SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
maruays@hotmail.com
27 กรกฎาคม 2565
By: Harry Hertz (The Baldrige Cheermudgeon)
เกริ่นนา
 ตั้งแต่ช่วงทศวรรษ ค.ศ. 1950 การใช้ PDCA ได้รับการยอมรับว่า เป็นเครื่องมือสาคัญสาหรับการ
ปรับปรุง
 อย่างไรก็ตาม ผู้ประพันธ์ยืนยันว่า เครื่องมือนี้ ไม่สมบูรณ์สาหรับความท้าทายของผู้นา (และองค์กร)
ที่ต้องเผชิญในปี ค.ศ. 2022
 ตามที่ระบุไว้ในบล็อกล่าสุด เกี่ยวกับความท้าทายของ CEO สาหรับปี ค.ศ. 2022 นั้น CEO จะต้องให้
ความสาคัญกับองค์กรและสร้างองค์กรใหม่ในเวลาเดียวกัน ซึ่งเป็นหัวใจสาคัญของโอกาสและความ
ท้าทายที่ผู้นาระดับสูงต้องเผชิญ ในการมุ่งเน้นไปที่ประเด็นสาคัญสองสามด้านที่จะสร้างผลกระทบ
ในขณะเดียวกันก็คอยจับตาดูการคิดค้นสิ่งใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างและบรรลุผลในเชิงบวก
ต่อไป
 ด้วยความต้องการที่จะมุ่งเน้นไปที่ส่วนสาคัญสองสามอย่างและการสร้างใหม่ในอนาคต ผู้ประพันธ์
เสนอว่า "PDCA" ควรมีความซับซ้อนมากขึ้ น ข้อเสนอใหม่คือ ArSrPARr
 ASPAR คือ Analyze-Synthesize-Prioritize-Act-Review ซึ่ง r หมายถึง การไตร่ตรอง (reflect)
 วัฏจักรทั้งหมดจะสาเร็จด้วย ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีเวลาสาหรับการไตร่ตรอง
ASPAR and r
 การวิเคราะห์ (Analyze) คือการวิเคราะห์แผนในปัจจุบัน ลาดับความสาคัญ ความท้าทาย ข้อ
ได้เปรียบ และสภาพแวดล้อมภายนอกขององค์กร อย่าลืมพิจารณาความเสี่ยง สภาพแวดล้อมในการ
แข่งขันของอุตสาหกรรม และสิ่งที่เกิดขึ้ นในอุตสาหกรรมที่อยู่ชิดกัน
ASPAR and r (ต่อ)
 การสังเคราะห์ (Synthesize) คือการพัฒนาภาพที่เชื่อมโยงกัน ซึ่งอธิบายสถานการณ์หนึ่งหรือหลาย
สถานการณ์ จากการสังเคราะห์ข้อมูลที่ได้มาจากการวิเคราะห์ของคุณ
 การจัดลาดับความสาคัญ (Prioritize) คือจัดลาดับความสาคัญของการดาเนินการในระยะสั้นของคุณ
โดยพิจารณาจากข้อมูลที่สังเคราะห์ขึ้ นหรือสถานการณ์ที่น่าจะเป็ นไปได้มากที่สุด (หากมีความเป็นไป
ได้หลายประการ) และให้พัฒนาการจัดลาดับความสาคัญในระยะยาว ตามเส้นทางที่คุณเลือก
ASPAR and r (ต่อ)
 การลงมือทา (Act) ให้ทาอย่างมั่นใจ จัดสรรทรัพยากร (การเงิน ผู้คน สิ่งอานวยความสะดวก...)
กาหนดจุดวัดความสาเร็จระหว่างทาง และพัฒนาตัวชี้ วัด
 การทบทวน (Review) วัดความก้าวหน้า ตรวจสอบว่า คุณบรรลุจุดวัดความสาเร็จระหว่างทาง และ
เป้าหมายที่ตั้งไว้หรือไม่
