลึก เพื่อที่
คุณจะได้รับความสนใจ ให้หาประสบการณ์ในสาขาเฉพาะของ
คุณ แล้วคุณจะมีรากฐานในการหาข้อสรุปได้อย่างรวดเร็ว
 ตัวอย่างเช่น ถ้าคุณเป็นพยาบาลที่ต้องทางานร่วมกับผู้ป่ วยโรคจิต การ
เรียนรู้ให้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้ เกี่ยวกับการแทรกแซงการพยาบาล
ทางจิตเวช อาจช่วยให้คุณสามารถตอบสนองได้อย่างรวดเร็ว ใน
สถานการณ์ที่แตกต่างกัน
4. ปิดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และสิ่งรบกวนอื่น ๆ
 หากคุณรู้ว่าสถานการณ์เรียกร้องให้มีการคิดอย่างรวดเร็ว ให้ลด
การรบกวนที่อาจดึงดูดความสนใจจากงานที่ทาอยู่
 ขจัดเสียงรบกวนภายนอกเช่น วิทยุ โทรทัศน์ หรือเพลงที่เล่นผ่านหูฟัง
 ปิดโซเชียลมีเดีย และแท็บพิเศษในเบราว์เซอร์อินเทอร์เน็ตขณะทางาน
5. ลดการทางานหลายอย่างในเวลาเดียวกัน
 มุ่งเน้นไปที่งานอย่างเดียวในแต่ละครั้ง จะช่วยให้คุณมุ่งเน้นและ
ช่วยให้คุณสามารถตอบสนองได้เร็วขึ้น เมื่อต้องเผชิญกับคาถาม
หรือปัญหา พยายามจดจ่ออยู่กับงานเพียงครั้งละหนึ่งเดียว แม้ว่า
คุณจะไม่ว่างก็ตาม
 ตัวอย่างเช่น ถ้าคุณมีคิวลูกค้ายืนคอยรับบริการและโทรศัพท์ดังขึ้ น ให้
เลือกสิ่งหนึ่ง เช่นคุณอาจต้องมุ่งเน้นลูกค้าที่อยู่ข้างหน้าของคุณก่อน
และให้คนอื่นรับโทรศัพท์แทน หรือปล่อยให้เป็นการตอบรับข้อความ
เสียงอัตโนมัติ หรือถ้าคุณมีงานให้ทาหลายอย่าง ให้เลือกงานหนึ่งเดียว
ที่จะทาให้เสร็จสมบูรณ์ แล้วจึงทางานถัดไป
1. ปลูกฝังความคิดในการเติบโต
 การศึกษาแสดงให้เห็นว่า การเรียนรู้จากความผิดพลาด ช่วย
ปรับปรุงกระบวนการทางจิตใจของคุณ ทาให้คุณคิดได้อย่าง
รวดเร็วและดีกว่าเดิม
 ใช้เวลาในการตรวจสอบความสาเร็จของคุณ แต่ที่สาคัญกว่านั้น
คือตรวจสอบความล้มเหลวของคุณ การเรียนรู้ข้อผิดพลาด เป็น
ขั้นตอนที่จาเป็นในการเพิ่มพูนความรู้
2. ทากิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดอย่างรวดเร็ว
 สมองของคุณเป็นกล้ามเนื้ อที่ตอบสนองต่อการฝึก การเข้าร่วมใน
กิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดอย่างรวดเร็ว สามารถปรับปรุงอารมณ์
ของคุณ คุณจะรู้สึกมีความสุขและสร้างสรรค์มากขึ้น ในเวลาเดียวกัน
คุณจะได้ฝึกฝนทักษะการคิดที่รวดเร็ว
 อ่านบทความหรือบทหนังสือเร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ จากนั้นให้เวลาตัวเอง
20 วินาที สรุปอย่างรวดเร็ว
 อ่านตัวอักษรและท่องคา ให้ทาสิ่งนี้ ให้เร็วที่สุดเท่าที่คุณจะทาได้
 เล่นเกมที่ต้องจับเวลา
 ลองแบบทดสอบออนไลน์ หรือแอปที่มีกิจกรรมฝึกสมอง
