SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  51
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 2 แสง รายวิชาวิทยาศาสตร์ 4 (ว32102)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แสงเดินทางเป็นอย่างไร?
1
3
2
ลาแสง : การเคลื่อนของแสงที่ผ่านตัวกลาง
วัตถุทึบแสง วัตถุโปร่งแสง วัตถุโปร่งใส
นัยน์ตากับการมองเห็น
• นัยน์ตาของคนมีส่วนประกอบที่สาคัญหลายอย่าง เช่น เลนส์ตา ซึ่งมี
ลักษณะคล้ายเลนส์นูน ทาหน้าที่รับแสงให้ไปเกิดภาพบนจอตาที่ไวต่อการ
รับแสง ที่เรียกว่า เรตินา (Retina)
• บนเรตินาจะมีเซลล์ประสาททาหน้าที่รับแสงสีต่างๆ แล้วส่งสัญญาณผ่าน
เส้นประสาทตาและส่งต่อไปแปลความหมายที่สมอง
• การที่เราจะมองเห็นวัตถุได้ชัดเจนนั้น แสงที่ผ่านเข้าสู่นัยน์ตาจะต้องมี
ความสว่างมากพอ
• ถ้าปริมาณแสงไม่เพียงพอจะทาให้เรามองเห็นสิ่งต่างๆได้ไม่ชัดเจนแต่ถ้า
มากเกินไปจะทาให้รู้สึกตาพร่ามัว
ปัญหาเกี่ยวกับนัยน์ตา
1. สายตาสั้น เป็น ภาวะที่แสงผ่านกระจกตาและเลนส์ตา มาโฟกัสหน้าจอประสาทตา ทาให้ภาพที่ตกบน
จอประสาทตาไม่ชัดเจน อาจเกิดจากการที่ดวงตามีเส้นผ่าศูนย์กลางยาวเกินไป หรือกาลังรวมแสง
ของกระจกตาและเลนส์มากเกินไป ทาให้แสงที่ผ่านกระจกตาและเลนส์ตา มาโฟกัสหน้าจอประสาท
ตา ภาพที่เห็นจึงไม่คมชัด การทีจะเห็นได้ชัดเจนต้องใช้เลนส์เว้ากระจายแสงออกเพื่อให้แสงไปตกที่
จอ ประสาทตาพอดี
2. สายตายาว เป็นภาวะที่ตรงข้ามกับสายตาสั้น คือ แสงผ่านที่กระจกตาและเลนส์มาโฟกัสหลังจอ
ประสาทตา แต่ร่างกายสามารถแก้ไขให้ชัด โดยใช้เลนส์ตาช่วยปรับโฟกัสได้ โดยใช้การเพ่ง
ตลอดเวลา ซึ่งทาให้เกิดอาการปวดตา ปวดศรีษะได้ และเมื่ออายุมากขึ้นกาลังการเพ่งจะลดลง จน
ไม่สามารถจะโฟกัสแสงได้อีกก็ทาให้เห็นภาพไม่ชัด วิธีการแก้ไขคือการใส่แว่นเลนส์นูน
3. สายตาเอียง หมายถึง การที่กระจกตามีความโค้งในแต่ละแนวไม่เท่ากัน เปรียบผิวของกระจกตาได้กับ
ผิวของลูกรักบี้ส่วนสายตาปกติจะมีผิวของกระจกตาเหมือนความโค้งของลูกฟุตบอล ทาให้ตาไม่
สามารถจะโฟกัสแสงในแต่ละแกน ให้เป็นจุดเดียวกัน การแก้ไขคือการใส่แว่นที่มีกาลังของเลนส์ใน
แกนหนึ่งมากกว่าอีกแกนหนึ่ง หรือการใช้เลนส์สัมผัส
แสง (Light)
• เป็นพลังงานรูหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการมองเห็นของมนุษย์
