SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  16
Télécharger pour lire hors ligne
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์
maruays@hotmail.com
22 กรกฎาคม 2560
Daniel McGinn
TO FIRE UP YOUR TEAM, DRAW ON A RESEARCH-PROVEN,
THREE-PART FORMULA.
Harvard Business Review, July-August 2017
บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
 ความสามารถในการกล่าวสุนทรพจน์ เป็นสิ่งจาเป็นสาหรับผู้นา
ทางธุรกิจ แต่มีเพียงไม่กี่คน ที่ได้รับการฝึกอบรมอย่างเป็นทางการ
 การพูดสร้างแรงจูงใจ มีองค์ประกอบสาคัญสามประการได้แก่
 (1) บอกแนวทางให้ หรืออธิบายได้อย่างแม่นยาว่าจะต้องทาอย่างไร
 (2) การเอาใจใส่ หรือแสดงความห่วงใย
 (3) อธิบายความหมาย ซึ่งระบุว่าทาไมงานจึงสาคัญ
 เมื่อผู้นาเข้าใจองค์ประกอบทั้งสามอย่างนี้ แล้ว พวกเขาก็สามารถ
เรียนรู้ในการกล่าวสุนทรพจน์ ด้วยความชานาญมากขึ้น
เกริ่นนา
 ความสามารถในการพูดปลุกใจ เพื่อกระตุ้นพนักงานให้มี
ประสิทธิภาพที่ดีขึ้น เป็นสิ่งจาเป็นสาหรับผู้นาทางธุรกิจ แต่มี
ผู้จัดการเพียงไม่กี่คน ที่ได้รับการฝึกอบรมอย่างเป็ นทางการว่า
จะต้องทาอย่างไร โดยมากพวกเขาเรียนรู้มาจากการเลียนแบบ
ผู้บังคับบัญชา โค้ชที่โรงเรียน หรือแม้กระทั่งตัวละครจาก
ภาพยนตร์เช่น Glengarry Glen Ross และ The Wolf of Wall Street
 บางคนพึ่งพาโค้ชเพื่อขอความช่วยเหลือ แต่โดยปกติแล้ว
คาแนะนา จะขึ้นอยู่กับประสบการณ์ส่วนตัวของโค้ช ไม่ใช่มาจาก
การวิจัย
ทฤษฎีการสร้างแรงบันดาลใจ
 ตามหลักวิทยาศาสตร์ สูตรที่ดีที่สุด มีองค์ประกอบสาคัญ 3
ประการ ได้แก่ การให้ทิศทาง การแสดงออกของการเอาใจใส่
และการสร้างความหมาย
 การวิจัยที่ครอบคลุมมากที่สุดในสาขาวิชานี้ คือ ทฤษฎีการสร้าง
แรงบันดาลใจ หรือ Motivating Language Theory (MLT) ของ
Jacqueline และ Milton Mayfield ทีมสามีและภรรยาจาก
มหาวิทยาลัย Texas A&M International ที่ใช้ในโลกธุรกิจมาเกือบ
สามทศวรรษแล้ว
 ผลการวิจัยของพวกเขา ได้รับการสนับสนุนจากการศึกษาของ
นักจิตวิทยาการกีฬา และนักประวัติศาสตร์ด้านการทหาร
1. การชี้ทิศทาง
 คาอธิบายของ Mayfield กล่าวว่า การชี้ทิศทาง (direction giving)
คือ การลดการใช้ภาษาที่ไม่แน่นอนหรือกากวม
 ผู้นาควรเสนอข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการทาภารกิจ โดยการยกตัวอย่าง
เช่น การให้คาแนะนาที่เข้าใจได้ง่าย คาจากัดความที่ดีของงาน
และรายละเอียดของวิธีการประเมินประสิทธิภาพการทางาน
2. แสดงความเห็นอกเห็นใจ
 ความเห็นอกเห็นใจ (Empathetic language) แสดงถึงความ
ห่วงใยลูกทีมในฐานะมนุษย์
 อาจรวมถึงการยกย่อง การให้กาลังใจ ความกตัญญู และการ
ยอมรับความยากลาบากของงาน
 "ฉันรู้ว่านี่เป็นความท้าทาย แต่ฉันเชื่อว่าคุณสามารถทามันได้"
และ "ความเป็นอยู่ที่ดีของคุณ เป็นหนึ่งในความสาคัญสูงสุดของ
ฉัน" ทั้งหมดนี้ เป็นหมวดหมู่นี้
3. จุดมุ่งหมายของงาน
 การให้ความหมาย (Meaning-making language) อธิบายว่า ทาไม
งานจึงสาคัญ ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงวัตถุประสงค์ หรือภารกิจของ
องค์กร เข้ากับผู้ฟัง
 บ่อยครั้งที่รวมถึงการใช้เรื่องราวเกี่ยวกับคนที่ทางานหนัก หรือผู้
ประสบความสาเร็จในบริษัท หรือเกี่ยวกับผลงานที่สร้างความ
แตกต่างในชีวิตอย่างแท้จริง ให้กับลูกค้าหรือชุมชน
การกล่าวสุนทรพจน์ที่ดี
 ไม่ว่าจะเป็นการกล่าวกับบุคคลหนึ่งหรือหลายคน ควรรวมทั้ง
สามองค์ประกอบ แต่การผสมผสานที่ถูกต้อง จะขึ้นอยู่กับบริบท
และผู้ฟัง
 คนงานที่มีประสบการณ์ซึ่งกาลังทางานที่คุ้นเคย อาจไม่ต้องการ
ทิศทางมากนัก ผู้ติดตามที่สนิทสนมกับผู้นา อาจใช้ภาษาที่มี
ความเห็นอกเห็นใจน้อยลง การสร้างความหมาย มีประโยชน์ใน
สถานการณ์ส่วนใหญ่ แต่อาจเน้นน้อยลง หากเป้ าหมายสุดท้าย
ของผลงานเป็นที่ชัดเจน
การพูดกระตุ้นอารมณ์
 Tiffanye Vargas ศาสตราจารย์ด้านจิตวิทยาการกีฬา มหาวิทยาลัย
แห่งรัฐแคลิฟอร์เนีย ที่ลองบีช ได้ตีพิมพ์ผลงานวิจัย ที่สารวจ
ประเภทของสุนทรพจน์ที่ดีที่สุด ในการกระตุ้นนักกีฬา ซึ่ง
บางอย่างอาจใช้ได้กับบริบททางธุรกิจ
 การวิจัยของเธอแสดงให้เห็นว่า ในการเล่นกีฬา คาพูดก่อนลง
สนามของโค้ชเป็นเรื่องสาคัญ เพราะ 90% ของผู้เล่นกล่าวว่า
พวกเขาสนุกกับการฟัง และ 65% กล่าวว่าสุนทรพจน์ มีผลต่อวิธี
