SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  43
Télécharger pour lire hors ligne
พ.อ. มารวย ส่งทานินทร์
13 กุมภาพันธ์ 2551
No matter what you do, how hard you work, or who you work with, things will
still go wrong.

่
่
คนทีไม่เคยผิดพลาดคือคนทีไม่ทาอะไรเลย
ต้องคานึงถึง 3 สิ่งดังนี้
1.
2.
3.

การแก้ไขเหตุเฉพาะหน้า
การตอบสนองของบุคลากรและทีมงาน
แผนฟื้ นฟู
The real test is not when we are successful
when there is no adversary, but when there is
and we triumph.
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.

การแก้ไขเฉพาะหน้า
วิเคราะห์สาเหตุ
มีความรับผิดชอบ
การควบคุมความเสียหาย
การเจรจาต่อรอง
รูสายงานบังคับบัญชา
้
มีการจัดการด้านอารมณ์
"You can blame people who knock things over in the dark,
or you can begin to light candles. You're only at fault if
you know about the problem and choose to do nothing."
้
 ตังสติให้ดี (หายใจลึก ๆ อย่ากลัว อย่าโกรธ อย่า
คับแค้นจนเกินเหตุ เพราะจะทาให้สถานการณ์เลว
ลง เพราะอารมณ์จะส่งผลต่อพฤติกรรม และการ
ตัดสินใจ)
 ประเมินสถานการณ์ของปั ญหา (ระดับความ
รุนแรง ดูว่าเป็ นปั ญหาของผูใด อย่าเป็ นกระต่าย
้
ตืนตูม ถามหาข้อเท็จจริง ประเมินความเสียหาย
่
คร่าว ๆ )
้
้
 ตังสติให้ดีอีกครัง (ระบายความเครียดให้ปลอดภัย
และถูกวิธี เช่น ออกกาลังกาย ตะโกนให้กองฟ้ า
้
พูดคุยกับผูรูใจ แล้วค่อยกลับมาแก้ปัญหา ถ้าคุณ
้้
เป็ นผูนาหน่วย ให้กาวออกมารับผิดชอบ ไม่ว่าใคร
้
้
จะเป็ นคนก่อเรื่อง)
 เรียกคนที่ถูกต้องเข้ามาแก้ปัญหา (มีหน้าที่ มี
ความรู ้ เป็ นประโยชน์ สื่อสารมอบอานาจให้จดการ
ั
และหนุนหลัง พยายามใช้คนให้นอยที่สุด)
้
 ถ้าเป็ นเรื่องสาคัญเร่งด่วน ต้องให้สญญาณว่า
ั

เป็ นเรื่องด่วนจริง ๆ
 พยายามใช้แผนที่เรียบง่าย(เลือกแผนที่ดีที่สุด
อาจต้องมอบอานาจ ไม่จาเป็ นต้องสมบูรณ์
แบบ มีคนสองกลุมที่ตองสื่อ กลุมแรกคือผูที่มี
่ ้
่
้
อานาจตัดสินใจ อีกกลุมคือผูที่เกี่ยวข้องจัดการ
่
้
เรื่องโดยตรง)
 จัดการเรื่องให้เรียบร้อย (โดยมีการติดตาม

ความก้าวหน้าเป็ นรายชั ่วโมง รายวัน หรือราย
สัปดาห์ ตามความเหมาะสม)
 เรียนรู ้ (หลังเกิดเหตุทุกครั้ง ต้องเกิดการ
เรียนรูเ้ พื่อป้ องกันการเกิดเหตุซ้า ไม่จาเป็ นว่า
บุคลากรต้องเป็ นกลุมที่แก้ปัญหาโดยตรง แต่
่
เป็ นกลุมที่มีผลกระทบ)
่
 เราจะรูได้อย่างไรว่าเกิดปั ญหา ?
้
 เมื่อ มีช่องว่างของสิ่งที่วางแผนไว้กบสิ่งที่เป็ น
ั

จริง
 เมื่อ เกิดความสับสนว่าอะไรเป็ นสาเหตุปัญหา
 และไม่รูว่าจะใช้วิธีใดในการลดช่องว่างนั้น
้
 สาเหตุปัญหาส่วนมากเกิดจาก

 การมองข้ามความเป็ นจริง
 การที่ทีมถูกบังคับให้ทาอะไรอย่างโง่เขลา
 ไม่เป็ นไปตามเวลาหรือขาดทรัพยากร
 คุณภาพที่ตกต ่า

 การเปลี่ยนแปลงทิศทาง
 สาเหตุปัญหาส่วนมากเกิดจาก (ต่อ)

 เป็ นเรืองส่วนตัวของบุคลากรหรือทีมงาน
่
 การไม่ลงรอยกันหรือขัดแย้งกัน
 การดื้อดึงหรือขัดขืน
Taking responsibility for something doesn't make it your
fault: it means that you will deal with the consequences
and be accountable for resolving the situation.
 การที่เรามองใครคนใดคนหนึ่งว่าเป็ นคนที่

พูดคุยด้วยยาก ให้กลับมามองว่าทาไมเราจึงมี
ความคิดเช่นนั้น ควรคิดว่าเป็ นโอกาสของเราใน
การเรียนรู ้ แล้วเราจะเจอคนประเภทนี้ลดลง ๆ
 วุฒิภาวะในการกล้าเผชิญกับเรื่องยาก ๆ เป็ น
โอกาสให้เราได้แสดงฝี มือต่างหากในเรื่องการ
จัดการกับปั ญหาและพฤติกรรมของผูอื่น
้
 การรับผิดชอบไม่ว่าจะแก้ปัญหาได้หรือไม่ก็ตาม

เป็ นการได้รบอานาจ และได้ช้ ีแจงเรืองราวกับ
ั
่
ผูบริหารสูงสุด (ถ้าจะดับเพลิงต้องเรียนรูทกษะใน
้
้ ั
การป้ องกันตัวและระวังไฟลวกไว้ดวย)
้
 การมอบอานาจอาจเป็ นเครื่องมือที่ดีที่สุดที่เราทา
ได้แต่ตองมีเทคนิค คือ บอกกล่าวว่า “ยังไม่สนใจ
้
สาเหตุ ณ ตอนนี้ เรารับผิดชอบเอง สิ่งที่อยากให้
คุณช่วยขณะนี้คือ ...”
Imagine being the pilot of a 747 that has just lost all engine
power. Until you've restored power, not much else matters.
 การจัดการเร่งด่วนที่สุดคือ การแก้ไขเหตุการณ์

