SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  41
Télécharger pour lire hors ligne
Free Powerpoint Templates
Page 1
Free Powerpoint Templates
บทที่ 1
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รายวิชาชีววิทยา 1 (ว30241)
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
Free Powerpoint Templates
Page 2
ครูผู้สอน
• นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 เอกวิชาชีววิทยา
ประวัติการศึกษา :
– พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกรียตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล
– พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
– พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
– พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
– พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา
เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
Free Powerpoint Templates
Page 3
ชีววิทยา (Biology)
ชีววิทยา = การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต (Biology is the scientificstudy of life)
ภาษากรีก : Bios = สิ่งมีชีวิต + Logos = ความคิด,เหตุผล,การศึกษา
สามารถศึกษาได้หลายระดับ
- ศึกษาในระดับใหญ่ เช่น การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประชากรสิ่งมีชีวิต (poppulation)
และสิ่งแวดล้อม (environment) หรือสิ่งมีชีวิตกลุ่มต่างๆ (community) การศึกษาลักษณะ
รูปร่าง (Structure) การดารงชีวิต (living process) และการจัดจาแนกสิ่งมีชีวิต
(classification)
- ศึกษาในระดับย่อย เช่น การศึกษาองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต (อวัยวะ/organ เนื้อเยื่อ/tissue
เซลล์/cell) ทั้งในด้านโครงสร้าง (antomy or morphology) และหน้าที่การทางาน
(physiology)
- ศึกษาในระดับโมเลกุล/อะตอม เช่น DNA, RNA (geneticsmaterial) สารอินทรีย์ (organic
substance) และอะตอมของธาตุต่างๆ รวมถึงปฏิกิริยาเคมี (metabolism) และพลังงานในเซลล์
ของสิ่งมีชีวิต (ATP : adenosine triphophate)
Free Powerpoint Templates
Page 4
ปรากฏการณ์แห่งชีวิต : ลองให้คานิยามเกี่ยวกับภาพนี้
Free Powerpoint Templates
Page 5
ชีววิทยา (Biology)
- ชีววิทยามีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านต่างๆ หลายสาขา ทั้งเคมี (chemistry)
ฟิสิกส์ (physics) คณิตศาสตร์ (mathematics) และคอมพิวเตอร์ (computer) ที่สามารถ
ประยุกต์นามาใช้อธิบาย (explain) หรือจาลองความเป็นไปของสิ่งมีชีวิต (modeling or
pattern) เพื่อตอบปัญหาต่างๆ ที่มนุษย์สงสัย (observation and questioning)
- คุณสมบัติของสิ่งมีชีวิต
1. มีโครงสร้างและการทาหน้าที่อย่างเป็นระบบ (Specific Organization)
2. มีการรักษาสมดุลภายในร่างกาย (Homeostasis)
3. มีการปรับตัว (Adaptation)
4. มีการสืบพันธุ์และถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม (Reproduction and Heredity)
5. มีการเจริญเติบโตและพัฒนารูปร่าง (Growth and Development)
6. มีความต้องการพลังงาน (Energy) และสร้างพลังงาน
7. มีการรับรู้ต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้น (Sensitivity)
8. มีปฏิสัมพันธ์ (Interaction) กับสิ่งแวดล้อม
Free Powerpoint Templates
Page 6
ตัวอย่างคุณสมบัติบางอย่างของสิ่งมีชีวิต
Free Powerpoint Templates
Page 7
โครงสร้างและการทาหน้าที่อย่างเป็นระบบ (Specific Organization)
- ในสิ่งมีชีวิต (living organism) โดยเฉพาะสิ่งมีชีวิตชั้นสูง (Higher level) จะมีการทางาน
ประสาน (cooperation) กันตั้งแต่ระดับหน่วยย่อย (basic unit) ภายในเซลล์ (Organelle) กลุ่ม
เซลล์หรือเนื้อเยื่อ (Tissue) และอวัยวะ (Organ) ต่างๆ อย่างเป็นระบบ (organ system) เพื่อการ
ทางานที่มีประสิทธิภาพ
Free Powerpoint Templates
Page 8
Free Powerpoint Templates
Page 9
Free Powerpoint Templates