ASPAR and r (ต่อ)
 การไตร่ตรอง (reflect) เมื่อถึงแต่ละจุดให้ "ไตร่ตรอง" โดยพิจารณาว่า คุณกาลังสรุปผลอย่างมี
เหตุผลและสามารถป้องกันความคิดนั้นได้หรือไม่ นอกจากนี้ ยังเป็ นเวลาที่จะดูว่ามี การเปลี่ยนแปลง
ที่ก่อกวนทางธุรกิจ (disruptive changes) ซึ่งจาเป็นต้องเปลี่ยนจากการมุ่งเน้น ไปสู่การคิดค้นใหม่
เพิ่มเติมหรือไม่ ตรวจสอบให้แน่ใจว่า คุณจัดตารางเวลาอย่างตั้งใจเพื่อทบทวนไตร่ตรองสิ่งเหล่านี้
เพราะการไตร่ตรองต้องใช้เวลาคิดอย่างทุ่มเท โดยให้พิจารณาไตร่ตรองเพียงผู้เดียว และกับสมาชิก
ในทีมหลักของคุณ
มุมมองการนาองค์กร ในเกณฑ์ Baldrige และการไตร่ตรอง
 Baldrige Excellence Framework® มีองค์ประกอบสาหรับการพิจารณาการไตร่ตรองของผู้นาคือ
ค่านิยมหลักของ Baldrige เรื่อง ผู้นาที่มีวิสัยทัศน์ (visionary leadership)
 ค่านิยมหลักระบุว่า ผู้นามีหน้าที่รับผิดชอบต่อความสาเร็จขององค์กรอย่างต่อเนื่อง ซึ่งรวมถึงการ
สร้างกลยุทธ์ การกระตุ้นนวัตกรรม การจัดการความเสี่ยง และมีความยืดหยุ่น
 ความรับผิดชอบทั้งหมดที่ฝังอยู่ในสิ่งเหล่านี้ คือ ความจาเป็ นในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ จัดลาดับ
ความสาคัญ ดาเนินการ ทบทวน และการไตร่ตรอง
 ในการแก้ไขเกณฑ์ที่กาลังจะมีขึ้ น อาจมีการกล่าวถึงความจาเป็ นในการไตร่ตรองเป็นการเฉพาะ
 ในหัวข้อ 1.1 ของเกณฑ์ Baldrige for Performance Excellence® ประเด็นสุดท้ายคือ การมุ่งเน้นที่การ
ดาเนินการ รวมถึงข้อกาหนดในการระบุการดาเนินการที่จาเป็ น การดาเนินการเหล่านั้น และแสดง
ให้เห็นถึงความรับผิดชอบส่วนบุคคลสาหรับการกระทาเหล่านั้น
 ในบันทึกย่อ ให้รายละเอียดข้อควรพิจารณาบางประการสาหรับการมุ่งเน้นที่การดาเนินการ และอาจ
ได้รับประโยชน์จากการกล่าวถึงความจาเป็นในการไตร่ตรองโดยเฉพาะ
 เกณฑ์ Baldrige มาพร้อมกับหลักเกณฑ์การให้คะแนน โดยมีช่วงที่สะท้อนถึงวุฒิภาวะขององค์กรใน
การตอบคาถามเกี่ยวกับเกณฑ์ ผู้ประพันธ์คิดว่า การไตร่ตรอง เป็นการแสดงถึงวุฒิภาวะ
 และผู้ประพันธ์เชื่อว่า การไตร่ตรองเป็นสิ่งจาเป็นในทุกระดับของวุฒิภาวะ แต่ผู้ประพันธ์ไม่เชื่อว่า
การไตร่ตรองจะอยู่ในหลักเกณฑ์การให้คะแนน
ข้อคิดสุดท้าย
 มีบทความมากมายเกี่ยวกับภาวะผู้นาและเวลาในการไตร่ตรอง ผู้ประพันธ์เชื่อว่า ASPAR ให้แนวทาง
เชิงตรรกะในการไตร่ตรองที่ดี เพราะในความเป็นระบบของ ArSrPARr คือกรอบในการมุ่งเน้น และ
การสร้างขึ้ นมาใหม่
- Benjamin Franklin