 นึกถึงรายการสิ่งที่คุณได้ทาหรือเห็นเมื่อเร็ว ๆ นี้ เช่นรถยนต์ หนังสือ
ภาพยนตร์ ฯลฯ
 เล่นเกมปฏิภาณโวหารกับเพื่อน หรือเพื่อนร่วมงาน
3. ใช้ประสาทสัมผัสของคุณทั้งหมด
 ประสาทสัมผัส ทาให้สมองของคุณเรียกคืนข้อมูลที่คุณต้องการกู้
คืนได้เร็วขึ้น ให้เชื่อมโยงสี กลิ่น หรือความรู้สึกทางกายภาพ กับ
คาหรือความคิด
 ตัวอย่างเช่น ในขณะที่อ่านบทความในหนังสือพิมพ์ คุณอาจจาข้อมูลได้
ดีขึ้ น ถ้าคุณใส่ใจกับรายละเอียดทางประสาทสัมผัสเช่น วิธีที่ผู้เขียน
อธิบายลักษณะ หรือการกระทาของใครบางคน
4. จัดลาดับความสาคัญงานให้สมองของคุณ
 ใช้ปฏิทินเพื่อติดตามเหตุการณ์ ที่ต้องการใช้อ้างอิงในภายหน้า
เพื่อไม่ต้องใช้พื้นที่สมองที่มีค่า สาหรับการบันทึกข้อมูลไว้
 ตัวอย่างเช่น คุณสามารถจดบันทึกนัดหมายที่คุณมี วันที่ครบกาหนด
ของบิล หรือรายการสิ่งที่ต้องทา
5. ทาซ้า ๆ กับข้อมูลที่คุณต้องการทราบ
 การท่องข้อมูลออกมาดัง ๆ หรือการเขียนลงไป จะเป็นการ
เสริมสร้างเส้นทางประสาทที่ก่อให้เกิดความทรงจา พยายามอ่าน
ข้อมูลที่สาคัญซ้า ๆ เพื่อให้สามารถเรียกคืนข้อมูลได้ง่ายขึ้น
 ตัวอย่างเช่น คุณอาจต้องการจาวันที่ของการนาเสนองานที่สาคัญ หรือ
ท่องชื่อเพื่อนร่วมชั้นคนใหม่ของคุณ
1. ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ
 การวิจัยแสดงให้เห็นว่า การออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ เพิ่ม
จานวนหลอดเลือดเล็ก ๆ ที่นาออกซิเจนไปยังสมองของคุณ การ
ออกกาลังกายยังช่วยลดความดันโลหิต และช่วยในการจัดการ
กับความเครียด
 เมื่อต้องเผชิญกับสถานการณ์ที่เครียด ให้เดินเล่น หรือออกกาลังกาย
การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทางกายภาพของคุณ จะช่วยให้สมอง
ของคุณสดชื่น และกระตุ้นให้เกิดการคิดที่เร็วขึ้ น
2. กินอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
 สมองของคุณต้องการพลังงานจานวนมากในการทางานอย่าง
ถูกต้อง ดังนั้นจึงเป็นเรื่องสาคัญ ที่ต้องกินอาหารที่จะกระตุ้นให้
เกิดความคิด อาหารบางชนิดดีสาหรับสมองของคุณ ในขณะที่
อาหารอื่น ๆ อาจนาไปสู่การคิดไม่ออก
 บริโภคอาหารเช่นธัญพืช ปลาแซลมอน เมล็ดแฟลกซ์ บลูเบอร์รี่ ขมิ้ น
และผักใบเขียว เพื่อช่วยให้สมองแข็งแรง
 ลดการบริโภคไขมันอิ่มตัว และคอเลสเตอรอลที่ไม่ดีจากสัตว์ หรือ
น้ามันพืชที่ผ่านกรรมวิธี
3. รักษาสุขภาพทางอารมณ์ให้ดี
 คนที่มีความกระวนกระวายหรือหดหู่ มีแนวโน้มที่จะได้คะแนน
ต่ากว่า ในการทดสอบความรู้ความเข้าใจ
 ให้พูดคุยกับเพื่อนเพื่อหาคาปรึกษา หรือปรึกษาแพทย์ หากคุณ