Page 10
การรักษาสมดุลภายในร่างกาย (Homeostasis)
- เพื่อให้ร่างกายอยู่ในสภาพปกติ จึงต้องอาศัยกระบวนการต่างในการควบคุม เช่น การรักษา
ระดับอุณหภูมิ (temperaturebalance: 37องศาเซลเซียส) การรักษาค่าความเป็นกรด-เบส
(pH : 7) และความเข้มข้นของสารต่างๆ (concentration) ให้อยู่ในจุดที่ไม่เป็นอันตรายต่อเซลล์
Free Powerpoint Templates
Page 11
การปรับตัว (Adaptation)
การปรับตัวของสิ่งมีชีวิตเป็นไปเพื่อให้สามารถอยู่รอด (survival) ในสิ่งแวดล้อมที่มันอาศัย
อยู่ (habitat) และสามารถสืบทอดลูกหลานต่อไปได้ (reproduction) ส่งผลก่อให้เกิด
วิวัฒนาการ (Evolution) เกิดเอกลักษณ์ในแต่ละชนิดและสายพันธุ์ (variation)
ตัวอย่างของสิ่งมีชีวิตพยายามปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมอยู่เสมอ เช่น
@ การเปลี่ยนสีของผิวหนังในสัตว์เลื้อยคลานเตามสภาพแวดล้อมพื่ออาพรางศัตรู
@ การที่ปลามีรูปร่างเพรียวและมีเมือกเคลือบที่ผิวลาตัวเพื่อลดแรงต้านกระแสน้า
@ การเกิดรากค้าจุนของต้นโกงกางเพื่อการพยุงลาต้นให้สามารถตั้งตรงบนดินเลนได้
Free Powerpoint Templates
Page 12
Free Powerpoint Templates
Page 13
Feedback Regulation in Biological Systems
Calcitonin form parathyroid gland
Free Powerpoint Templates
Page 14
Feedback Regulation in Biological Systems
Oxytocin form posterior pituitary gland
Free Powerpoint Templates
Page 15
การสืบพันธุ์และถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
(Reproduction and Heredity)
- สิ่งมีชีวิตต้องสามารถสืบพันธุ์ได้ เพื่อดารงเผ่าพันธุ์ไว้ไม่ให้สูญสิ้นไป นับเป็นคุณสมบัติที่
สาคัญที่สุดของการเป็นสิ่งมีชีวิต : Virus and Viroid จัดเป็นอนุภาคของสิ่งมีชีวิต
- การสืบพันธุ์ แบ่งเป็น แบบอาศัยเพศ (sexual) และ แบบไม่อาศัยเพศ (asexual)
- เมื่อมีการสืบพันธุ์ สิ่งมีชีวิตจะถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมไปยังลูกหลาน โดยอาศัยสาร
พันธุกรรมซึ่งได้แก่ DNA และ RNA (ตัวเก็บรหัสทางพันธุกรรมของรุ่นพ่อ-แม่)
Free Powerpoint Templates
Page 16
Free Powerpoint Templates
Page 17
Free Powerpoint Templates
Page 18
Free Powerpoint Templates
Page 19
Free Powerpoint Templates
Page 20
Free Powerpoint Templates
Page 21
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
1
2 3
4
Free Powerpoint Templates
Page 22
การเจริญเติบโตและพัฒนารูปร่าง (Growth and Development)
การเจริญเติบโตหลังจากกระบวนการปฏิสนธิ (fertilization) เป็นไซโกต (zygote) พัฒนา
ต่อเป็นเอ็มบริโอ (embryo) และตัวเต็มวัย (adult) โดยเซลล์จะต้องมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้
• การเพิ่มจานวน (cell division) : cell mitosis
• การเพิ่มขนาดของเซลล์ และขนาดของร่างกาย (growth) : increase cytoplasm
• การเปลี่ยนแปลงรุปร่าง (cell differentiation) : specific function
• การเกิดรูปร่างที่แน่นอน (morphogenesis) : tissue/organ/organ system/organism
Free Powerpoint Templates
Page 23
ความแตกต่างระหว่างการเติบโต (Growth) และ การพัฒนา (Development)
- การเติบโต คือ การแบ่งเซลล์-เพิ่มจานวนเซลล์-ขยายขนาดของเซลล์ วัดได้ง่าย เห็นการเปลี่ยนแปลงชัดเจน
- การพัฒนา คือ การเติบโตร่วมกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ทั้งรูปร่าง-ลักษณะทางสรีระวิทยา-ชีวเคมี
Free Powerpoint Templates
Page 24
ความต้องการพลังงานและสร้างพลังงาน (Energy for living)
- สิ่งมีชีวิตต้องการพลังงานเพื่อนามาสร้างสาร ATP โดยผ่านกระบวนการ Metabolism โดย
แบ่งออกเป็น กระบวนการสลายสาร (Catabolism) และกระบวนการสร้างสาร (Anabolism)
- ATP (Adenosinetriphosphate)เป็นสารเคมีหลักที่ใช้ในการขับเคลื่อนกิจกรรมต่างๆ ภายใน
เซลล์ของร่างกายสิ่งมีชีวิต เช่น การสืบพันธุ์ การเจริญเติบโต การเคลื่อนไหว ฯลฯ