ให้เข้าสู่ภาวะปกติโดยเร็วที่สุด
 ในการควบคุมความเสียหาย ไม่มีเวลามากมาย
จะมาคิดถึงเรื่องทางเลือกอื่น ๆ มีบางสิ่งที่ตอง
้
แก้ไขเร่งด่วนเท่านั้น
 จัดประชุมด่วน
 ถ้าผูคนไม่เห็นด้วย หาจุดตกลงร่วมกัน
้
 ถอยไปหาจุดเดิมที่รูว่าปกติ
้
 แยกปั ญหาออกมาให้ได้
 ต้องใช้ทรัพยากรอะไร และ เท่าใด
"What should worry us is not the number of people
that oppose us, but how good their reasons are for
doing so."
 การมีความเห็นที่ไม่ลงรอยกัน แต่เคารพสิทธิ

ซึ่งกันและกัน เป็ นจุดต่างที่ทาให้เกิด
ความก้าวหน้า (เมื่อจัดการความเห็นต่างและ
ปรับเป็ นแรงบวก)
 การหาจุดรอมชอมเมื่อเกิดเหตุการณ์วิกฤติเป็ น
เรื่องสาคัญ โดยอาศัยแนวคิดจาก Getting to Yes
ของ Roger Fisher
 พยายามหาจุดที่เห็นพ้องต้องกัน (ต้องมีบาง
้

เช่น โลกกลม โครงการต้องเสร็จทันเวลา ฯลฯ)
 ดูว่าอะไรที่เป็ นเรื่องส่วนตัว แล้วอย่าสนใจจุด
นั้นอีก (เพราะจะทาให้เรากลายเป็ นคู่แข่งหรือ
คู่ตอสูแทน ถ้าเราไม่พอใจคนที่เจรจาด้วย
่ ้
พยายามแยกความรูสึกนั้น หรือหาคนมาแทน)
้
 หาสิ่งที่เป็ นผลประโยชน์รวมกัน (ได้ท้งสองฝ่ าย
่
ั

หาสิ่งที่เป็ นเป้ าหมายร่วมกันได้ ไม่ใช่ยดจุดยืนของ
ึ
แต่ละฝ่ ายเป็ นหลัก หาเป้ าหมายร่วมที่กว้าง ๆ ที่มี
ได้หลากหลายรูปแบบและหลากหลายวิธี บันทึก
สิ่งที่สนใจร่วมกันไว้เพื่อนามาสูขอตกลง)
่ ้
 เข้มแข็งแต่ไม่แข็งกระด้าง (มีความยืดหยุนตาม
่
สมควร ถ้าไม่มีความยืดหยุนเลยก็ไม่ควรมา
่
เจรจา)
 รูจกทางเลือก (ทั้งสองฝ่ ายควรรูว่าจะเสียหาย
้ั
้

อย่างไรถ้าเจรจาไม่สาเร็จ ทางเลือกอื่น Best
Alternative To Negotiated Agreement (BATNA) ที่ฝ่ายใด
มีมาก ฝ่ ายนั้นก็จะถือไพ่เหนือกว่า เพราะมีทางเลือก
ได้อีกหลายทาง)
 การเกลี้ยกล่อม (ขึ้ นกับการรูซ้ ึงของเราต่อฝ่ ายตรง
้
ข้าม ใช้ทกษะการเจรจา เหตุผล จิตวิทยา
ั
ประสบการณ์ และลักษณะบุคลิกของเรา)
 ถ้าทั้งคู่อยูในองค์กรเดียวกัน ให้ช้ ีไปที่
่

เป้ าประสงค์ขององค์กร
 ถ้ามาจากต่างองค์กรกัน ให้หาว่าแล้วมาทา
ธุรกรรมร่วมกันทาไม อะไรคือผลประโยชน์
ร่วมกันในการแลกเปลี่ยนงานหรือทรัพยากร
(โดยมากมักต้องทาสัญญา)
1. ใช้หลักการเจรจา (คู่กรณีคือผูที่ช่วยแก้ปัญหาไม่ใช่ศตรู
้
ั

ทางออกที่ดีไม่ใช่การแพ้หรือชนะ)
2. แยกคนออกจากปั ญหา (อ่อนโยนเรื่องคน เข้มแข็งเรื่องปั ญหา
ดาเนินการต่อไม่ว่าจะชอบคู่กรณีหรือไม่)
3. หาจุดสนใจ ไม่ใช่จดยืน (หาจุดสนใจร่วมทั้งสองฝ่ าย พยายาม
ุ
เลี่ยงจุดสุดท้าย)
4. ทางเลือกที่เป็ นประโยชน์รวม (ระดมสมอง ไม่ปิดกั้นความคิด
่
ผูอื่น แล้วเลือกสิ่งที่ดีที่สุดในตอนท้าย)
้
5. การใช้มาตรฐาน (ที่เป็ นสากล และ ใช้หลักการและเหตุผล)
 การแข่งขันกีฬาเป็ นทีม มีปัจจัยสาคัญสองอย่างที่

สาคัญ คือ การไว้ใจซึ่งกันและกัน และ การรูจก
้ั
บทบาทหน้าที่ของตนเองที่มีตอทีม
่
 ทีมที่ดอยประสบการณ์หรือยังไม่แก่กล้าพอจะ
้
ระส ่าระสายเมื่อเผชิญกับสิ่งเลวร้าย ดังนั้นหัวหน้า
ทีมต้องกระตุนให้ทุกคนรูบทบาทหน้าที่ที่ตนมีตอ
้
้
่
ทีมและสิงที่คาดหวังจากเพื่อนร่วมทีม
่
 หัวหน้าทีมต้องให้กาลังใจและปกป้ องลูกทีมที่

ทางานอย่างเต็มที่แล้ว
 ปั ญหาของทีมโดยมากเกิดจาก ขาดการสื่อสาร
ที่ดี ทาผิดโดยไม่ได้ต้งใจ ความไม่ไว้วางใจกัน
ั
การไม่ทาตามบทบาทหน้าที่ของตน
 ทุกคนที่เกี่ยวข้องควรรูว่าใครเป็ นผูตดสินใจ
้
้ ั