เชื่อว่า คุณกาลังทุกข์ทรมานจากความวิตกกังวล หรือภาวะ
ซึมเศร้ามากเกินไป
4. นอนหลับให้เพียงพอ
 การอดนอนและอ่อนเพลีย มีแนวโน้มที่จะทาให้ผลลัพธ์ในการ
ทดสอบความรู้ความเข้าใจต่าลง
 ผู้ใหญ่ต้องการเวลานอนหลับ 7 ถึง 9 ชั่วโมง เพื่อรักษาสุขภาพ
 สมองของคุณจะไม่กระฉับกระเฉง ถ้ารู้สึกเหนื่อย
เคล็ดลับ
 การอ่านหนังสือ ช่วยให้เกิดจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์มากขึ้น
 หากคุณมีสมาร์ทโฟน มีแอปพลิเคชันที่ออกแบบมาเพื่อฝึกการทางาน
สมองของคุณโดยเฉพาะ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ได้แก่ Lumosity, Brain
Age Game, Clockwork Brain, Memory Trainer ฯลฯ
 ดื่มด่ากับสิ่งที่คุณสนใจหรือมีความหมายกับคุณ จะช่วยให้คุณจาได้ดี
ยิ่งขึ้น การเข้าชั้นเรียนใหม่ เป็นการเริ่มต้นที่ดี
 หลีกเลี่ยงการทางานหนักเกินไป หรือทาให้สมองเครียด คุณควรหยุด
พักบ้าง
 คุณอาจหรือไม่อาจรู้สึกถึงการเปลี่ยนแปลงในทันที เพราะการเรียนรู้
เป็นกระบวนการที่ต้องใช้เวลา
คาถามที่ 1. ความเข้าใจ (comprehension) หมายถึงอะไร?
 ตามพจนานุกรม Merriam-Webster ความเข้าใจ หมายถึง
ความสามารถในการรับข้อมูล จากนั้นนาความรู้นั้นไปใช้ในการ
ทางาน ความเข้าใจจะช่วยให้คุณคิดได้อย่างรวดเร็ว
 ตัวอย่างเช่น ถ้าคุณเรียนรู้แนวความคิดเมื่ออ่านหนังสือหรือ
ขณะที่กาลังเรียนอยู่ ความเข้าใจของคุณจะสูงกว่าการจดจา
 ความเข้าใจของคุณยิ่งสูงเท่าไหร่ คุณก็สามารถคิดได้เร็ว และ
ตอบสนองต่อสถานการณ์ ด้วยความฉับไวมากขึ้น
คาถามที่ 2. จะทาอย่างไรถ้าฉันได้พยายามแล้ว แต่ฉันมักจะเครียด
เกินไปที่จะทาให้มันได้ผล?
 คุณอาจต้องการลองทากิจกรรมลดความเครียด เช่นการทาสมาธิ
โยคะ การเขียนเกี่ยวกับความรู้สึกของคุณ หรือการทาบางสิ่งที่
คุณชอบ เช่นงานอดิเรก
คาถามที่ 3. ออกซิเจนจะช่วยให้สมองผ่อนคลายได้อย่างไร?
 สมองของคุณต้องการออกซิเจนเพื่อการทางานได้ ซึ่งเป็นเหตุผล
แรกที่เราต้องหายใจ
 ในโลกปัจจุบันอากาศไม่บริสุทธิ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ที่มี
อุตสาหกรรมหนัก ดังนั้น การเพิ่มออกซิเจนจึงเป็นสิ่งที่ดีต่อ
สมอง
คาถามที่ 4. จะมีวิธีตอบคาถามหรือแสดงความคิดเห็นอย่างชาญ
ฉลาดได้อย่างไร?
 คิดก่อนตอบ
 พูดอะไรง่ายๆ เป็นคานาเช่น "ฉันเข้าใจว่าสิ่งที่คุณกาลังพูด ... "
เพื่อให้ตัวคุณเองมีเวลาสักสองสามวินาทีที่จะคิด เพื่อให้แน่ใจว่า
การตอบสนองของคุณมีโครงสร้างที่ดี มีเหตุผล และเป็นไปอย่าง
ราบรื่น
Dale Carnegie