- พลังงานที่สิ่งมีชีวิตต้องการ อาจได้มาจากแหล่งต่างๆ เช่น พืชได้พลังงานจากแสงอาทิตย์
(light energy) สัตว์ได้พลังงานจากปฏิกิริยาเคมี (chemicalenergy) ของสารอินทรีย์และ
สารอนินทรีย์ ส่วนไวรัสและไวรอยด์ได้รับพลังงานจากสิ่งมีชีวิตอื่น (intracellular parasite)
photosynthesis
Cellular respiration
Free Powerpoint Templates
Page 25
พลังงานอย่างน้อย ประมาณ 7.3 kCal/mol
Free Powerpoint Templates
Page 26
Free Powerpoint Templates
Page 27
การรับรู้ต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้น (Irritability)
- สิ่งมีชีวิตสามารถรับรู้ (sensitivity) และตอบสนอง (responsibility) ต่อสิ่งเร้าจากสิ่งแวดล้อม
ทั้งที่อาศัยอยู่ในลักษณะต่างๆ กัน แบ่งเป็นสิ่งแวดล้อมภายนอก (external environment) และ
สิ่งแวดล้อมภายใน (internal environment) เช่น การเจริญเข้าหาแสงของพืช การเจริญเติบโตที่
ช้าลงของจุลินทรีย์เมื่ออยู่ในที่อุณหภูมิต่ากว่า 4 องศาเซลเซียส การเคลื่อนที่เข้าหาสารอาหาร
ของพารามีเซียม (สัตว์จะสังเกตเห็นได้ชัดเจนกว่าเนื่องจากการพัฒนาของระบบประสาท)
Free Powerpoint Templates
Page 28
Irritability for the external environment
Free Powerpoint Templates
Page 29
Irritability for the internal environment
Free Powerpoint Templates
Page 30
ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม (Interaction)
- สิ่งมีชีวิตมีลักษณะเป็นระบบเปิด (Open System) ซึ่งมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมได้
ตลอดเวลาโดยมีการรับพลังงานจากอาหาร (food) ที่เข้าสู่ร่างกาย โดยผ่านกระบวนการ
ย่อย (digestion) เป็นสารอาหาร (nutrient) และขับถ่ายของเสีย (excretion) ออกสู่
สิ่งแวดล้อม รวมทั้งมีความสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน (population) และสิ่งมีชีวิต
ชนิดอื่น (community) ในรูปแบบต่างๆ เช่น การอยู่ร่วมกันแบบพึ่งพาอาศัย (Symbiosis)
การเป็นปฏิปักษ์ต่อกัน (Predation) และการเบียดเบียนสิ่งมีชีวิตอื่น (Parasitism) เป็นต้น
- ระบบนิเวศ (ecosystem) คือ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตหรือสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
Free Powerpoint Templates
Page 31
Free Powerpoint Templates
Page 32
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
1 2
3 4
Free Powerpoint Templates
Page 33
สาขาของชีววิทยา (Biological branch)
1. ศึกษาสิ่งมีชีวิตแต่ละกลุ่มของสิ่งมีชีวิต
1.1) สัตววิทยา (Zoology) แบ่งออกเป็น
- สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง (invertebrate) - สัตว์มีกระดูกสันหลัง (Vertebrate)
- มีนวิทยา (Icthyology) - สังขวิทยา (Malacology)
- ปักษินวิทยา (Ornithology) - วิทยาสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (Mammalogy)
- กีฎวิทยา (Entomology) - วิทยาเห็บไร (Acarology)
1.2) พฤกษศาสตร์ (Botany) ศึกษาเรื่องราวต่างๆ ของพืช เช่น
- พืชชั้นต่า (Lower plant) - พืชมีท่อลาเลียง (Vascular plants)
- พืชมีดอก (Angiosperm)
1.3) จุลชีววิทยา (Microbiology) ศึกษาเรื่องราวต่างๆ ของจุลินทรีย์ เช่น
- วิทยาแบคทีเรีย (Bacteriology) - วิทยาไวรัส (Virology)
- วิทยาสัตว์เซลล์เดียว (Protozoology)
Free Powerpoint Templates
Page 34
2. ศึกษาจากโครงสร้างหน้าที่และการทางานของสิ่งมีชีวิต
- กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) - สัณฐานวิทยา (Morphology)
- สรีรวิทยา (Physiology) - พันธุศาสตร์ (Genetics)
- นิเวศวิทยา (Ecology) - เนื้อเยื่อวิทยา (Histology)
- วิทยาเอ็มบริโอ (Embryology) - ปรสิตวิทยา (Parasitology)
- วิทยาเซลล์ (Cytology)
3. ศึกษาเรื่องราวของสิ่งมีชีวิต
- อนุกรมวิธาน (Taxonomy)
- วิวัฒนาการ (Evolution)
- บรรพชีวินวิทยา
(Paleontology)
สาขาของชีววิทยา (Biological branch)
Free Powerpoint Templates
Page 35