(การจัดการสายบังคับบัญชาของทหารเป็ น
ตัวอย่างที่เห็นชัด)
 ทุกหน่วยงานควรมีกระบวนการที่ชดเจนว่าใคร
ั
เป็ นผูตดสินใจ และเกี่ยวข้องกับผูใดบ้าง
้ ั
้
 ผูที่มีอานาจตัดสินใจมีสิทธิมอบอานาจให้ผที่
้
ู้
เหมาะสมจัดการแทนได้แต่ยงคงรับผิดชอบอยู่
ั
To be under pressure means that there are
constraints that can't be moved and must be
dealt with.
 ความกดดันเกิดเมื่อมีแนวโน้มว่ามีโอกาสล้มเหลว

ได้ เช่น การโต้วาที การชูตลูกก่อนหมดเวลา
้
 บุคคลมีการตอบสนองต่อแรงกดดันต่างกันออกไป
 การลดแรงกดดัน จะไม่มีเกิดผลเสียเลย เช่น การ
ออกกาลังกาย ฟั งเรืองขาขัน ฯลฯ และไม่ได้แสดง
่
ว่าเราอ่อนแอ
 ความกดดัน แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ เป็ นไป

ตามธรรมชาติของสถานการณ์ และเป็ นเพราะ
มนุษย์ผอื่นสร้างขึ้นเพื่อสร้างแรงกดดัน
ู้
 ทั้งสองอย่างสามารถเป็ นไปได้ท้งแง่บวกและแง่ลบ
ั
เช่น ความกดดันก่อนนาเสนอผลงาน (ธรรมชาติ)
การขอให้ทีมทางานหนักขึ้นอีก (มนุษย์สร้าง)
 ต้องอาศัยประสบการณ์ผบริหารในการใช้
ู้
ประโยชน์
 ตามธรรมชาติ เมื่อมีแรงกดดัน ทีมจะทางาน

ได้ดีข้ ึน เมื่อมีแรงกดดันเพิ่มขึ้นจนถึงจุดหนึ่ง
ทีมจะไม่สามารถทาได้เพิ่มอีก
 ดังนั้น จงสังเกตให้ดี เช่น เมื่อสั ่งให้ทางานเพิ่ม
ทีมมีท่าหมดแรง หรือเดินคอตกแบบไร้
เรี่ยวแรง ควรให้ทีมได้พก ให้คลายเครียดหรือ
ั
ควรยืดระยะเวลาออกไป
 การรับรูเรื่องของอารมณ์
้
 Virginia Satir ได้เขียนตาราด้านจิตวิทยาหลายเล่ม

กล่าวว่า การที่บุคคลแสดงออกไม่เหมือนกัน เกิดจาก
การแสดงออกของอารมณ์ที่ตอเนื่องมาจากอารมณ์ที่
่
เกิดขึ้นครั้งแรกสุด
 เช่นมีคนบอกว่าคุณมีกลิ่นแปลก ๆ ทีแรกความรูสึกว่า
้
แย่หรือหดหู่ แต่ความรูสึกต่อมาจะเป็ นความโกรธ แล้ว
้
การแสดงอารมณ์จะออกมาเป็ นโกรธ โมโหผูน้ันแทน
้
 การแสดงออกของอารมณ์ที่สองนั้น เกิดจากการ

เรียนรูของบุคคลนั้น ๆ เช่น เรียนรูจากผูปกครอง ที่
้
้
้
เรียนรูมาจากบุพการีอีกต่อหนึ่ง และมีโอกาส
้
ถ่ายทอดไปสูบุตรหลานได้
่
 ต่างจากบุคคลที่มีภาวะเติบโตแล้วจะแสดงอารมณ์
ได้อย่างระมัดระวังตน (หัวหน้างานควรสังเกตุภาวะ
อารมณ์ให้ออก จักได้ใช้ประโยชน์ตอไป)
่
 พวกทีอยากเป็ นพระเอก (เพราะชอบความเสี่ยง)
่

 ไม่จาเป็ นต้องมีแผนงาน (ฉันจะพิสูจน์ให้ดู)

 อัศวินเดี่ยว (ข้ามาคนเดียว ไม่สนใจใคร)
 พระเอกจอมปลอม (สร้างสถานการณ์ เพื่อให้ตนเองดูดี)

 มีนายที่เบาปั ญญา (คอยพึ่งแต่อศวิน ไม่ดให้รอบคอบ)
ั
ู
 ลูกอีช่างติ (ติได้ทุกเรือง แล้วสบายใจ)
่
 วิธีแก้คือมีทีมบริหารจัดการที่ดี ไม่ข้ ึนกับบุคคลเดียว
ไม่ว่าคุณทาอะไร มีโอกาสพลาดพลั้งได้
ถ้าคุณมีสติ พยายามแก้ปัญหาทีละเล็กทีละน้อย

คุณมีโอกาสแก้ปัญหาได้ (อย่าลืมแนวทาง
เบื้องต้น)
มีสถานการณ์คาดได้ คือ การละเลยสิ่งที่ควรทา
ทาในสิ่งที่ไม่ควรทา ทรัพยากรที่จะใช้มีไม่
เพียงพอ คุณภาพต ่า สถานการณ์เปลี่ยนไป ปั ญหา
ของปั จเจกบุคคล การขัดขืนไม่เชื่อฟั ง
ในวิกฤติเป็ นโอกาสของการเรียนรู ้ จงเรียนรูว่า
้

อะไรคือสาเหตุ และจะป้ องกันไม่ให้เกิดซ้าได้
อย่างไร
หัวหน้าต้องมีความรับผิดชอบ ไม่ว่าใครเป็ นผู ้
ก่อเรื่อง ให้พยายามช่วยแก้ปัญหาอย่างเต็มที่
ในสถานการณ์ที่รุนแรง ให้ใช้มาตรการควบคุม
ความเสียหายให้เกิดน้อยที่สุด พยายามกู ้
สถานการณ์ให้กลับมาเป็ นปกติโดยเร็ว
การต่อรองเป็ นประโยชน์ไม่เพียงในเหตุการณ์

วิกฤติ แต่ยงใช้ได้กบการบริหาร การต่อรองที่ดี
ั
ั
อยูที่ความสนใจร่วมกัน ไม่ใช่จุดยืนของแต่ละฝ่ าย
่
มีสายการบังคับบัญชาที่แน่นอน บุคลากรต้อง
ทราบว่าใครมีอานาจตัดสินใจก่อนที่วิกฤติจะเกิด
บุคคลมีการตอบสนองต่อแรงกดดันไม่เหมือนกัน
ต้องเปิ ดใจให้กว้าง ในการช่วยทีมงานแก้ปัญหาที่
แตกต่างกันออกไป
By Scott Berkun
Publisher: O'Reilly
Pub Date: April 2005
ISBN: 0-596-00786-8
Pages: 392