Contenu connexe

Similaire à How to think fast คิดให้เร็ว

บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
bussaba_pupa
 
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านายDo you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
maruay songtanin
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษา
an1030
 
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4  สื่อการเรียนรู้Chapter4  สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Prakaidao Suebwong
 
เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11
Benjarat Meechalat
 
บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑
Tuk Diving
 

Similaire à How to think fast คิดให้เร็ว (20)

Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
 
Thinking about work
Thinking about workThinking about work
Thinking about work
 
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จการพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
 
สาเหตุของปัญหาความเครียด
สาเหตุของปัญหาความเครียดสาเหตุของปัญหาความเครียด
สาเหตุของปัญหาความเครียด
 
เทคนิคการดูแลสมอง
เทคนิคการดูแลสมองเทคนิคการดูแลสมอง
เทคนิคการดูแลสมอง
 
Chapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinkingChapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinking
 
01 dreams list
01 dreams list01 dreams list
01 dreams list
 
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านายDo you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
 
01 power point คิดดี ทำดี
01 power point คิดดี ทำดี01 power point คิดดี ทำดี
01 power point คิดดี ทำดี
 
คู่มือดับทุกข์
คู่มือดับทุกข์คู่มือดับทุกข์
คู่มือดับทุกข์
 
I am an OD Consultant: An A-Z Guideline for Professional Development
I am an OD Consultant: An A-Z Guideline for Professional DevelopmentI am an OD Consultant: An A-Z Guideline for Professional Development
I am an OD Consultant: An A-Z Guideline for Professional Development
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษา
 
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4  สื่อการเรียนรู้Chapter4  สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
 
เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11
 
Appreciative Inquiry Research A-Z
Appreciative Inquiry Research A-ZAppreciative Inquiry Research A-Z
Appreciative Inquiry Research A-Z
 
Design Thinking 5 phases.pptx
Design Thinking 5 phases.pptxDesign Thinking 5 phases.pptx
Design Thinking 5 phases.pptx
 
บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑
 

Plus de maruay songtanin

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
maruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
maruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
maruay songtanin
 

Plus de maruay songtanin (20)