Free Powerpoint Templates
Page 36
ทบทวนความรู้
ความเข้าใจ
Free Powerpoint Templates
Page 37
ชีววิทยากับการดารงชีวิต (Biology for Human survive)
- Cloning คือ การสร้างสิ่งมีชีวิตใหม่ที่มีพันธุกรรมเหมือนเดิมทุกประการ (asexual reproduction)
- GMOs (genetically modified organisms) คือ สิ่งมีชีวิตที่มีการตัดและต่อยีนด้วยเทคนิคพันธุวิศวกรรม
(genetic engineering) ทาให้มีลักษณะพันธุกรรมตามต้องการ : new species
- การผสมเทียมในหลอดแก้วเกิดปฏิสนธิแล้วถ่ายฝากตัวอ่อน (embryo) ให้กับแม่อุ้มบุญ (In Vitro
Fertilization Embryo Transfer หรือ IVF& ET )
- การทาอิ๊กซี่ ( Intra Cytoplasmic Sperm Injection หรือ ICSI) คัดเลือกเชื้ออสุจิที่สมบูรณ์เพียงตัวเดียว
ฉีดเข้าไปในเซลล์ไข่โดยตรง ซึ่งใช้ในกรณีที่เด็กหลอดแก้วธรรมดาไม่ประสบความสาเร็จ
- การทากิฟท์ ( Gamete IntraFollopain Transfer หรือ GIF) นาเซลล์สืบพันธุ์ไข่และอสุจิมาผสม
กัน แล้วใส่กลับเข้าสู่ท่อนาไข่ทันที ซึ่งจะอาศัยให้อสุจิและไข่ปฏิสนธิกันเองตามธรรมชาติ
- การทาซิฟท์ ( Zygote IntraFollopain Transfer หรือ ZIFT) เซลล์สืบพันธุ์ไข่และอสุจิมาปฏิสนธินอก
ร่างกายก่อน แล้วจึงนาตัวอ่อนในระยะ Zygote ใส่กลับเข้าไปในท่อนาไข่ส่วนต้น
- การพัฒนาเทคนิคทางด้าน DNA ตรวจหาความสัมพันธ์ทางสายเลือด (DNA fingerprint)
- การผลิตสาหร่ายสไปรูไลนาซึ่งให้โปรตีนสูง (high protein content for nutrition)
- การศึกษาทางด้านพืชสมุนไพรนามาผลิตเป็นยารักษาโรค (medical biology)
- การผลิตฮอร์โมนอินซูลินจากยีสต์เพื่อรักษาโรคเบาหวานในคน (genetic engineering for pharmacy)
Free Powerpoint Templates
Page 38
Free Powerpoint Templates
Page 39
การศึกษาทางด้านชีววิทยาเป็นการศึกษาเรื่องของสิ่งมีชีวิต จึงเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อนเป็นอย่างมาก ใน
การศึกษาและกระทา เพราะอาจจะผิดต่อขนบธรรมเนียมประเพณี กฎหมาย หรือจริยธรรมได้ เช่น
1. การโคลนนิ่งมนุษย์ เพื่อใช้อวัยวะบางส่วนมารักษาโรคหรือเพื่อผลิต ลูกหลานขึ้นมาเพราะอาจมีปัญหา
ต่อสถาบันครอบครัวได้
2. การทาแท้ง ในหลายประเทศสามารถทาแท้งได้แต่ในหลายประเทศก็เป็นการผิดกฎหมาย
3. การใช้สัตว์ทดลองทางชีววิทยา เพื่อสัตว์ก็มีชีวิตเช่นเดียวกับมนุษย์ ดังนั้นการทดลอง ต้องไม่ทรมาน
สัตว์ และใช้สัตว์ให้น้อยที่สุด และได้ผลความรู้มากที่สุด และต้องไม่ผิดกฎหมายด้วย
4. การใช้สารเร่งการเจริญเติบโตในพืชหรือในสัตว์อันจะก่อให้เกิดสารตกค้างได้นอกจากนี้ในปัจจุบันยังมี
การใช้สารเร่งเรื้อแดงให้แก่เนื้อหมู ซึ่งจะมีผลเสียต่อผู้บริโภคได้
5. การใช้สารฟอร์มาลิน ในการแช่ผัก ปลา หรือเนื้อ ช่วยให้ผัก ปลา และ เนื้อเน่าเสียช้าลงแต่เป็นพิษ
ต่อผู้บริโภคเป็นอย่างมาก นอกจากนี้การใช้สารบอร์แรกซ์ใส่ในลูกชิ้นเด้ง การฉีดดีดีที่ให้แก่ปลาเค็ม เนื้อ
เค็ม ก็มีผลเสียต่อผู้บริโภคทั้งสิ้น
6. การผลิตอาวุธชีวภาพ
ชีวจริยธรรม (Bioethics) การปฏิบัติต่อสิ่งมีชีวิตโดยไม่ทาร้าย/อันตรายสิ่งมีชีวิต
Free Powerpoint Templates
Page 40
ชีวจริยธรรม (Bioethics) การปฏิบัติต่อสิ่งมีชีวิตโดยไม่ทาร้าย/อันตรายสิ่งมีชีวิต
สานักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ กาหนดจรรยาบรรณการใช้สัตว์เพื่องานวิจัย งานสอน งาน
ทดสอบ และงานผลิตชีววัตถุไว้ดังนี้
1. ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักถึงคุณค่าของชีวิตสัตว์
2. ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักถึงความแม่นยาของผลงานโดยใช้สัตว์จานวนน้อยที่สุด
3. การใช้สัตว์ป่ าต้องไม่ขัดต่อกฎหมายและนโยบายการอนุรักษ์ป่ า
4. ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักว่าสัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตเช่นเดียวกับมนุษย์
5. ผู้ใช้สัตว์ต้องบันทึกการปฏิบัติต่อสัตว์ไว้เป็นหลักฐานอย่างครบถ้วน
Free Powerpoint Templates
Page 41
The End
Thank You For Your Attention!!!