Contenu connexe

Tendances

Employee engagement ความผูกพันของบุคลากร
Employee engagement ความผูกพันของบุคลากรEmployee engagement ความผูกพันของบุคลากร
Employee engagement ความผูกพันของบุคลากร
maruay songtanin
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
Nithimar Or
 
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newบทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
Rungnapa Rungnapa
 
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่องการพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
Cuproperty
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
kand-2539
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pureตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
Nattakorn Sunkdon
 
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพChapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Ronnarit Junsiri
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
Kannika Kerdsiri
 

Tendances (20)

บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
 
OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)
 
Kaizen
KaizenKaizen
Kaizen
 
Process management
Process managementProcess management
Process management
 
Employee engagement ความผูกพันของบุคลากร
Employee engagement ความผูกพันของบุคลากรEmployee engagement ความผูกพันของบุคลากร
Employee engagement ความผูกพันของบุคลากร
 
Kaizen วัตถุดิบ
Kaizen   วัตถุดิบKaizen   วัตถุดิบ
Kaizen วัตถุดิบ
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
เถ้าแก่น้อยน้อย
เถ้าแก่น้อยน้อยเถ้าแก่น้อยน้อย
เถ้าแก่น้อยน้อย
 
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newบทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
 
Chapter 6 ideate
Chapter 6 ideateChapter 6 ideate
Chapter 6 ideate
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์
โครงงานสิ่งประดิษฐ์โครงงานสิ่งประดิษฐ์
โครงงานสิ่งประดิษฐ์
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่องการพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pureตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
 
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลบทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
 
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพChapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
 
Training plan new 4
Training plan new 4Training plan new 4
Training plan new 4
 
Power point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power  point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้Power  point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
 

Plus de maruay songtanin

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
maruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
maruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
maruay songtanin
 

Plus de maruay songtanin (20)