Chapter Eleven. What to do when things go wrong
"All know the way; few actually walk it."
When things go wrong ทำอย่างไรดีเมื่อเกิดข้อผิดพลาด

Contenu connexe

En vedette

Leadership series 1 of 6 key attributes of driving performance พฤติกรรมสู่...
Leadership series 1 of  6   key attributes of driving performance พฤติกรรมสู่...Leadership series 1 of  6   key attributes of driving performance พฤติกรรมสู่...
Leadership series 1 of 6 key attributes of driving performance พฤติกรรมสู่...
maruay songtanin
 
Decision making 1 ตัดสินใจอย่างฉลาด
Decision making 1 ตัดสินใจอย่างฉลาดDecision making 1 ตัดสินใจอย่างฉลาด
Decision making 1 ตัดสินใจอย่างฉลาด
maruay songtanin
 
Leadership series 3 of 6 best practices in communication การปฏิบัติที่เป็น...
Leadership series 3 of  6   best practices in communication การปฏิบัติที่เป็น...Leadership series 3 of  6   best practices in communication การปฏิบัติที่เป็น...
Leadership series 3 of 6 best practices in communication การปฏิบัติที่เป็น...
maruay songtanin
 
Leadership 2.0 (adaptive leadership) ภาวะผู้นำ 2.0
Leadership 2.0 (adaptive leadership) ภาวะผู้นำ 2.0Leadership 2.0 (adaptive leadership) ภาวะผู้นำ 2.0
Leadership 2.0 (adaptive leadership) ภาวะผู้นำ 2.0
maruay songtanin
 
The 360º Leader ผู้นำทุกทิศ
The 360º Leader ผู้นำทุกทิศThe 360º Leader ผู้นำทุกทิศ
The 360º Leader ผู้นำทุกทิศ
maruay songtanin
 
Decision making 3 ค้นหาแนวความคิดที่มีความหลากหลาย
Decision making 3 ค้นหาแนวความคิดที่มีความหลากหลาย Decision making 3 ค้นหาแนวความคิดที่มีความหลากหลาย
Decision making 3 ค้นหาแนวความคิดที่มีความหลากหลาย
maruay songtanin
 
Decision making 2 ต้องกล้า อย่าอ่อนแอ
Decision making 2 ต้องกล้า อย่าอ่อนแอDecision making 2 ต้องกล้า อย่าอ่อนแอ
Decision making 2 ต้องกล้า อย่าอ่อนแอ
maruay songtanin
 
Strategic leadership system 1 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 1
Strategic leadership system 1 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 1Strategic leadership system 1 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 1
Strategic leadership system 1 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 1
maruay songtanin
 
9 steps to HPO - 9 วิธีปฏิบัติสู่ HPO
9 steps to HPO - 9 วิธีปฏิบัติสู่ HPO 9 steps to HPO - 9 วิธีปฏิบัติสู่ HPO
9 steps to HPO - 9 วิธีปฏิบัติสู่ HPO
maruay songtanin
 

En vedette (20)

Leadership series 1 of 6 key attributes of driving performance พฤติกรรมสู่...
Leadership series 1 of  6   key attributes of driving performance พฤติกรรมสู่...Leadership series 1 of  6   key attributes of driving performance พฤติกรรมสู่...
Leadership series 1 of 6 key attributes of driving performance พฤติกรรมสู่...
 
The leadership skills handbook ทักษะผู้นำ
The leadership skills handbook ทักษะผู้นำThe leadership skills handbook ทักษะผู้นำ
The leadership skills handbook ทักษะผู้นำ
 
Baldrige awareness series 2 customer driven excellence ความเป็นเลิศเรื่องกา...
Baldrige awareness series 2   customer driven excellence ความเป็นเลิศเรื่องกา...Baldrige awareness series 2   customer driven excellence ความเป็นเลิศเรื่องกา...
Baldrige awareness series 2 customer driven excellence ความเป็นเลิศเรื่องกา...
 
Baldrige awareness series 11 core values ทบทวนค่านิยม
Baldrige awareness series    11 core values ทบทวนค่านิยม Baldrige awareness series    11 core values ทบทวนค่านิยม
Baldrige awareness series 11 core values ทบทวนค่านิยม
 
Decision making 1 ตัดสินใจอย่างฉลาด
Decision making 1 ตัดสินใจอย่างฉลาดDecision making 1 ตัดสินใจอย่างฉลาด
Decision making 1 ตัดสินใจอย่างฉลาด
 
ความรู้เบื้องต้นระบบคุณภาพ
ความรู้เบื้องต้นระบบคุณภาพความรู้เบื้องต้นระบบคุณภาพ
ความรู้เบื้องต้นระบบคุณภาพ
 
Leadership series 3 of 6 best practices in communication การปฏิบัติที่เป็น...
Leadership series 3 of  6   best practices in communication การปฏิบัติที่เป็น...Leadership series 3 of  6   best practices in communication การปฏิบัติที่เป็น...
Leadership series 3 of 6 best practices in communication การปฏิบัติที่เป็น...
 
Leadership 2.0 (adaptive leadership) ภาวะผู้นำ 2.0
Leadership 2.0 (adaptive leadership) ภาวะผู้นำ 2.0Leadership 2.0 (adaptive leadership) ภาวะผู้นำ 2.0
Leadership 2.0 (adaptive leadership) ภาวะผู้นำ 2.0
 
Leadership series 6 of 6 forums and town hall meetings การประชุมใหญ่อย่างม...
Leadership series 6 of  6   forums and town hall meetings การประชุมใหญ่อย่างม...Leadership series 6 of  6   forums and town hall meetings การประชุมใหญ่อย่างม...
Leadership series 6 of 6 forums and town hall meetings การประชุมใหญ่อย่างม...
 
The 360º Leader ผู้นำทุกทิศ
The 360º Leader ผู้นำทุกทิศThe 360º Leader ผู้นำทุกทิศ
The 360º Leader ผู้นำทุกทิศ
 
Leadership series 5 of 6 running effective department meetings การประชุมอย...
Leadership series 5 of  6   running effective department meetings การประชุมอย...Leadership series 5 of  6   running effective department meetings การประชุมอย...
Leadership series 5 of 6 running effective department meetings การประชุมอย...
 