Contenu connexe

Tendances

ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557Pinutchaya Nakchumroon
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4Puchida Saingchin
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์Phattarawan Wai
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการBiobiome
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์korakate
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่Benjapron Seesukong
 
บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์Wichai Likitponrak
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaWan Ngamwongwan
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 

Tendances (20)

ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์
 
Lesson3 plantgrowth2
Lesson3 plantgrowth2Lesson3 plantgrowth2
Lesson3 plantgrowth2
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 

En vedette

ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาWichai Likitponrak
 
ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3oraneehussem
 
โจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลย
โจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลยโจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลย
โจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลยPin Hatairut
 
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdnaติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdnaWichai Likitponrak
 
บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์Wichai Likitponrak
 
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลWichai Likitponrak
 
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมีเคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันThepsatri Rajabhat University
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Mayuree Paitoon
 
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยนWichai Likitponrak
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป61ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6Wichai Likitponrak
 
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลวWichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพWichai Likitponrak
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารnetzad
 

En vedette (20)

ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยา
 
ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3
 
โจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลย
โจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลยโจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลย
โจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลย
 
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdnaติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
 
บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์
 
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
 
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมีเคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
 
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืช
 
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป61ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
 
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
 
7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม
 
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
 

Similaire à บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต

ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1Wichai Likitponrak
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2Wichai Likitponrak
 
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อมการประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อมQuartz Yhaf
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56krupornpana55
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56krupornpana55
 
บท4สืบพันธุ์สัตว์
บท4สืบพันธุ์สัตว์บท4สืบพันธุ์สัตว์
บท4สืบพันธุ์สัตว์Wichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้citylong117
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1Wichai Likitponrak
 
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรก
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรกเฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรก
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรกWichai Likitponrak
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project tup tup
 

Similaire à บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต (20)

ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
 
1 ecosystem 2
1 ecosystem 21 ecosystem 2
1 ecosystem 2
 
การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
 
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
 
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
 
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อมการประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
บท4สืบพันธุ์สัตว์
บท4สืบพันธุ์สัตว์บท4สืบพันธุ์สัตว์
บท4สืบพันธุ์สัตว์
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
 
Pp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormonePp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormone
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
 
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรก
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรกเฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรก
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรก
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
ติวOnetชีวะ
ติวOnetชีวะติวOnetชีวะ
ติวOnetชีวะ
 