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 

Leaders & PDCA ผู้นำ และ PDCA.pptx

  • 2. By: Harry Hertz (The Baldrige Cheermudgeon)
  • 3. เกริ่นนา  ตั้งแต่ช่วงทศวรรษ ค.ศ. 1950 การใช้ PDCA ได้รับการยอมรับว่า เป็นเครื่องมือสาคัญสาหรับการ ปรับปรุง  อย่างไรก็ตาม ผู้ประพันธ์ยืนยันว่า เครื่องมือนี้ ไม่สมบูรณ์สาหรับความท้าทายของผู้นา (และองค์กร) ที่ต้องเผชิญในปี ค.ศ. 2022  ตามที่ระบุไว้ในบล็อกล่าสุด เกี่ยวกับความท้าทายของ CEO สาหรับปี ค.ศ. 2022 นั้น CEO จะต้องให้ ความสาคัญกับองค์กรและสร้างองค์กรใหม่ในเวลาเดียวกัน ซึ่งเป็นหัวใจสาคัญของโอกาสและความ ท้าทายที่ผู้นาระดับสูงต้องเผชิญ ในการมุ่งเน้นไปที่ประเด็นสาคัญสองสามด้านที่จะสร้างผลกระทบ ในขณะเดียวกันก็คอยจับตาดูการคิดค้นสิ่งใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างและบรรลุผลในเชิงบวก ต่อไป
  • 4.  ด้วยความต้องการที่จะมุ่งเน้นไปที่ส่วนสาคัญสองสามอย่างและการสร้างใหม่ในอนาคต ผู้ประพันธ์ เสนอว่า "PDCA" ควรมีความซับซ้อนมากขึ้ น ข้อเสนอใหม่คือ ArSrPARr  ASPAR คือ Analyze-Synthesize-Prioritize-Act-Review ซึ่ง r หมายถึง การไตร่ตรอง (reflect)  วัฏจักรทั้งหมดจะสาเร็จด้วย ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีเวลาสาหรับการไตร่ตรอง
  • 5. ASPAR and r  การวิเคราะห์ (Analyze) คือการวิเคราะห์แผนในปัจจุบัน ลาดับความสาคัญ ความท้าทาย ข้อ ได้เปรียบ และสภาพแวดล้อมภายนอกขององค์กร อย่าลืมพิจารณาความเสี่ยง สภาพแวดล้อมในการ แข่งขันของอุตสาหกรรม และสิ่งที่เกิดขึ้ นในอุตสาหกรรมที่อยู่ชิดกัน
  • 6. ASPAR and r (ต่อ)  การสังเคราะห์ (Synthesize) คือการพัฒนาภาพที่เชื่อมโยงกัน ซึ่งอธิบายสถานการณ์หนึ่งหรือหลาย สถานการณ์ จากการสังเคราะห์ข้อมูลที่ได้มาจากการวิเคราะห์ของคุณ  การจัดลาดับความสาคัญ (Prioritize) คือจัดลาดับความสาคัญของการดาเนินการในระยะสั้นของคุณ โดยพิจารณาจากข้อมูลที่สังเคราะห์ขึ้ นหรือสถานการณ์ที่น่าจะเป็ นไปได้มากที่สุด (หากมีความเป็นไป ได้หลายประการ) และให้พัฒนาการจัดลาดับความสาคัญในระยะยาว ตามเส้นทางที่คุณเลือก
  • 7. ASPAR and r (ต่อ)  การลงมือทา (Act) ให้ทาอย่างมั่นใจ จัดสรรทรัพยากร (การเงิน ผู้คน สิ่งอานวยความสะดวก...) กาหนดจุดวัดความสาเร็จระหว่างทาง และพัฒนาตัวชี้ วัด  การทบทวน (Review) วัดความก้าวหน้า ตรวจสอบว่า คุณบรรลุจุดวัดความสาเร็จระหว่างทาง และ เป้าหมายที่ตั้งไว้หรือไม่
  • 8. ASPAR and r (ต่อ)  การไตร่ตรอง (reflect) เมื่อถึงแต่ละจุดให้ "ไตร่ตรอง" โดยพิจารณาว่า คุณกาลังสรุปผลอย่างมี เหตุผลและสามารถป้องกันความคิดนั้นได้หรือไม่ นอกจากนี้ ยังเป็ นเวลาที่จะดูว่ามี การเปลี่ยนแปลง ที่ก่อกวนทางธุรกิจ (disruptive changes) ซึ่งจาเป็นต้องเปลี่ยนจากการมุ่งเน้น ไปสู่การคิดค้นใหม่ เพิ่มเติมหรือไม่ ตรวจสอบให้แน่ใจว่า คุณจัดตารางเวลาอย่างตั้งใจเพื่อทบทวนไตร่ตรองสิ่งเหล่านี้ เพราะการไตร่ตรองต้องใช้เวลาคิดอย่างทุ่มเท โดยให้พิจารณาไตร่ตรองเพียงผู้เดียว และกับสมาชิก ในทีมหลักของคุณ
  • 9. มุมมองการนาองค์กร ในเกณฑ์ Baldrige และการไตร่ตรอง  Baldrige Excellence Framework® มีองค์ประกอบสาหรับการพิจารณาการไตร่ตรองของผู้นาคือ ค่านิยมหลักของ Baldrige เรื่อง ผู้นาที่มีวิสัยทัศน์ (visionary leadership)  ค่านิยมหลักระบุว่า ผู้นามีหน้าที่รับผิดชอบต่อความสาเร็จขององค์กรอย่างต่อเนื่อง ซึ่งรวมถึงการ สร้างกลยุทธ์ การกระตุ้นนวัตกรรม การจัดการความเสี่ยง และมีความยืดหยุ่น  ความรับผิดชอบทั้งหมดที่ฝังอยู่ในสิ่งเหล่านี้ คือ ความจาเป็ นในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ จัดลาดับ ความสาคัญ ดาเนินการ ทบทวน และการไตร่ตรอง  ในการแก้ไขเกณฑ์ที่กาลังจะมีขึ้ น อาจมีการกล่าวถึงความจาเป็ นในการไตร่ตรองเป็นการเฉพาะ
  • 10.  ในหัวข้อ 1.1 ของเกณฑ์ Baldrige for Performance Excellence® ประเด็นสุดท้ายคือ การมุ่งเน้นที่การ ดาเนินการ รวมถึงข้อกาหนดในการระบุการดาเนินการที่จาเป็ น การดาเนินการเหล่านั้น และแสดง ให้เห็นถึงความรับผิดชอบส่วนบุคคลสาหรับการกระทาเหล่านั้น  ในบันทึกย่อ ให้รายละเอียดข้อควรพิจารณาบางประการสาหรับการมุ่งเน้นที่การดาเนินการ และอาจ ได้รับประโยชน์จากการกล่าวถึงความจาเป็นในการไตร่ตรองโดยเฉพาะ  เกณฑ์ Baldrige มาพร้อมกับหลักเกณฑ์การให้คะแนน โดยมีช่วงที่สะท้อนถึงวุฒิภาวะขององค์กรใน การตอบคาถามเกี่ยวกับเกณฑ์ ผู้ประพันธ์คิดว่า การไตร่ตรอง เป็นการแสดงถึงวุฒิภาวะ  และผู้ประพันธ์เชื่อว่า การไตร่ตรองเป็นสิ่งจาเป็นในทุกระดับของวุฒิภาวะ แต่ผู้ประพันธ์ไม่เชื่อว่า การไตร่ตรองจะอยู่ในหลักเกณฑ์การให้คะแนน
  • 11. ข้อคิดสุดท้าย  มีบทความมากมายเกี่ยวกับภาวะผู้นาและเวลาในการไตร่ตรอง ผู้ประพันธ์เชื่อว่า ASPAR ให้แนวทาง เชิงตรรกะในการไตร่ตรองที่ดี เพราะในความเป็นระบบของ ArSrPARr คือกรอบในการมุ่งเน้น และ การสร้างขึ้ นมาใหม่