ที่พวกเขาเล่น
คาพูดในทางกีฬา
 นักกีฬาชอบคาพูดที่ให้ข้อมูลมากมาย (เพื่อลดความไม่แน่นอน)
หากพวกเขากาลังเล่นกับฝ่ายตรงข้ามที่ไม่รู้จัก หรือทีมที่พวกเขา
เคยแพ้ไปอย่างหวุดหวิดในอดีต
 ตัวอย่างเช่น "เราจะเอาชนะทีมนี้ ด้วยการประกบแบบคนต่อคน
โจ งานของคุณคือการป้ องกันการชู้ตของการ์ดตัวยิง จิมมี่ คุณ
คอยกันผู้เล่นที่แย่งลูกได้เก่งของคู่แข่งให้ออกไป ในการแย่งลูก
ทุกครั้ง"
คาพูดในทางกีฬา (ต่อ)
 หากทีมเป็นรองหรือเล่นในเกมที่มีการเดิมพันสูง การพูดคุย ควร
ใช้อารมณ์ที่อ่อนไหวมากขึ้น (มีความเห็นอกเห็นใจ และมี
ความหมายมากขึ้น) จะมีประสิทธิภาพมากกว่า
 ตัวอย่างเช่น "เราได้เดินทางมาไกลเกินความคาดหวังของทุกคน
ในการแข่งขันของปีนี้ ไม่มีใครคาดหวังว่าเราจะชนะ แต่ผมเชื่อ
ว่า พวกคุณจะชนะ ผมรู้ว่าพวกคุณสามารถชนะได้ พวกคุณต้อง
ชนะ เพื่อเพื่อนร่วมทีมของคุณ และเพื่อแฟน ๆ เพราะพวกคุณ
สมควรได้รับชัยชนะในครั้งนี้ "
สุนทรพจน์ทางทหาร
 สุนทรพจน์ทางทหาร รวมถึงการชี้ทิศทาง (ปฏิบัติตามแผน) แต่
ส่วนมากจะให้เหตุผลทางทหาร (โดยการเปรียบเทียบกองทัพเรา
ที่เหนือกว่าฝ่ายตรงข้าม) หรืออารมณ์ (โดยกล่าวว่า พระเจ้าทรง
อยู่เคียงข้างพวกเรา หรือเน้นความชั่วร้ายของศัตรู)
 เนื่องจากทหารต้องเสี่ยงชีวิตของตนเอง ผู้บัญชาการควรจะ
มุ่งเน้นไปที่เป้ าหมายใหญ่ของสงคราม และอธิบายว่าทาไมความ
เสี่ยงจึงคุ้มค่า
 พลเอก Stanley McChrystal ที่เกษียณแล้ว ซึ่งดูแลการปฏิบัติการ
พิเศษในอิรักและอัฟกานิสถาน เขาพูดปลุกใจทหารที่ยังมีอายุน้อย
โดยอาศัยอารมณ์และความหมาย "ในช่วง 30 นาที ก่อนทาการ
รบ เป็นเรื่องเกี่ยวกับการสร้างความมั่นใจ และความมุ่งมั่นที่มีต่อ
กันและกัน"
 เขากล่าวว่า เขามีแนวโน้มที่จะเริ่มต้นด้วยการให้คาแนะนา (นี่คือ
สิ่งที่ผมขอให้พวกคุณทา) แล้วเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วในการสร้าง
ความหมาย (นี่คือเหตุผลที่สาคัญ) และการเอาใจใส่ (นี่คือเหตุผล
ที่ผมรู้ว่า พวกคุณสามารถทามันได้ และ ให้คิดถึงสิ่งที่พวกคุณเคย
ทาร่วมกันมาก่อน) และจบลงด้วยการสรุป (เราไปกันเดี๋ยวนี้ เลย
สู้ ๆ)
สรุป
 ผลของการวิจัยและหลักฐานทั้งหมดนี้ คือสิ่งที่ผู้นาในบริบทใด ๆ
ก็ตาม จาเป็นต้องเข้าใจองค์ประกอบ ของทฤษฎีการสร้าง
แรงจูงใจ และใช้สามัญสานึก ในการกล่าวเน้นได้อย่างถูกต้อง
และในเวลาที่เหมาะสม
Nelson Mandela

Contenu connexe

Plus de maruay songtanin

075 มัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
075 มัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx075 มัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
075 มัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
074 รุกขธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
074 รุกขธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...074 รุกขธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
074 รุกขธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
073 สัจจังกิรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
073 สัจจังกิรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...073 สัจจังกิรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
073 สัจจังกิรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
072 สีลวนาคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
072 สีลวนาคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....072 สีลวนาคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
072 สีลวนาคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
071 วรุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
071 วรุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx071 วรุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
071 วรุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
070 กุททาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
070 กุททาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx070 กุททาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
070 กุททาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