Plus de Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

Plus de Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต

  • 1. Free Powerpoint Templates Page 1 Free Powerpoint Templates บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาชีววิทยา 1 (ว30241) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
  • 2. Free Powerpoint Templates Page 2 ครูผู้สอน • นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 เอกวิชาชีววิทยา ประวัติการศึกษา : – พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกรียตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล – พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช – พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต – พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช – พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
  • 3. Free Powerpoint Templates Page 3 ชีววิทยา (Biology) ชีววิทยา = การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต (Biology is the scientificstudy of life) ภาษากรีก : Bios = สิ่งมีชีวิต + Logos = ความคิด,เหตุผล,การศึกษา สามารถศึกษาได้หลายระดับ - ศึกษาในระดับใหญ่ เช่น การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประชากรสิ่งมีชีวิต (poppulation) และสิ่งแวดล้อม (environment) หรือสิ่งมีชีวิตกลุ่มต่างๆ (community) การศึกษาลักษณะ รูปร่าง (Structure) การดารงชีวิต (living process) และการจัดจาแนกสิ่งมีชีวิต (classification) - ศึกษาในระดับย่อย เช่น การศึกษาองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต (อวัยวะ/organ เนื้อเยื่อ/tissue เซลล์/cell) ทั้งในด้านโครงสร้าง (antomy or morphology) และหน้าที่การทางาน (physiology) - ศึกษาในระดับโมเลกุล/อะตอม เช่น DNA, RNA (geneticsmaterial) สารอินทรีย์ (organic substance) และอะตอมของธาตุต่างๆ รวมถึงปฏิกิริยาเคมี (metabolism) และพลังงานในเซลล์ ของสิ่งมีชีวิต (ATP : adenosine triphophate)
  • 4. Free Powerpoint Templates Page 4 ปรากฏการณ์แห่งชีวิต : ลองให้คานิยามเกี่ยวกับภาพนี้
  • 5. Free Powerpoint Templates Page 5 ชีววิทยา (Biology) - ชีววิทยามีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านต่างๆ หลายสาขา ทั้งเคมี (chemistry) ฟิสิกส์ (physics) คณิตศาสตร์ (mathematics) และคอมพิวเตอร์ (computer) ที่สามารถ ประยุกต์นามาใช้อธิบาย (explain) หรือจาลองความเป็นไปของสิ่งมีชีวิต (modeling or pattern) เพื่อตอบปัญหาต่างๆ ที่มนุษย์สงสัย (observation and questioning) - คุณสมบัติของสิ่งมีชีวิต 1. มีโครงสร้างและการทาหน้าที่อย่างเป็นระบบ (Specific Organization) 2. มีการรักษาสมดุลภายในร่างกาย (Homeostasis) 3. มีการปรับตัว (Adaptation) 4. มีการสืบพันธุ์และถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม (Reproduction and Heredity) 5. มีการเจริญเติบโตและพัฒนารูปร่าง (Growth and Development) 6. มีความต้องการพลังงาน (Energy) และสร้างพลังงาน 7. มีการรับรู้ต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้น (Sensitivity) 8. มีปฏิสัมพันธ์ (Interaction) กับสิ่งแวดล้อม
  • 6. Free Powerpoint Templates Page 6 ตัวอย่างคุณสมบัติบางอย่างของสิ่งมีชีวิต
  • 7. Free Powerpoint Templates Page 7 โครงสร้างและการทาหน้าที่อย่างเป็นระบบ (Specific Organization) - ในสิ่งมีชีวิต (living organism) โดยเฉพาะสิ่งมีชีวิตชั้นสูง (Higher level) จะมีการทางาน ประสาน (cooperation) กันตั้งแต่ระดับหน่วยย่อย (basic unit) ภายในเซลล์ (Organelle) กลุ่ม เซลล์หรือเนื้อเยื่อ (Tissue) และอวัยวะ (Organ) ต่างๆ อย่างเป็นระบบ (organ system) เพื่อการ ทางานที่มีประสิทธิภาพ
  • 10. Free Powerpoint Templates Page 10 การรักษาสมดุลภายในร่างกาย (Homeostasis) - เพื่อให้ร่างกายอยู่ในสภาพปกติ จึงต้องอาศัยกระบวนการต่างในการควบคุม เช่น การรักษา ระดับอุณหภูมิ (temperaturebalance: 37องศาเซลเซียส) การรักษาค่าความเป็นกรด-เบส (pH : 7) และความเข้มข้นของสารต่างๆ (concentration) ให้อยู่ในจุดที่ไม่เป็นอันตรายต่อเซลล์
  • 11. Free Powerpoint Templates Page 11 การปรับตัว (Adaptation) การปรับตัวของสิ่งมีชีวิตเป็นไปเพื่อให้สามารถอยู่รอด (survival) ในสิ่งแวดล้อมที่มันอาศัย อยู่ (habitat) และสามารถสืบทอดลูกหลานต่อไปได้ (reproduction) ส่งผลก่อให้เกิด วิวัฒนาการ (Evolution) เกิดเอกลักษณ์ในแต่ละชนิดและสายพันธุ์ (variation) ตัวอย่างของสิ่งมีชีวิตพยายามปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมอยู่เสมอ เช่น @ การเปลี่ยนสีของผิวหนังในสัตว์เลื้อยคลานเตามสภาพแวดล้อมพื่ออาพรางศัตรู @ การที่ปลามีรูปร่างเพรียวและมีเมือกเคลือบที่ผิวลาตัวเพื่อลดแรงต้านกระแสน้า @ การเกิดรากค้าจุนของต้นโกงกางเพื่อการพยุงลาต้นให้สามารถตั้งตรงบนดินเลนได้
  • 13. Free Powerpoint Templates Page 13 Feedback Regulation in Biological Systems Calcitonin form parathyroid gland