Super motivation 2 การจูงใจที่เป็นเลิศ ภาคที่ 2
Super motivation 2 การจูงใจที่เป็นเลิศ ภาคที่ 2 Super motivation 2 การจูงใจที่เป็นเลิศ ภาคที่ 2
Super motivation 2 การจูงใจที่เป็นเลิศ ภาคที่ 2
 
Strategic leadership system 2 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 2
Strategic leadership system 2 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 2Strategic leadership system 2 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 2
Strategic leadership system 2 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 2
 
Decision making 3 ค้นหาแนวความคิดที่มีความหลากหลาย
Decision making 3 ค้นหาแนวความคิดที่มีความหลากหลาย Decision making 3 ค้นหาแนวความคิดที่มีความหลากหลาย
Decision making 3 ค้นหาแนวความคิดที่มีความหลากหลาย
 
Decision making 2 ต้องกล้า อย่าอ่อนแอ
Decision making 2 ต้องกล้า อย่าอ่อนแอDecision making 2 ต้องกล้า อย่าอ่อนแอ
Decision making 2 ต้องกล้า อย่าอ่อนแอ
 
Leadership series 4 of 6 senior leader rounding ผู้นำตรวจเยี่ยมหน่วยอย่างม...
Leadership series 4 of  6   senior leader rounding ผู้นำตรวจเยี่ยมหน่วยอย่างม...Leadership series 4 of  6   senior leader rounding ผู้นำตรวจเยี่ยมหน่วยอย่างม...
Leadership series 4 of 6 senior leader rounding ผู้นำตรวจเยี่ยมหน่วยอย่างม...
 
Strategic leadership system 1 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 1
Strategic leadership system 1 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 1Strategic leadership system 1 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 1
Strategic leadership system 1 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 1
 
Super motivation 1 การจูงใจที่เป็นเลิศ ภาคแรก
Super motivation 1 การจูงใจที่เป็นเลิศ ภาคแรกSuper motivation 1 การจูงใจที่เป็นเลิศ ภาคแรก
Super motivation 1 การจูงใจที่เป็นเลิศ ภาคแรก
 
9 steps to HPO - 9 วิธีปฏิบัติสู่ HPO
9 steps to HPO - 9 วิธีปฏิบัติสู่ HPO 9 steps to HPO - 9 วิธีปฏิบัติสู่ HPO
9 steps to HPO - 9 วิธีปฏิบัติสู่ HPO
 
Execution การทำให้สำเร็จ
Execution การทำให้สำเร็จExecution การทำให้สำเร็จ
Execution การทำให้สำเร็จ
 

Similaire à When things go wrong ทำอย่างไรดีเมื่อเกิดข้อผิดพลาด

Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านายDo you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
maruay songtanin
 
3 laws of performance กฏ 3 ข้อ ในการกำหนดอนาคตตนเองและองค์กร
3 laws of performance กฏ 3 ข้อ ในการกำหนดอนาคตตนเองและองค์กร3 laws of performance กฏ 3 ข้อ ในการกำหนดอนาคตตนเองและองค์กร
3 laws of performance กฏ 3 ข้อ ในการกำหนดอนาคตตนเองและองค์กร
maruay songtanin
 
Team chemistry เคมีของทีม
Team chemistry เคมีของทีมTeam chemistry เคมีของทีม
Team chemistry เคมีของทีม
maruay songtanin
 
The advice trap กับดักการแนะนำ
The advice trap กับดักการแนะนำThe advice trap กับดักการแนะนำ
The advice trap กับดักการแนะนำ
maruay songtanin
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษา
an1030
 
Kamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjorn tuntaned
Kamjorn tuntaned
KamjornT
 
Controversymanage
ControversymanageControversymanage
Controversymanage
mymy2536
 
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 33.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
Kruthai Kidsdee
 
Basic concept sararud
Basic concept sararudBasic concept sararud
Basic concept sararud
svuthiarpa
 
Conflict management การจัดการความขัดแย้ง
Conflict management การจัดการความขัดแย้งConflict management การจัดการความขัดแย้ง
Conflict management การจัดการความขัดแย้ง
maruay songtanin
 
บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑
Tuk Diving
 
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
bussaba_pupa
 

Similaire à When things go wrong ทำอย่างไรดีเมื่อเกิดข้อผิดพลาด (19)

Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านายDo you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
 
3 laws of performance กฏ 3 ข้อ ในการกำหนดอนาคตตนเองและองค์กร
3 laws of performance กฏ 3 ข้อ ในการกำหนดอนาคตตนเองและองค์กร3 laws of performance กฏ 3 ข้อ ในการกำหนดอนาคตตนเองและองค์กร
3 laws of performance กฏ 3 ข้อ ในการกำหนดอนาคตตนเองและองค์กร
 
Positive thinking enhacing lifestyle
Positive thinking enhacing lifestylePositive thinking enhacing lifestyle
Positive thinking enhacing lifestyle
 
Team chemistry เคมีของทีม
Team chemistry เคมีของทีมTeam chemistry เคมีของทีม
Team chemistry เคมีของทีม
 
The advice trap กับดักการแนะนำ
The advice trap กับดักการแนะนำThe advice trap กับดักการแนะนำ
The advice trap กับดักการแนะนำ
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษา
 
Kamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjorn tuntaned
Kamjorn tuntaned
 
Controversymanage
ControversymanageControversymanage
Controversymanage
 
Teams work
Teams workTeams work
Teams work
 
Teams work
Teams workTeams work
Teams work
 
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องสรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
 
7 habits (19 5-2554)
7 habits (19 5-2554)7 habits (19 5-2554)
7 habits (19 5-2554)
 
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้วนางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
 
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 33.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
 
Basic concept sararud
Basic concept sararudBasic concept sararud
Basic concept sararud
 
Conflict management การจัดการความขัดแย้ง
Conflict management การจัดการความขัดแย้งConflict management การจัดการความขัดแย้ง
Conflict management การจัดการความขัดแย้ง
 
Eb chapter2
Eb chapter2Eb chapter2
Eb chapter2
 
บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑
 
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
 

Plus de maruay songtanin

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
maruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
maruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
maruay songtanin
 

Plus de maruay songtanin (20)