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 

How to think fast คิดให้เร็ว

  • 1. พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com 10 ธันวาคม 2561
  • 2. เกริ่นนา  คุณเคยอยู่ในสถานการณ์ที่คุณจาเป็นต้องคิดอย่างรวดเร็ว แต่คิด ไม่ออกหรือไม่?  บางครั้ง คุณอาจต้องการคิดได้เร็ว เพื่อการติดต่อสื่อสารใน ชีวิตประจาวัน  การเรียนรู้วิธีการคิดอย่างรวดเร็ว สามารถสร้างผลบวกสาหรับ อาชีพ การศึกษา หรือชีวิตส่วนตัวของคุณ บทความนี้ นามาจาก https://www.wikihow.com/Think-Fast
  • 3.
  • 4.
  • 5. 1. ทาจิตใจของคุณให้ปล่อยวาง  เป็นการง่ายที่จะพูดมากกว่าทา เมื่อคุณต้องการให้คาตอบอย่าง รวดเร็วในทันที ให้สงบจิตใจตัวเองโดยใช้เทคนิคการผ่อนคลายเช่น:  หายใจเข้าลึก ๆ คุณจะชะลออัตราการเต้นของหัวใจ และส่งออกซิเจนไปยัง สมองมากขึ้น  มองบวกกับตัวคุณเองซ้า ๆ เช่น "ฉันตอบได้" และหากคุณต้องเผชิญกับ สถานการณ์ที่ต้องใช้การคิดอย่างรวดเร็วบ่อย ๆ คุณอาจมีวลีส่วนตัวที่ เฉพาะเจาะจงที่คิดไว้ล่วงหน้า  เกร็งกล้ามเนื้ อของคุณสักครู่แล้วปล่อย จะช่วยคุณมีสมาธิ ให้เลือกกล้ามเนื้ อ ที่ผู้คนไม่สามารถมองเห็นได้ เช่นกล้ามต้นแขนหรือกล้ามเนื้ อต้นขา (คุณไม่ ต้องการแสดงความเครียดให้คนเห็น)
  • 6.
  • 7. 2. ฟังคาถามอย่างรอบคอบ  ตรวจสอบให้แน่ใจว่า คุณตีความคาถามได้ถูกต้อง โดยมองตรงไปที่ เขาหรือเธอและใส่ใจกับคาถาม ลดการรบกวนทั้งหมดเช่น วาง โทรศัพท์มือถือ ปิดทีวี และปิดแล็ปท็อป  นอกจากนี้ คุณยังสามารถศึกษาภาษากายของผู้ถาม ให้เน้นไปที่ ดวงตา การแสดงออกทางสีหน้า และตาแหน่งของร่างกาย  ตัวอย่างเช่น ถ้าบุคคลนั้นตามองตรงที่คุณ มีรอยยิ้ม และหันหน้าเข้า หาคุณ นี่เป็นข้อบ่งชี้ที่ดี ที่เขาหรือเธอสนใจในสิ่งที่คุณต้องการพูด  อย่างไรก็ตาม โปรดจาไว้ว่า การแสดงออกทางสีหน้า อาจทาให้เข้าใจ ผิดได้ เพราะบางคนสามารถปกปิดความรู้สึกได้ ด้วยการแสดงออก ทางสีหน้าของพวกเขา
  • 8.
  • 9. 3. ถามคาถามซ้า  ถ้าคุณไม่เข้าใจคาถาม ให้ถามคาถามซ้าอีก เพื่อให้แน่ใจว่าคุณ เข้าใจสิ่งที่ถาม และจะทาให้คุณมีเวลามากขึ้นในการคิดด้วย เช่นกัน  ตัวอย่างเช่น "คุณช่วยทวนคาถามซ้าอีกครั้งได้หรือไม่?"
  • 10.
  • 11. 4. ทวนซ้าคาถามด้วยตัวเอง  นอกจากนี้ คุณสามารถถามคาถามซ้ากับตัวเอง เพื่อให้ง่ายต่อ การเข้าใจ การพูดออกมาดัง ๆ กับตัวเอง อาจช่วยให้คุณเข้าใจ ได้ดียิ่งขึ้น และยังช่วยให้คุณมีเวลามากขึ้นในการหาคาตอบ  อย่ากลัวที่จะถามให้ชี้ แจงเพิ่มเติม หากคาถามไม่ชัดเจนหรือใช้ศัพท์ แสงที่ไม่คุ้นเคย คาชี้ แจงที่เรียบง่าย อาจช่วยให้คุณตอบคาถามได้อย่าง รวดเร็วและมีเหตุผล ให้พูดว่า "คุณช่วยอธิบายเพิ่มว่าหมายถึงอะไร? " หรือ "ฉันไม่ค่อยเข้าใจคาถาม คุณช่วยถามใหม่ได้หรือไม่?"
  • 12.