069 วิสวันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
069 วิสวันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....069 วิสวันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
069 วิสวันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
067 อุจฉังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
067 อุจฉังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....067 อุจฉังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
067 อุจฉังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
066 มุทุลักขณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
066 มุทุลักขณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...066 มุทุลักขณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
066 มุทุลักขณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
065 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
065 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....065 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
065 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
064 ทุราชานชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
064 ทุราชานชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx064 ทุราชานชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
064 ทุราชานชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
063 ตักกปัณฑิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
063 ตักกปัณฑิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...063 ตักกปัณฑิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
063 ตักกปัณฑิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
062 อัณฑภูตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
062 อัณฑภูตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....062 อัณฑภูตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
062 อัณฑภูตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
061 อสาตมันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
061 อสาตมันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...061 อสาตมันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
061 อสาตมันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
058 ตโยธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
058 ตโยธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....058 ตโยธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
058 ตโยธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
057 วานรินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
057 วานรินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....057 วานรินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
057 วานรินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
056 กัญจนักขันธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
056 กัญจนักขันธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...056 กัญจนักขันธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
056 กัญจนักขันธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
055 ปัญจาวุธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
055  ปัญจาวุธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...055  ปัญจาวุธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
055 ปัญจาวุธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
054 ผลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
054 ผลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx054 ผลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
054 ผลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
053 ปุณณปาติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
053 ปุณณปาติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...053 ปุณณปาติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