  • 14. Free Powerpoint Templates Page 14 Feedback Regulation in Biological Systems Oxytocin form posterior pituitary gland
  • 15. Free Powerpoint Templates Page 15 การสืบพันธุ์และถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม (Reproduction and Heredity) - สิ่งมีชีวิตต้องสามารถสืบพันธุ์ได้ เพื่อดารงเผ่าพันธุ์ไว้ไม่ให้สูญสิ้นไป นับเป็นคุณสมบัติที่ สาคัญที่สุดของการเป็นสิ่งมีชีวิต : Virus and Viroid จัดเป็นอนุภาคของสิ่งมีชีวิต - การสืบพันธุ์ แบ่งเป็น แบบอาศัยเพศ (sexual) และ แบบไม่อาศัยเพศ (asexual) - เมื่อมีการสืบพันธุ์ สิ่งมีชีวิตจะถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมไปยังลูกหลาน โดยอาศัยสาร พันธุกรรมซึ่งได้แก่ DNA และ RNA (ตัวเก็บรหัสทางพันธุกรรมของรุ่นพ่อ-แม่)
  • 21. Free Powerpoint Templates Page 21 ทบทวนความรู้ความเข้าใจ 1 2 3 4
  • 22. Free Powerpoint Templates Page 22 การเจริญเติบโตและพัฒนารูปร่าง (Growth and Development) การเจริญเติบโตหลังจากกระบวนการปฏิสนธิ (fertilization) เป็นไซโกต (zygote) พัฒนา ต่อเป็นเอ็มบริโอ (embryo) และตัวเต็มวัย (adult) โดยเซลล์จะต้องมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้ • การเพิ่มจานวน (cell division) : cell mitosis • การเพิ่มขนาดของเซลล์ และขนาดของร่างกาย (growth) : increase cytoplasm • การเปลี่ยนแปลงรุปร่าง (cell differentiation) : specific function • การเกิดรูปร่างที่แน่นอน (morphogenesis) : tissue/organ/organ system/organism
  • 23. Free Powerpoint Templates Page 23 ความแตกต่างระหว่างการเติบโต (Growth) และ การพัฒนา (Development) - การเติบโต คือ การแบ่งเซลล์-เพิ่มจานวนเซลล์-ขยายขนาดของเซลล์ วัดได้ง่าย เห็นการเปลี่ยนแปลงชัดเจน - การพัฒนา คือ การเติบโตร่วมกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ทั้งรูปร่าง-ลักษณะทางสรีระวิทยา-ชีวเคมี
  • 24. Free Powerpoint Templates Page 24 ความต้องการพลังงานและสร้างพลังงาน (Energy for living) - สิ่งมีชีวิตต้องการพลังงานเพื่อนามาสร้างสาร ATP โดยผ่านกระบวนการ Metabolism โดย แบ่งออกเป็น กระบวนการสลายสาร (Catabolism) และกระบวนการสร้างสาร (Anabolism) - ATP (Adenosinetriphosphate)เป็นสารเคมีหลักที่ใช้ในการขับเคลื่อนกิจกรรมต่างๆ ภายใน เซลล์ของร่างกายสิ่งมีชีวิต เช่น การสืบพันธุ์ การเจริญเติบโต การเคลื่อนไหว ฯลฯ - พลังงานที่สิ่งมีชีวิตต้องการ อาจได้มาจากแหล่งต่างๆ เช่น พืชได้พลังงานจากแสงอาทิตย์ (light energy) สัตว์ได้พลังงานจากปฏิกิริยาเคมี (chemicalenergy) ของสารอินทรีย์และ สารอนินทรีย์ ส่วนไวรัสและไวรอยด์ได้รับพลังงานจากสิ่งมีชีวิตอื่น (intracellular parasite) photosynthesis Cellular respiration
  • 25. Free Powerpoint Templates Page 25 พลังงานอย่างน้อย ประมาณ 7.3 kCal/mol
  • 27. Free Powerpoint Templates Page 27 การรับรู้ต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้น (Irritability) - สิ่งมีชีวิตสามารถรับรู้ (sensitivity) และตอบสนอง (responsibility) ต่อสิ่งเร้าจากสิ่งแวดล้อม ทั้งที่อาศัยอยู่ในลักษณะต่างๆ กัน แบ่งเป็นสิ่งแวดล้อมภายนอก (external environment) และ สิ่งแวดล้อมภายใน (internal environment) เช่น การเจริญเข้าหาแสงของพืช การเจริญเติบโตที่ ช้าลงของจุลินทรีย์เมื่ออยู่ในที่อุณหภูมิต่ากว่า 4 องศาเซลเซียส การเคลื่อนที่เข้าหาสารอาหาร ของพารามีเซียม (สัตว์จะสังเกตเห็นได้ชัดเจนกว่าเนื่องจากการพัฒนาของระบบประสาท)
  • 28. Free Powerpoint Templates Page 28 Irritability for the external environment
  • 29. Free Powerpoint Templates Page 29 Irritability for the internal environment
  • 30. Free Powerpoint Templates Page 30 ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม (Interaction) - สิ่งมีชีวิตมีลักษณะเป็นระบบเปิด (Open System) ซึ่งมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมได้ ตลอดเวลาโดยมีการรับพลังงานจากอาหาร (food) ที่เข้าสู่ร่างกาย โดยผ่านกระบวนการ ย่อย (digestion) เป็นสารอาหาร (nutrient) และขับถ่ายของเสีย (excretion) ออกสู่ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งมีความสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน (population) และสิ่งมีชีวิต ชนิดอื่น (community) ในรูปแบบต่างๆ เช่น การอยู่ร่วมกันแบบพึ่งพาอาศัย (Symbiosis) การเป็นปฏิปักษ์ต่อกัน (Predation) และการเบียดเบียนสิ่งมีชีวิตอื่น (Parasitism) เป็นต้น - ระบบนิเวศ (ecosystem) คือ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตหรือสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
  • 32. Free Powerpoint Templates Page 32 ทบทวนความรู้ความเข้าใจ 1 2 3 4