  • 13. 5. ตอบตรงจุด  มุ่งเน้นไปที่จุดเดียวและมีข้อมูลที่สนับสนุน จะช่วยกาหนด เป้ าหมายการเริ่มต้นตอบกลับของคุณ หลีกเลี่ยงการให้ รายละเอียดนอกเรื่อง หากผู้ถามต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเติม เขาหรือเธอจะถามต่อ ในขณะเดียวกัน คุณได้แสดงให้เห็นว่า คุณสามารถคิดอย่างรวดเร็ว และให้ข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว  ตัวอย่างเช่น ถ้าถามคุณว่า "คุณเคยขายสินค้ามานานแค่ไหน?" คาตอบ ของคุณควรสั้น คุณอาจตอบว่า "ประมาณแปดปี" อย่าไปลง รายละเอียดเกี่ยวกับสถานที่ทั้งหมด ที่คุณเคยทางานในช่วงแปดปีที่ ผ่านมา เว้นแต่ผู้ถามจะขอให้คุณทาเช่นนั้น
  • 14.
  • 15.
  • 16. 1. ให้เตรียมคิดสถานการณ์เผื่อไว้ล่วงหน้า  ให้ใช้เวลาเมื่อไม่ได้อยู่ภายใต้ความกดดัน โดยพิจารณา สถานการณ์ที่เรียกร้องให้มีการคิดอย่างรวดเร็ว และวางแผน ล่วงหน้าว่า คุณจะตอบคาถามเหล่านี้ ได้อย่างไร  ตัวอย่างเช่น คุณครูอาจถามคาถามเกี่ยวกับสิ่งที่คุณอ่านในชั้นเรียน เช่น "ชื่อตัวละครหลักคืออะไร" หรือ "คุณคิดอะไรเกี่ยวกับหนังสือเล่ม นี้ ?" พิจารณาคาถามที่ครูอาจถาม และพยายามเตรียมคาตอบของคุณ ล่วงหน้า เพื่อที่คุณจะได้ไม่ต้องหยุดคิดเป็นเวลานาน
  • 17.
  • 18. 2. ฝึกพูดและเขียนอย่างชัดเจน  การสื่อสารที่ชัดเจน จะช่วยให้คุณให้ข้อมูลกับคนอื่นได้อย่าง รวดเร็ว และหลีกเลี่ยงการตีความผิด  ฝึกขจัดเสียงที่ไม่ต้องการเช่น "เอ้อ" และ "อ้า" มากเกินไป  ใช้สิ่งที่ไม่ใช่คาพูดเช่น การมองตา และการหยุดนิ่งชั่วคราว  ใช้ไวยากรณ์ที่เหมาะสม  ประมาณการสถานการณ์ และกาหนดวิธีการตอบสนองอย่างเหมาะสม
  • 19.
  • 20. 3. ตรวจสอบให้แน่ใจว่าคุณรู้เรื่องเป็นอย่างดี  ตระหนักถึงรายละเอียดของโครงการและข้อมูลเบื้องลึก เพื่อที่ คุณจะได้รับความสนใจ ให้หาประสบการณ์ในสาขาเฉพาะของ คุณ แล้วคุณจะมีรากฐานในการหาข้อสรุปได้อย่างรวดเร็ว  ตัวอย่างเช่น ถ้าคุณเป็นพยาบาลที่ต้องทางานร่วมกับผู้ป่ วยโรคจิต การ เรียนรู้ให้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้ เกี่ยวกับการแทรกแซงการพยาบาล ทางจิตเวช อาจช่วยให้คุณสามารถตอบสนองได้อย่างรวดเร็ว ใน สถานการณ์ที่แตกต่างกัน
  • 21.
  • 22. 4. ปิดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และสิ่งรบกวนอื่น ๆ  หากคุณรู้ว่าสถานการณ์เรียกร้องให้มีการคิดอย่างรวดเร็ว ให้ลด การรบกวนที่อาจดึงดูดความสนใจจากงานที่ทาอยู่  ขจัดเสียงรบกวนภายนอกเช่น วิทยุ โทรทัศน์ หรือเพลงที่เล่นผ่านหูฟัง  ปิดโซเชียลมีเดีย และแท็บพิเศษในเบราว์เซอร์อินเทอร์เน็ตขณะทางาน
  • 23.
  • 24. 5. ลดการทางานหลายอย่างในเวลาเดียวกัน  มุ่งเน้นไปที่งานอย่างเดียวในแต่ละครั้ง จะช่วยให้คุณมุ่งเน้นและ ช่วยให้คุณสามารถตอบสนองได้เร็วขึ้น เมื่อต้องเผชิญกับคาถาม หรือปัญหา พยายามจดจ่ออยู่กับงานเพียงครั้งละหนึ่งเดียว แม้ว่า คุณจะไม่ว่างก็ตาม  ตัวอย่างเช่น ถ้าคุณมีคิวลูกค้ายืนคอยรับบริการและโทรศัพท์ดังขึ้ น ให้ เลือกสิ่งหนึ่ง เช่นคุณอาจต้องมุ่งเน้นลูกค้าที่อยู่ข้างหน้าของคุณก่อน และให้คนอื่นรับโทรศัพท์แทน หรือปล่อยให้เป็นการตอบรับข้อความ เสียงอัตโนมัติ หรือถ้าคุณมีงานให้ทาหลายอย่าง ให้เลือกงานหนึ่งเดียว ที่จะทาให้เสร็จสมบูรณ์ แล้วจึงทางานถัดไป
  • 25.
  • 26.