053 ปุณณปาติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 

Plus de maruay songtanin (20)

075 มัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
075 มัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx075 มัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
075 มัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
074 รุกขธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
074 รุกขธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...074 รุกขธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
074 รุกขธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
073 สัจจังกิรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
073 สัจจังกิรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...073 สัจจังกิรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
073 สัจจังกิรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
072 สีลวนาคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
072 สีลวนาคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....072 สีลวนาคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
072 สีลวนาคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
071 วรุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
071 วรุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx071 วรุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
071 วรุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
070 กุททาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
070 กุททาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx070 กุททาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
070 กุททาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
069 วิสวันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
069 วิสวันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....069 วิสวันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
069 วิสวันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
067 อุจฉังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
067 อุจฉังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....067 อุจฉังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
067 อุจฉังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
066 มุทุลักขณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
066 มุทุลักขณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...066 มุทุลักขณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
066 มุทุลักขณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
065 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
065 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....065 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
065 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
064 ทุราชานชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
064 ทุราชานชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx064 ทุราชานชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
064 ทุราชานชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
063 ตักกปัณฑิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
063 ตักกปัณฑิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...063 ตักกปัณฑิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
063 ตักกปัณฑิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
062 อัณฑภูตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
062 อัณฑภูตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....062 อัณฑภูตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
062 อัณฑภูตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
061 อสาตมันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
061 อสาตมันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...061 อสาตมันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