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 

When things go wrong ทำอย่างไรดีเมื่อเกิดข้อผิดพลาด

  • 2. No matter what you do, how hard you work, or who you work with, things will still go wrong. ่ ่ คนทีไม่เคยผิดพลาดคือคนทีไม่ทาอะไรเลย
  • 4. The real test is not when we are successful when there is no adversary, but when there is and we triumph.
  • 6. "You can blame people who knock things over in the dark, or you can begin to light candles. You're only at fault if you know about the problem and choose to do nothing."
  • 7. ้  ตังสติให้ดี (หายใจลึก ๆ อย่ากลัว อย่าโกรธ อย่า คับแค้นจนเกินเหตุ เพราะจะทาให้สถานการณ์เลว ลง เพราะอารมณ์จะส่งผลต่อพฤติกรรม และการ ตัดสินใจ)  ประเมินสถานการณ์ของปั ญหา (ระดับความ รุนแรง ดูว่าเป็ นปั ญหาของผูใด อย่าเป็ นกระต่าย ้ ตืนตูม ถามหาข้อเท็จจริง ประเมินความเสียหาย ่ คร่าว ๆ )
  • 8. ้ ้  ตังสติให้ดีอีกครัง (ระบายความเครียดให้ปลอดภัย และถูกวิธี เช่น ออกกาลังกาย ตะโกนให้กองฟ้ า ้ พูดคุยกับผูรูใจ แล้วค่อยกลับมาแก้ปัญหา ถ้าคุณ ้้ เป็ นผูนาหน่วย ให้กาวออกมารับผิดชอบ ไม่ว่าใคร ้ ้ จะเป็ นคนก่อเรื่อง)  เรียกคนที่ถูกต้องเข้ามาแก้ปัญหา (มีหน้าที่ มี ความรู ้ เป็ นประโยชน์ สื่อสารมอบอานาจให้จดการ ั และหนุนหลัง พยายามใช้คนให้นอยที่สุด) ้
  • 9.  ถ้าเป็ นเรื่องสาคัญเร่งด่วน ต้องให้สญญาณว่า ั เป็ นเรื่องด่วนจริง ๆ  พยายามใช้แผนที่เรียบง่าย(เลือกแผนที่ดีที่สุด อาจต้องมอบอานาจ ไม่จาเป็ นต้องสมบูรณ์ แบบ มีคนสองกลุมที่ตองสื่อ กลุมแรกคือผูที่มี ่ ้ ่ ้ อานาจตัดสินใจ อีกกลุมคือผูที่เกี่ยวข้องจัดการ ่ ้ เรื่องโดยตรง)
  • 10.  จัดการเรื่องให้เรียบร้อย (โดยมีการติดตาม ความก้าวหน้าเป็ นรายชั ่วโมง รายวัน หรือราย สัปดาห์ ตามความเหมาะสม)  เรียนรู ้ (หลังเกิดเหตุทุกครั้ง ต้องเกิดการ เรียนรูเ้ พื่อป้ องกันการเกิดเหตุซ้า ไม่จาเป็ นว่า บุคลากรต้องเป็ นกลุมที่แก้ปัญหาโดยตรง แต่ ่ เป็ นกลุมที่มีผลกระทบ) ่
  • 11.
  • 12.  เราจะรูได้อย่างไรว่าเกิดปั ญหา ? ้  เมื่อ มีช่องว่างของสิ่งที่วางแผนไว้กบสิ่งที่เป็ น ั จริง  เมื่อ เกิดความสับสนว่าอะไรเป็ นสาเหตุปัญหา  และไม่รูว่าจะใช้วิธีใดในการลดช่องว่างนั้น ้
  • 13.  สาเหตุปัญหาส่วนมากเกิดจาก  การมองข้ามความเป็ นจริง  การที่ทีมถูกบังคับให้ทาอะไรอย่างโง่เขลา  ไม่เป็ นไปตามเวลาหรือขาดทรัพยากร  คุณภาพที่ตกต ่า  การเปลี่ยนแปลงทิศทาง
  • 14.  สาเหตุปัญหาส่วนมากเกิดจาก (ต่อ)  เป็ นเรืองส่วนตัวของบุคลากรหรือทีมงาน ่  การไม่ลงรอยกันหรือขัดแย้งกัน  การดื้อดึงหรือขัดขืน
  • 15. Taking responsibility for something doesn't make it your fault: it means that you will deal with the consequences and be accountable for resolving the situation.
  • 16.  การที่เรามองใครคนใดคนหนึ่งว่าเป็ นคนที่ พูดคุยด้วยยาก ให้กลับมามองว่าทาไมเราจึงมี ความคิดเช่นนั้น ควรคิดว่าเป็ นโอกาสของเราใน การเรียนรู ้ แล้วเราจะเจอคนประเภทนี้ลดลง ๆ  วุฒิภาวะในการกล้าเผชิญกับเรื่องยาก ๆ เป็ น โอกาสให้เราได้แสดงฝี มือต่างหากในเรื่องการ จัดการกับปั ญหาและพฤติกรรมของผูอื่น ้
  • 17.  การรับผิดชอบไม่ว่าจะแก้ปัญหาได้หรือไม่ก็ตาม เป็ นการได้รบอานาจ และได้ช้ ีแจงเรืองราวกับ ั ่ ผูบริหารสูงสุด (ถ้าจะดับเพลิงต้องเรียนรูทกษะใน ้ ้ ั การป้ องกันตัวและระวังไฟลวกไว้ดวย) ้  การมอบอานาจอาจเป็ นเครื่องมือที่ดีที่สุดที่เราทา ได้แต่ตองมีเทคนิค คือ บอกกล่าวว่า “ยังไม่สนใจ ้ สาเหตุ ณ ตอนนี้ เรารับผิดชอบเอง สิ่งที่อยากให้ คุณช่วยขณะนี้คือ ...”
  • 18. Imagine being the pilot of a 747 that has just lost all engine power. Until you've restored power, not much else matters.