  • 27. 1. ปลูกฝังความคิดในการเติบโต  การศึกษาแสดงให้เห็นว่า การเรียนรู้จากความผิดพลาด ช่วย ปรับปรุงกระบวนการทางจิตใจของคุณ ทาให้คุณคิดได้อย่าง รวดเร็วและดีกว่าเดิม  ใช้เวลาในการตรวจสอบความสาเร็จของคุณ แต่ที่สาคัญกว่านั้น คือตรวจสอบความล้มเหลวของคุณ การเรียนรู้ข้อผิดพลาด เป็น ขั้นตอนที่จาเป็นในการเพิ่มพูนความรู้
  • 28.
  • 29. 2. ทากิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดอย่างรวดเร็ว  สมองของคุณเป็นกล้ามเนื้ อที่ตอบสนองต่อการฝึก การเข้าร่วมใน กิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดอย่างรวดเร็ว สามารถปรับปรุงอารมณ์ ของคุณ คุณจะรู้สึกมีความสุขและสร้างสรรค์มากขึ้น ในเวลาเดียวกัน คุณจะได้ฝึกฝนทักษะการคิดที่รวดเร็ว  อ่านบทความหรือบทหนังสือเร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ จากนั้นให้เวลาตัวเอง 20 วินาที สรุปอย่างรวดเร็ว  อ่านตัวอักษรและท่องคา ให้ทาสิ่งนี้ ให้เร็วที่สุดเท่าที่คุณจะทาได้  เล่นเกมที่ต้องจับเวลา  ลองแบบทดสอบออนไลน์ หรือแอปที่มีกิจกรรมฝึกสมอง  นึกถึงรายการสิ่งที่คุณได้ทาหรือเห็นเมื่อเร็ว ๆ นี้ เช่นรถยนต์ หนังสือ ภาพยนตร์ ฯลฯ  เล่นเกมปฏิภาณโวหารกับเพื่อน หรือเพื่อนร่วมงาน
  • 30.
  • 31. 3. ใช้ประสาทสัมผัสของคุณทั้งหมด  ประสาทสัมผัส ทาให้สมองของคุณเรียกคืนข้อมูลที่คุณต้องการกู้ คืนได้เร็วขึ้น ให้เชื่อมโยงสี กลิ่น หรือความรู้สึกทางกายภาพ กับ คาหรือความคิด  ตัวอย่างเช่น ในขณะที่อ่านบทความในหนังสือพิมพ์ คุณอาจจาข้อมูลได้ ดีขึ้ น ถ้าคุณใส่ใจกับรายละเอียดทางประสาทสัมผัสเช่น วิธีที่ผู้เขียน อธิบายลักษณะ หรือการกระทาของใครบางคน
  • 32.
  • 33. 4. จัดลาดับความสาคัญงานให้สมองของคุณ  ใช้ปฏิทินเพื่อติดตามเหตุการณ์ ที่ต้องการใช้อ้างอิงในภายหน้า เพื่อไม่ต้องใช้พื้นที่สมองที่มีค่า สาหรับการบันทึกข้อมูลไว้  ตัวอย่างเช่น คุณสามารถจดบันทึกนัดหมายที่คุณมี วันที่ครบกาหนด ของบิล หรือรายการสิ่งที่ต้องทา
  • 34.
  • 35. 5. ทาซ้า ๆ กับข้อมูลที่คุณต้องการทราบ  การท่องข้อมูลออกมาดัง ๆ หรือการเขียนลงไป จะเป็นการ เสริมสร้างเส้นทางประสาทที่ก่อให้เกิดความทรงจา พยายามอ่าน ข้อมูลที่สาคัญซ้า ๆ เพื่อให้สามารถเรียกคืนข้อมูลได้ง่ายขึ้น  ตัวอย่างเช่น คุณอาจต้องการจาวันที่ของการนาเสนองานที่สาคัญ หรือ ท่องชื่อเพื่อนร่วมชั้นคนใหม่ของคุณ
  • 36.
  • 37.
  • 38. 1. ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ  การวิจัยแสดงให้เห็นว่า การออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ เพิ่ม จานวนหลอดเลือดเล็ก ๆ ที่นาออกซิเจนไปยังสมองของคุณ การ ออกกาลังกายยังช่วยลดความดันโลหิต และช่วยในการจัดการ กับความเครียด  เมื่อต้องเผชิญกับสถานการณ์ที่เครียด ให้เดินเล่น หรือออกกาลังกาย การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทางกายภาพของคุณ จะช่วยให้สมอง ของคุณสดชื่น และกระตุ้นให้เกิดการคิดที่เร็วขึ้ น
  • 39.