Notes de l'éditeur

  1. Is PDCA the Right Tool for Leaders in 2022? July 26, 2022
  2. Since the 1950's, PDCA has been accepted as a premier tool for improvement. However, I contend that this tool is incomplete for the challenges leaders (and organizations) face in 2022. As stated in a recent blog posting on CEO challenges for 2022, CEOs must both provide organizational focus and reinvent the organization at the same time. It is central to the opportunity and challenge senior leaders face to focus on the vital few areas that will create impact, while simultaneously keeping an eye on constant reinvention to continue to create and achieve positive impact.
  3. With the need to both focus on the vital few and reinvent for the future, I would propose that "PDCA" has become more complex. My proposal is ArSrPARr, where r stands for reflect. ASPAR is Analyze-Synthesize-Prioritize-Act-Review. The whole cycle must be accomplished with efficiency, effectiveness, and times for reflection.
  4. ASPAR and r Analyze Analyze the organization's current plans, priorities, challenges, advantages, and the external environment. Make sure to consider the risk landscape, your industry's competitive environment, and what is happening in adjacent industries.
  5. ASPAR and r (cont.) Synthesize Develop a coherent picture that describes one or multiple scenarios based on synthesis of the information from your analysis. Prioritize Prioritize your short-term actions based on the synthesized information or the likeliest scenario, if there are multiple possibilities. Develop a sense of priorities for the longer term based on your chosen path.
  6. ASPAR and r (cont.) Act Act with decisiveness. Allocate resources (financial, people, facilities...). Set milestones and develop metrics. Review Measure progress. Check if you are reaching your intended milestones and goals.
  7. ASPAR and r (cont.) reflect At each of the "reflect" points, consider if you are drawing logical and defensible conclusions. This is also the time to see if any disruptive changes have occurred that require going from focus to further reinvention. Make sure you purposefully schedule time to carry out these reflections. Reflection needs devoted thought time. Consider conducting reflections alone and with your key team members.
  8. The Baldrige Excellence Framework® provides two significant components for considering leadership reflection. The first is the Baldrige core value of visionary leadership. The core value states that leaders are responsible for ongoing organizational success. This includes creating strategies, stimulating innovation, managing risk, and ensuring resilience. Embedded in all these responsibilities is the necessity to analyze, synthesize, prioritize, act, review, and reflect. In upcoming revisions to the framework, the need to reflect might be given specific mention.
  9. Within item 1.1 of the Baldrige Criteria for Performance Excellence®, the last area is about creating a focus on action, including the requirement to identify needed actions, deploy those actions, and demonstrate personal accountability for those actions. The accompanying item note details some of the considerations for a focus on action and might benefit from a specific mention of the need to reflect. The Baldrige Criteria are accompanied by scoring guidelines, with ranges that reflect the organization's maturity in addressing the Criteria questions. I contemplated reflection as a maturity consideration. However, I believe reflection to be a necessity at all levels of maturity. Therefore, I don't believe reflection belongs in the scoring guidelines.
  10. A Final Thought Much has been written about leadership reflection time. I believe ASPAR provides a logical approach to sharpening reflection time. As a system, ArSrPARr should provide a framework for focus and reinvention. Let me know what you think and what your experience is.