  • 19.  การจัดการเร่งด่วนที่สุดคือ การแก้ไขเหตุการณ์ ให้เข้าสู่ภาวะปกติโดยเร็วที่สุด  ในการควบคุมความเสียหาย ไม่มีเวลามากมาย จะมาคิดถึงเรื่องทางเลือกอื่น ๆ มีบางสิ่งที่ตอง ้ แก้ไขเร่งด่วนเท่านั้น
  • 20.  จัดประชุมด่วน  ถ้าผูคนไม่เห็นด้วย หาจุดตกลงร่วมกัน ้  ถอยไปหาจุดเดิมที่รูว่าปกติ ้  แยกปั ญหาออกมาให้ได้  ต้องใช้ทรัพยากรอะไร และ เท่าใด
  • 21. "What should worry us is not the number of people that oppose us, but how good their reasons are for doing so."
  • 22.  การมีความเห็นที่ไม่ลงรอยกัน แต่เคารพสิทธิ ซึ่งกันและกัน เป็ นจุดต่างที่ทาให้เกิด ความก้าวหน้า (เมื่อจัดการความเห็นต่างและ ปรับเป็ นแรงบวก)  การหาจุดรอมชอมเมื่อเกิดเหตุการณ์วิกฤติเป็ น เรื่องสาคัญ โดยอาศัยแนวคิดจาก Getting to Yes ของ Roger Fisher
  • 23.  พยายามหาจุดที่เห็นพ้องต้องกัน (ต้องมีบาง ้ เช่น โลกกลม โครงการต้องเสร็จทันเวลา ฯลฯ)  ดูว่าอะไรที่เป็ นเรื่องส่วนตัว แล้วอย่าสนใจจุด นั้นอีก (เพราะจะทาให้เรากลายเป็ นคู่แข่งหรือ คู่ตอสูแทน ถ้าเราไม่พอใจคนที่เจรจาด้วย ่ ้ พยายามแยกความรูสึกนั้น หรือหาคนมาแทน) ้
  • 24.  หาสิ่งที่เป็ นผลประโยชน์รวมกัน (ได้ท้งสองฝ่ าย ่ ั หาสิ่งที่เป็ นเป้ าหมายร่วมกันได้ ไม่ใช่ยดจุดยืนของ ึ แต่ละฝ่ ายเป็ นหลัก หาเป้ าหมายร่วมที่กว้าง ๆ ที่มี ได้หลากหลายรูปแบบและหลากหลายวิธี บันทึก สิ่งที่สนใจร่วมกันไว้เพื่อนามาสูขอตกลง) ่ ้  เข้มแข็งแต่ไม่แข็งกระด้าง (มีความยืดหยุนตาม ่ สมควร ถ้าไม่มีความยืดหยุนเลยก็ไม่ควรมา ่ เจรจา)
  • 25.  รูจกทางเลือก (ทั้งสองฝ่ ายควรรูว่าจะเสียหาย ้ั ้ อย่างไรถ้าเจรจาไม่สาเร็จ ทางเลือกอื่น Best Alternative To Negotiated Agreement (BATNA) ที่ฝ่ายใด มีมาก ฝ่ ายนั้นก็จะถือไพ่เหนือกว่า เพราะมีทางเลือก ได้อีกหลายทาง)  การเกลี้ยกล่อม (ขึ้ นกับการรูซ้ ึงของเราต่อฝ่ ายตรง ้ ข้าม ใช้ทกษะการเจรจา เหตุผล จิตวิทยา ั ประสบการณ์ และลักษณะบุคลิกของเรา)
  • 26.  ถ้าทั้งคู่อยูในองค์กรเดียวกัน ให้ช้ ีไปที่ ่ เป้ าประสงค์ขององค์กร  ถ้ามาจากต่างองค์กรกัน ให้หาว่าแล้วมาทา ธุรกรรมร่วมกันทาไม อะไรคือผลประโยชน์ ร่วมกันในการแลกเปลี่ยนงานหรือทรัพยากร (โดยมากมักต้องทาสัญญา)
  • 27. 1. ใช้หลักการเจรจา (คู่กรณีคือผูที่ช่วยแก้ปัญหาไม่ใช่ศตรู ้ ั ทางออกที่ดีไม่ใช่การแพ้หรือชนะ) 2. แยกคนออกจากปั ญหา (อ่อนโยนเรื่องคน เข้มแข็งเรื่องปั ญหา ดาเนินการต่อไม่ว่าจะชอบคู่กรณีหรือไม่) 3. หาจุดสนใจ ไม่ใช่จดยืน (หาจุดสนใจร่วมทั้งสองฝ่ าย พยายาม ุ เลี่ยงจุดสุดท้าย) 4. ทางเลือกที่เป็ นประโยชน์รวม (ระดมสมอง ไม่ปิดกั้นความคิด ่ ผูอื่น แล้วเลือกสิ่งที่ดีที่สุดในตอนท้าย) ้ 5. การใช้มาตรฐาน (ที่เป็ นสากล และ ใช้หลักการและเหตุผล)
  • 28.  การแข่งขันกีฬาเป็ นทีม มีปัจจัยสาคัญสองอย่างที่ สาคัญ คือ การไว้ใจซึ่งกันและกัน และ การรูจก ้ั บทบาทหน้าที่ของตนเองที่มีตอทีม ่  ทีมที่ดอยประสบการณ์หรือยังไม่แก่กล้าพอจะ ้ ระส ่าระสายเมื่อเผชิญกับสิ่งเลวร้าย ดังนั้นหัวหน้า ทีมต้องกระตุนให้ทุกคนรูบทบาทหน้าที่ที่ตนมีตอ ้ ้ ่ ทีมและสิงที่คาดหวังจากเพื่อนร่วมทีม ่
  • 29.  หัวหน้าทีมต้องให้กาลังใจและปกป้ องลูกทีมที่ ทางานอย่างเต็มที่แล้ว  ปั ญหาของทีมโดยมากเกิดจาก ขาดการสื่อสาร ที่ดี ทาผิดโดยไม่ได้ต้งใจ ความไม่ไว้วางใจกัน ั การไม่ทาตามบทบาทหน้าที่ของตน
  • 30.  ทุกคนที่เกี่ยวข้องควรรูว่าใครเป็ นผูตดสินใจ ้ ้ ั (การจัดการสายบังคับบัญชาของทหารเป็ น ตัวอย่างที่เห็นชัด)  ทุกหน่วยงานควรมีกระบวนการที่ชดเจนว่าใคร ั เป็ นผูตดสินใจ และเกี่ยวข้องกับผูใดบ้าง ้ ั ้  ผูที่มีอานาจตัดสินใจมีสิทธิมอบอานาจให้ผที่ ้ ู้ เหมาะสมจัดการแทนได้แต่ยงคงรับผิดชอบอยู่ ั