  • 33. Free Powerpoint Templates Page 33 สาขาของชีววิทยา (Biological branch) 1. ศึกษาสิ่งมีชีวิตแต่ละกลุ่มของสิ่งมีชีวิต 1.1) สัตววิทยา (Zoology) แบ่งออกเป็น - สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง (invertebrate) - สัตว์มีกระดูกสันหลัง (Vertebrate) - มีนวิทยา (Icthyology) - สังขวิทยา (Malacology) - ปักษินวิทยา (Ornithology) - วิทยาสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (Mammalogy) - กีฎวิทยา (Entomology) - วิทยาเห็บไร (Acarology) 1.2) พฤกษศาสตร์ (Botany) ศึกษาเรื่องราวต่างๆ ของพืช เช่น - พืชชั้นต่า (Lower plant) - พืชมีท่อลาเลียง (Vascular plants) - พืชมีดอก (Angiosperm) 1.3) จุลชีววิทยา (Microbiology) ศึกษาเรื่องราวต่างๆ ของจุลินทรีย์ เช่น - วิทยาแบคทีเรีย (Bacteriology) - วิทยาไวรัส (Virology) - วิทยาสัตว์เซลล์เดียว (Protozoology)
  • 34. Free Powerpoint Templates Page 34 2. ศึกษาจากโครงสร้างหน้าที่และการทางานของสิ่งมีชีวิต - กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) - สัณฐานวิทยา (Morphology) - สรีรวิทยา (Physiology) - พันธุศาสตร์ (Genetics) - นิเวศวิทยา (Ecology) - เนื้อเยื่อวิทยา (Histology) - วิทยาเอ็มบริโอ (Embryology) - ปรสิตวิทยา (Parasitology) - วิทยาเซลล์ (Cytology) 3. ศึกษาเรื่องราวของสิ่งมีชีวิต - อนุกรมวิธาน (Taxonomy) - วิวัฒนาการ (Evolution) - บรรพชีวินวิทยา (Paleontology) สาขาของชีววิทยา (Biological branch)
  • 36. Free Powerpoint Templates Page 36 ทบทวนความรู้ ความเข้าใจ
  • 37. Free Powerpoint Templates Page 37 ชีววิทยากับการดารงชีวิต (Biology for Human survive) - Cloning คือ การสร้างสิ่งมีชีวิตใหม่ที่มีพันธุกรรมเหมือนเดิมทุกประการ (asexual reproduction) - GMOs (genetically modified organisms) คือ สิ่งมีชีวิตที่มีการตัดและต่อยีนด้วยเทคนิคพันธุวิศวกรรม (genetic engineering) ทาให้มีลักษณะพันธุกรรมตามต้องการ : new species - การผสมเทียมในหลอดแก้วเกิดปฏิสนธิแล้วถ่ายฝากตัวอ่อน (embryo) ให้กับแม่อุ้มบุญ (In Vitro Fertilization Embryo Transfer หรือ IVF& ET ) - การทาอิ๊กซี่ ( Intra Cytoplasmic Sperm Injection หรือ ICSI) คัดเลือกเชื้ออสุจิที่สมบูรณ์เพียงตัวเดียว ฉีดเข้าไปในเซลล์ไข่โดยตรง ซึ่งใช้ในกรณีที่เด็กหลอดแก้วธรรมดาไม่ประสบความสาเร็จ - การทากิฟท์ ( Gamete IntraFollopain Transfer หรือ GIF) นาเซลล์สืบพันธุ์ไข่และอสุจิมาผสม กัน แล้วใส่กลับเข้าสู่ท่อนาไข่ทันที ซึ่งจะอาศัยให้อสุจิและไข่ปฏิสนธิกันเองตามธรรมชาติ - การทาซิฟท์ ( Zygote IntraFollopain Transfer หรือ ZIFT) เซลล์สืบพันธุ์ไข่และอสุจิมาปฏิสนธินอก ร่างกายก่อน แล้วจึงนาตัวอ่อนในระยะ Zygote ใส่กลับเข้าไปในท่อนาไข่ส่วนต้น - การพัฒนาเทคนิคทางด้าน DNA ตรวจหาความสัมพันธ์ทางสายเลือด (DNA fingerprint) - การผลิตสาหร่ายสไปรูไลนาซึ่งให้โปรตีนสูง (high protein content for nutrition) - การศึกษาทางด้านพืชสมุนไพรนามาผลิตเป็นยารักษาโรค (medical biology) - การผลิตฮอร์โมนอินซูลินจากยีสต์เพื่อรักษาโรคเบาหวานในคน (genetic engineering for pharmacy)
  • 39. Free Powerpoint Templates Page 39 การศึกษาทางด้านชีววิทยาเป็นการศึกษาเรื่องของสิ่งมีชีวิต จึงเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อนเป็นอย่างมาก ใน การศึกษาและกระทา เพราะอาจจะผิดต่อขนบธรรมเนียมประเพณี กฎหมาย หรือจริยธรรมได้ เช่น 1. การโคลนนิ่งมนุษย์ เพื่อใช้อวัยวะบางส่วนมารักษาโรคหรือเพื่อผลิต ลูกหลานขึ้นมาเพราะอาจมีปัญหา ต่อสถาบันครอบครัวได้ 2. การทาแท้ง ในหลายประเทศสามารถทาแท้งได้แต่ในหลายประเทศก็เป็นการผิดกฎหมาย 3. การใช้สัตว์ทดลองทางชีววิทยา เพื่อสัตว์ก็มีชีวิตเช่นเดียวกับมนุษย์ ดังนั้นการทดลอง ต้องไม่ทรมาน สัตว์ และใช้สัตว์ให้น้อยที่สุด และได้ผลความรู้มากที่สุด และต้องไม่ผิดกฎหมายด้วย 4. การใช้สารเร่งการเจริญเติบโตในพืชหรือในสัตว์อันจะก่อให้เกิดสารตกค้างได้นอกจากนี้ในปัจจุบันยังมี การใช้สารเร่งเรื้อแดงให้แก่เนื้อหมู ซึ่งจะมีผลเสียต่อผู้บริโภคได้ 5. การใช้สารฟอร์มาลิน ในการแช่ผัก ปลา หรือเนื้อ ช่วยให้ผัก ปลา และ เนื้อเน่าเสียช้าลงแต่เป็นพิษ ต่อผู้บริโภคเป็นอย่างมาก นอกจากนี้การใช้สารบอร์แรกซ์ใส่ในลูกชิ้นเด้ง การฉีดดีดีที่ให้แก่ปลาเค็ม เนื้อ เค็ม ก็มีผลเสียต่อผู้บริโภคทั้งสิ้น 6. การผลิตอาวุธชีวภาพ ชีวจริยธรรม (Bioethics) การปฏิบัติต่อสิ่งมีชีวิตโดยไม่ทาร้าย/อันตรายสิ่งมีชีวิต
  • 40. Free Powerpoint Templates Page 40 ชีวจริยธรรม (Bioethics) การปฏิบัติต่อสิ่งมีชีวิตโดยไม่ทาร้าย/อันตรายสิ่งมีชีวิต สานักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ กาหนดจรรยาบรรณการใช้สัตว์เพื่องานวิจัย งานสอน งาน ทดสอบ และงานผลิตชีววัตถุไว้ดังนี้ 1. ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักถึงคุณค่าของชีวิตสัตว์ 2. ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักถึงความแม่นยาของผลงานโดยใช้สัตว์จานวนน้อยที่สุด 3. การใช้สัตว์ป่ าต้องไม่ขัดต่อกฎหมายและนโยบายการอนุรักษ์ป่ า 4. ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักว่าสัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตเช่นเดียวกับมนุษย์ 5. ผู้ใช้สัตว์ต้องบันทึกการปฏิบัติต่อสัตว์ไว้เป็นหลักฐานอย่างครบถ้วน
  • 41. Free Powerpoint Templates Page 41 The End Thank You For Your Attention!!!