061 อสาตมันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
058 ตโยธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
058 ตโยธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....058 ตโยธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
058 ตโยธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
057 วานรินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
057 วานรินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....057 วานรินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
057 วานรินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
056 กัญจนักขันธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
056 กัญจนักขันธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...056 กัญจนักขันธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
056 กัญจนักขันธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
 
055 ปัญจาวุธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
055  ปัญจาวุธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...055  ปัญจาวุธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
055 ปัญจาวุธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
054 ผลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
054 ผลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx054 ผลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
054 ผลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
053 ปุณณปาติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
053 ปุณณปาติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...053 ปุณณปาติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
053 ปุณณปาติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 

การพูดปลุกใจลูกทีม Science of pep talks

  • 2. Daniel McGinn TO FIRE UP YOUR TEAM, DRAW ON A RESEARCH-PROVEN, THREE-PART FORMULA. Harvard Business Review, July-August 2017
  • 3. บทสรุปสาหรับผู้บริหาร  ความสามารถในการกล่าวสุนทรพจน์ เป็นสิ่งจาเป็นสาหรับผู้นา ทางธุรกิจ แต่มีเพียงไม่กี่คน ที่ได้รับการฝึกอบรมอย่างเป็นทางการ  การพูดสร้างแรงจูงใจ มีองค์ประกอบสาคัญสามประการได้แก่  (1) บอกแนวทางให้ หรืออธิบายได้อย่างแม่นยาว่าจะต้องทาอย่างไร  (2) การเอาใจใส่ หรือแสดงความห่วงใย  (3) อธิบายความหมาย ซึ่งระบุว่าทาไมงานจึงสาคัญ  เมื่อผู้นาเข้าใจองค์ประกอบทั้งสามอย่างนี้ แล้ว พวกเขาก็สามารถ เรียนรู้ในการกล่าวสุนทรพจน์ ด้วยความชานาญมากขึ้น
  • 4. เกริ่นนา  ความสามารถในการพูดปลุกใจ เพื่อกระตุ้นพนักงานให้มี ประสิทธิภาพที่ดีขึ้น เป็นสิ่งจาเป็นสาหรับผู้นาทางธุรกิจ แต่มี ผู้จัดการเพียงไม่กี่คน ที่ได้รับการฝึกอบรมอย่างเป็ นทางการว่า จะต้องทาอย่างไร โดยมากพวกเขาเรียนรู้มาจากการเลียนแบบ ผู้บังคับบัญชา โค้ชที่โรงเรียน หรือแม้กระทั่งตัวละครจาก ภาพยนตร์เช่น Glengarry Glen Ross และ The Wolf of Wall Street  บางคนพึ่งพาโค้ชเพื่อขอความช่วยเหลือ แต่โดยปกติแล้ว คาแนะนา จะขึ้นอยู่กับประสบการณ์ส่วนตัวของโค้ช ไม่ใช่มาจาก การวิจัย
  • 5. ทฤษฎีการสร้างแรงบันดาลใจ  ตามหลักวิทยาศาสตร์ สูตรที่ดีที่สุด มีองค์ประกอบสาคัญ 3 ประการ ได้แก่ การให้ทิศทาง การแสดงออกของการเอาใจใส่ และการสร้างความหมาย  การวิจัยที่ครอบคลุมมากที่สุดในสาขาวิชานี้ คือ ทฤษฎีการสร้าง แรงบันดาลใจ หรือ Motivating Language Theory (MLT) ของ Jacqueline และ Milton Mayfield ทีมสามีและภรรยาจาก มหาวิทยาลัย Texas A&M International ที่ใช้ในโลกธุรกิจมาเกือบ สามทศวรรษแล้ว  ผลการวิจัยของพวกเขา ได้รับการสนับสนุนจากการศึกษาของ นักจิตวิทยาการกีฬา และนักประวัติศาสตร์ด้านการทหาร
  • 6. 1. การชี้ทิศทาง  คาอธิบายของ Mayfield กล่าวว่า การชี้ทิศทาง (direction giving) คือ การลดการใช้ภาษาที่ไม่แน่นอนหรือกากวม  ผู้นาควรเสนอข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการทาภารกิจ โดยการยกตัวอย่าง เช่น การให้คาแนะนาที่เข้าใจได้ง่าย คาจากัดความที่ดีของงาน และรายละเอียดของวิธีการประเมินประสิทธิภาพการทางาน