  • 31. To be under pressure means that there are constraints that can't be moved and must be dealt with.
  • 32.  ความกดดันเกิดเมื่อมีแนวโน้มว่ามีโอกาสล้มเหลว ได้ เช่น การโต้วาที การชูตลูกก่อนหมดเวลา ้  บุคคลมีการตอบสนองต่อแรงกดดันต่างกันออกไป  การลดแรงกดดัน จะไม่มีเกิดผลเสียเลย เช่น การ ออกกาลังกาย ฟั งเรืองขาขัน ฯลฯ และไม่ได้แสดง ่ ว่าเราอ่อนแอ
  • 33.  ความกดดัน แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ เป็ นไป ตามธรรมชาติของสถานการณ์ และเป็ นเพราะ มนุษย์ผอื่นสร้างขึ้นเพื่อสร้างแรงกดดัน ู้  ทั้งสองอย่างสามารถเป็ นไปได้ท้งแง่บวกและแง่ลบ ั เช่น ความกดดันก่อนนาเสนอผลงาน (ธรรมชาติ) การขอให้ทีมทางานหนักขึ้นอีก (มนุษย์สร้าง)  ต้องอาศัยประสบการณ์ผบริหารในการใช้ ู้ ประโยชน์
  • 34.  ตามธรรมชาติ เมื่อมีแรงกดดัน ทีมจะทางาน ได้ดีข้ ึน เมื่อมีแรงกดดันเพิ่มขึ้นจนถึงจุดหนึ่ง ทีมจะไม่สามารถทาได้เพิ่มอีก  ดังนั้น จงสังเกตให้ดี เช่น เมื่อสั ่งให้ทางานเพิ่ม ทีมมีท่าหมดแรง หรือเดินคอตกแบบไร้ เรี่ยวแรง ควรให้ทีมได้พก ให้คลายเครียดหรือ ั ควรยืดระยะเวลาออกไป
  • 35.  การรับรูเรื่องของอารมณ์ ้  Virginia Satir ได้เขียนตาราด้านจิตวิทยาหลายเล่ม กล่าวว่า การที่บุคคลแสดงออกไม่เหมือนกัน เกิดจาก การแสดงออกของอารมณ์ที่ตอเนื่องมาจากอารมณ์ที่ ่ เกิดขึ้นครั้งแรกสุด  เช่นมีคนบอกว่าคุณมีกลิ่นแปลก ๆ ทีแรกความรูสึกว่า ้ แย่หรือหดหู่ แต่ความรูสึกต่อมาจะเป็ นความโกรธ แล้ว ้ การแสดงอารมณ์จะออกมาเป็ นโกรธ โมโหผูน้ันแทน ้
  • 36.  การแสดงออกของอารมณ์ที่สองนั้น เกิดจากการ เรียนรูของบุคคลนั้น ๆ เช่น เรียนรูจากผูปกครอง ที่ ้ ้ ้ เรียนรูมาจากบุพการีอีกต่อหนึ่ง และมีโอกาส ้ ถ่ายทอดไปสูบุตรหลานได้ ่  ต่างจากบุคคลที่มีภาวะเติบโตแล้วจะแสดงอารมณ์ ได้อย่างระมัดระวังตน (หัวหน้างานควรสังเกตุภาวะ อารมณ์ให้ออก จักได้ใช้ประโยชน์ตอไป) ่
  • 37.  พวกทีอยากเป็ นพระเอก (เพราะชอบความเสี่ยง) ่  ไม่จาเป็ นต้องมีแผนงาน (ฉันจะพิสูจน์ให้ดู)  อัศวินเดี่ยว (ข้ามาคนเดียว ไม่สนใจใคร)  พระเอกจอมปลอม (สร้างสถานการณ์ เพื่อให้ตนเองดูดี)  มีนายที่เบาปั ญญา (คอยพึ่งแต่อศวิน ไม่ดให้รอบคอบ) ั ู  ลูกอีช่างติ (ติได้ทุกเรือง แล้วสบายใจ) ่  วิธีแก้คือมีทีมบริหารจัดการที่ดี ไม่ข้ ึนกับบุคคลเดียว
  • 38. ไม่ว่าคุณทาอะไร มีโอกาสพลาดพลั้งได้ ถ้าคุณมีสติ พยายามแก้ปัญหาทีละเล็กทีละน้อย คุณมีโอกาสแก้ปัญหาได้ (อย่าลืมแนวทาง เบื้องต้น) มีสถานการณ์คาดได้ คือ การละเลยสิ่งที่ควรทา ทาในสิ่งที่ไม่ควรทา ทรัพยากรที่จะใช้มีไม่ เพียงพอ คุณภาพต ่า สถานการณ์เปลี่ยนไป ปั ญหา ของปั จเจกบุคคล การขัดขืนไม่เชื่อฟั ง
  • 39. ในวิกฤติเป็ นโอกาสของการเรียนรู ้ จงเรียนรูว่า ้ อะไรคือสาเหตุ และจะป้ องกันไม่ให้เกิดซ้าได้ อย่างไร หัวหน้าต้องมีความรับผิดชอบ ไม่ว่าใครเป็ นผู ้ ก่อเรื่อง ให้พยายามช่วยแก้ปัญหาอย่างเต็มที่ ในสถานการณ์ที่รุนแรง ให้ใช้มาตรการควบคุม ความเสียหายให้เกิดน้อยที่สุด พยายามกู ้ สถานการณ์ให้กลับมาเป็ นปกติโดยเร็ว
  • 40. การต่อรองเป็ นประโยชน์ไม่เพียงในเหตุการณ์ วิกฤติ แต่ยงใช้ได้กบการบริหาร การต่อรองที่ดี ั ั อยูที่ความสนใจร่วมกัน ไม่ใช่จุดยืนของแต่ละฝ่ าย ่ มีสายการบังคับบัญชาที่แน่นอน บุคลากรต้อง ทราบว่าใครมีอานาจตัดสินใจก่อนที่วิกฤติจะเกิด บุคคลมีการตอบสนองต่อแรงกดดันไม่เหมือนกัน ต้องเปิ ดใจให้กว้าง ในการช่วยทีมงานแก้ปัญหาที่ แตกต่างกันออกไป
  • 41. By Scott Berkun Publisher: O'Reilly Pub Date: April 2005 ISBN: 0-596-00786-8 Pages: 392 Chapter Eleven. What to do when things go wrong
  • 42. "All know the way; few actually walk it."