  • 40. 2. กินอาหารที่ดีต่อสุขภาพ  สมองของคุณต้องการพลังงานจานวนมากในการทางานอย่าง ถูกต้อง ดังนั้นจึงเป็นเรื่องสาคัญ ที่ต้องกินอาหารที่จะกระตุ้นให้ เกิดความคิด อาหารบางชนิดดีสาหรับสมองของคุณ ในขณะที่ อาหารอื่น ๆ อาจนาไปสู่การคิดไม่ออก  บริโภคอาหารเช่นธัญพืช ปลาแซลมอน เมล็ดแฟลกซ์ บลูเบอร์รี่ ขมิ้ น และผักใบเขียว เพื่อช่วยให้สมองแข็งแรง  ลดการบริโภคไขมันอิ่มตัว และคอเลสเตอรอลที่ไม่ดีจากสัตว์ หรือ น้ามันพืชที่ผ่านกรรมวิธี
  • 41.
  • 42. 3. รักษาสุขภาพทางอารมณ์ให้ดี  คนที่มีความกระวนกระวายหรือหดหู่ มีแนวโน้มที่จะได้คะแนน ต่ากว่า ในการทดสอบความรู้ความเข้าใจ  ให้พูดคุยกับเพื่อนเพื่อหาคาปรึกษา หรือปรึกษาแพทย์ หากคุณ เชื่อว่า คุณกาลังทุกข์ทรมานจากความวิตกกังวล หรือภาวะ ซึมเศร้ามากเกินไป
  • 43.
  • 44. 4. นอนหลับให้เพียงพอ  การอดนอนและอ่อนเพลีย มีแนวโน้มที่จะทาให้ผลลัพธ์ในการ ทดสอบความรู้ความเข้าใจต่าลง  ผู้ใหญ่ต้องการเวลานอนหลับ 7 ถึง 9 ชั่วโมง เพื่อรักษาสุขภาพ  สมองของคุณจะไม่กระฉับกระเฉง ถ้ารู้สึกเหนื่อย
  • 45. เคล็ดลับ  การอ่านหนังสือ ช่วยให้เกิดจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์มากขึ้น  หากคุณมีสมาร์ทโฟน มีแอปพลิเคชันที่ออกแบบมาเพื่อฝึกการทางาน สมองของคุณโดยเฉพาะ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ได้แก่ Lumosity, Brain Age Game, Clockwork Brain, Memory Trainer ฯลฯ  ดื่มด่ากับสิ่งที่คุณสนใจหรือมีความหมายกับคุณ จะช่วยให้คุณจาได้ดี ยิ่งขึ้น การเข้าชั้นเรียนใหม่ เป็นการเริ่มต้นที่ดี  หลีกเลี่ยงการทางานหนักเกินไป หรือทาให้สมองเครียด คุณควรหยุด พักบ้าง  คุณอาจหรือไม่อาจรู้สึกถึงการเปลี่ยนแปลงในทันที เพราะการเรียนรู้ เป็นกระบวนการที่ต้องใช้เวลา
  • 46.
  • 47. คาถามที่ 1. ความเข้าใจ (comprehension) หมายถึงอะไร?  ตามพจนานุกรม Merriam-Webster ความเข้าใจ หมายถึง ความสามารถในการรับข้อมูล จากนั้นนาความรู้นั้นไปใช้ในการ ทางาน ความเข้าใจจะช่วยให้คุณคิดได้อย่างรวดเร็ว  ตัวอย่างเช่น ถ้าคุณเรียนรู้แนวความคิดเมื่ออ่านหนังสือหรือ ขณะที่กาลังเรียนอยู่ ความเข้าใจของคุณจะสูงกว่าการจดจา  ความเข้าใจของคุณยิ่งสูงเท่าไหร่ คุณก็สามารถคิดได้เร็ว และ ตอบสนองต่อสถานการณ์ ด้วยความฉับไวมากขึ้น
  • 48. คาถามที่ 2. จะทาอย่างไรถ้าฉันได้พยายามแล้ว แต่ฉันมักจะเครียด เกินไปที่จะทาให้มันได้ผล?  คุณอาจต้องการลองทากิจกรรมลดความเครียด เช่นการทาสมาธิ โยคะ การเขียนเกี่ยวกับความรู้สึกของคุณ หรือการทาบางสิ่งที่ คุณชอบ เช่นงานอดิเรก
  • 49. คาถามที่ 3. ออกซิเจนจะช่วยให้สมองผ่อนคลายได้อย่างไร?  สมองของคุณต้องการออกซิเจนเพื่อการทางานได้ ซึ่งเป็นเหตุผล แรกที่เราต้องหายใจ  ในโลกปัจจุบันอากาศไม่บริสุทธิ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ที่มี อุตสาหกรรมหนัก ดังนั้น การเพิ่มออกซิเจนจึงเป็นสิ่งที่ดีต่อ สมอง
  • 50. คาถามที่ 4. จะมีวิธีตอบคาถามหรือแสดงความคิดเห็นอย่างชาญ ฉลาดได้อย่างไร?  คิดก่อนตอบ  พูดอะไรง่ายๆ เป็นคานาเช่น "ฉันเข้าใจว่าสิ่งที่คุณกาลังพูด ... " เพื่อให้ตัวคุณเองมีเวลาสักสองสามวินาทีที่จะคิด เพื่อให้แน่ใจว่า การตอบสนองของคุณมีโครงสร้างที่ดี มีเหตุผล และเป็นไปอย่าง ราบรื่น