  • 7. 2. แสดงความเห็นอกเห็นใจ  ความเห็นอกเห็นใจ (Empathetic language) แสดงถึงความ ห่วงใยลูกทีมในฐานะมนุษย์  อาจรวมถึงการยกย่อง การให้กาลังใจ ความกตัญญู และการ ยอมรับความยากลาบากของงาน  "ฉันรู้ว่านี่เป็นความท้าทาย แต่ฉันเชื่อว่าคุณสามารถทามันได้" และ "ความเป็นอยู่ที่ดีของคุณ เป็นหนึ่งในความสาคัญสูงสุดของ ฉัน" ทั้งหมดนี้ เป็นหมวดหมู่นี้
  • 8. 3. จุดมุ่งหมายของงาน  การให้ความหมาย (Meaning-making language) อธิบายว่า ทาไม งานจึงสาคัญ ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงวัตถุประสงค์ หรือภารกิจของ องค์กร เข้ากับผู้ฟัง  บ่อยครั้งที่รวมถึงการใช้เรื่องราวเกี่ยวกับคนที่ทางานหนัก หรือผู้ ประสบความสาเร็จในบริษัท หรือเกี่ยวกับผลงานที่สร้างความ แตกต่างในชีวิตอย่างแท้จริง ให้กับลูกค้าหรือชุมชน
  • 9. การกล่าวสุนทรพจน์ที่ดี  ไม่ว่าจะเป็นการกล่าวกับบุคคลหนึ่งหรือหลายคน ควรรวมทั้ง สามองค์ประกอบ แต่การผสมผสานที่ถูกต้อง จะขึ้นอยู่กับบริบท และผู้ฟัง  คนงานที่มีประสบการณ์ซึ่งกาลังทางานที่คุ้นเคย อาจไม่ต้องการ ทิศทางมากนัก ผู้ติดตามที่สนิทสนมกับผู้นา อาจใช้ภาษาที่มี ความเห็นอกเห็นใจน้อยลง การสร้างความหมาย มีประโยชน์ใน สถานการณ์ส่วนใหญ่ แต่อาจเน้นน้อยลง หากเป้ าหมายสุดท้าย ของผลงานเป็นที่ชัดเจน
  • 10. การพูดกระตุ้นอารมณ์  Tiffanye Vargas ศาสตราจารย์ด้านจิตวิทยาการกีฬา มหาวิทยาลัย แห่งรัฐแคลิฟอร์เนีย ที่ลองบีช ได้ตีพิมพ์ผลงานวิจัย ที่สารวจ ประเภทของสุนทรพจน์ที่ดีที่สุด ในการกระตุ้นนักกีฬา ซึ่ง บางอย่างอาจใช้ได้กับบริบททางธุรกิจ  การวิจัยของเธอแสดงให้เห็นว่า ในการเล่นกีฬา คาพูดก่อนลง สนามของโค้ชเป็นเรื่องสาคัญ เพราะ 90% ของผู้เล่นกล่าวว่า พวกเขาสนุกกับการฟัง และ 65% กล่าวว่าสุนทรพจน์ มีผลต่อวิธี ที่พวกเขาเล่น
  • 11. คาพูดในทางกีฬา  นักกีฬาชอบคาพูดที่ให้ข้อมูลมากมาย (เพื่อลดความไม่แน่นอน) หากพวกเขากาลังเล่นกับฝ่ายตรงข้ามที่ไม่รู้จัก หรือทีมที่พวกเขา เคยแพ้ไปอย่างหวุดหวิดในอดีต  ตัวอย่างเช่น "เราจะเอาชนะทีมนี้ ด้วยการประกบแบบคนต่อคน โจ งานของคุณคือการป้ องกันการชู้ตของการ์ดตัวยิง จิมมี่ คุณ คอยกันผู้เล่นที่แย่งลูกได้เก่งของคู่แข่งให้ออกไป ในการแย่งลูก ทุกครั้ง"
  • 12. คาพูดในทางกีฬา (ต่อ)  หากทีมเป็นรองหรือเล่นในเกมที่มีการเดิมพันสูง การพูดคุย ควร ใช้อารมณ์ที่อ่อนไหวมากขึ้น (มีความเห็นอกเห็นใจ และมี ความหมายมากขึ้น) จะมีประสิทธิภาพมากกว่า  ตัวอย่างเช่น "เราได้เดินทางมาไกลเกินความคาดหวังของทุกคน ในการแข่งขันของปีนี้ ไม่มีใครคาดหวังว่าเราจะชนะ แต่ผมเชื่อ ว่า พวกคุณจะชนะ ผมรู้ว่าพวกคุณสามารถชนะได้ พวกคุณต้อง ชนะ เพื่อเพื่อนร่วมทีมของคุณ และเพื่อแฟน ๆ เพราะพวกคุณ สมควรได้รับชัยชนะในครั้งนี้ "
  • 13. สุนทรพจน์ทางทหาร  สุนทรพจน์ทางทหาร รวมถึงการชี้ทิศทาง (ปฏิบัติตามแผน) แต่ ส่วนมากจะให้เหตุผลทางทหาร (โดยการเปรียบเทียบกองทัพเรา ที่เหนือกว่าฝ่ายตรงข้าม) หรืออารมณ์ (โดยกล่าวว่า พระเจ้าทรง อยู่เคียงข้างพวกเรา หรือเน้นความชั่วร้ายของศัตรู)  เนื่องจากทหารต้องเสี่ยงชีวิตของตนเอง ผู้บัญชาการควรจะ มุ่งเน้นไปที่เป้ าหมายใหญ่ของสงคราม และอธิบายว่าทาไมความ เสี่ยงจึงคุ้มค่า
  • 14.  พลเอก Stanley McChrystal ที่เกษียณแล้ว ซึ่งดูแลการปฏิบัติการ พิเศษในอิรักและอัฟกานิสถาน เขาพูดปลุกใจทหารที่ยังมีอายุน้อย โดยอาศัยอารมณ์และความหมาย "ในช่วง 30 นาที ก่อนทาการ รบ เป็นเรื่องเกี่ยวกับการสร้างความมั่นใจ และความมุ่งมั่นที่มีต่อ กันและกัน"  เขากล่าวว่า เขามีแนวโน้มที่จะเริ่มต้นด้วยการให้คาแนะนา (นี่คือ สิ่งที่ผมขอให้พวกคุณทา) แล้วเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วในการสร้าง ความหมาย (นี่คือเหตุผลที่สาคัญ) และการเอาใจใส่ (นี่คือเหตุผล ที่ผมรู้ว่า พวกคุณสามารถทามันได้ และ ให้คิดถึงสิ่งที่พวกคุณเคย ทาร่วมกันมาก่อน) และจบลงด้วยการสรุป (เราไปกันเดี๋ยวนี้ เลย สู้ ๆ)
  • 15. สรุป  ผลของการวิจัยและหลักฐานทั้งหมดนี้ คือสิ่งที่ผู้นาในบริบทใด ๆ ก็ตาม จาเป็นต้องเข้าใจองค์ประกอบ ของทฤษฎีการสร้าง แรงจูงใจ และใช้สามัญสานึก ในการกล่าวเน้นได้อย่างถูกต้อง และในเวลาที่เหมาะสม