• แหล่งกาเนิดแสงในธรรมชาติที่สาคัญที่สุด คือ ดวงอาทิตย์
นอกจากนี้ยังมีกองไฟ เทียนไข และหลอดไฟชนิดต่างๆ เป็นต้น
• เมื่อตกกระทบบนผิววัตถุต่างๆ ทาให้มีความสว่างเกิดขึ้น
• ถ้าแหล่งกาเนิดแสงอยู่ห่างจากผิววัตถุมากขึ้น : ความสว่าง
น้อยลง แต่ถ้าให้ระยะห่างมีค่าคงตัว พบว่า แหล่งกาเนิดแสงที่
ให้พลังงานแสงออกมาในหนึ่งหน่วยเวลามากกว่าก็จะมีความ
สว่างมากกว่า
• การหาความสว่างทาได้โดยใช้เครื่อง ลักซ์มิเตอร์ นิยมใช้ใน
กล้องถ่ายรูป
• คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า
• เคลื่อนที่ได้โดยไม่ต้องอาศัยตัวกลาง
• อัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ= 3 x108 m/s
• เคลื่อนที่ผ่านตัวกลางแต่ละชนิดด้วยความเร็วไม่เท่ากัน
• แสงหักเหได้
• แสงขาวประกอบด้วยแสงสี 7 สี (สเปกตรัม)
สมบัติของแสง
ความสว่าง (Brightness)
• ความสว่างของแสงบนวัตถุจะมีผลต่อกล้ามเนื้อตา กล่าวคือ ถ้าบริเวณที่มี
ความสว่างน้อย ม่านตาจะเปิดกว้างมากเพื่อให้แสงเข้านัยน์ตาเพียงพอ
ม่านตาซึ่งทาหน้าที่ปรับความสว่างของแสงบนเรตินาจะต้องทางานหนัก
ขึ้น
• ในทานองเดียวกัน กรณีที่แสงสว่างมาก เรตินาก็ต้องทางานหนักเช่นกัน
• ความสว่างของแสงมีผลต่อสุขภาพของนัยน์ตา ดังนั้น ในสถานที่ต่างๆ
ควรจัดให้มีความส่วางอย่างเพียงพอและเหมาะสม เพราะอาจเป็น
อันตรายกับนัยน์ตาได้
ความสว่างที่เหมาะสมในสถานที่ต่างๆโดยประมาณ
สถานที่ ความสว่าง (ลักซ์)
ห้องนั่งเล่น ห้องครัว ห้องอาหาร 150-300
ห้องอ่านหนังสือ ห้องทางาน 500-1000
โรงพลศึกษา หอประชุม 75-300
ห้องเรียน 300-750
ห้องสมุด ห้องปฏิบัติการ ห้องเขียนแบบ 750-1000
ห้องตรวจโรค 200-750
ห้องผ่าตัด 5000-10000
บันไดฉุกเฉิน 30-75
ทางเดินภายในอาคาร 75-200
ห้องประชุมห้องรับรอง 200-750
6/2/2015
สารภี เทพคงคา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนรัตภูมิ
วิทยา จังหวัดสงขลา 13
สีของแสง
สีของแสง
แสงขาว
( Visible Light )
คือ ช่วงคลื่นแสงที่ทา
ให้สามารถมองเห็น
วัตถุเป็นสีต่างๆ ได้
การผสมสารสี การผสมแสงสี
การสะท้อนของแสงและภาพที่เกิดจากการสะท้อน
• วัตถุที่ไม่มีแสงในตัวเองสามารถสะท้อนแสงที่ได้รับจาก
แหล่งกาเนิดแสงมาเข้าตาเราได้
• โดยเขียนรังสีตกกระทบแทนการเดินของแสงจาก
แหล่งกาเนิดตกกระทบวัตถุแล้วเขียนเส้นสะท้อนจากวัตถุ
เข้าสู่ตาเรา
• พบว่าเมื่อขนาดของมุมตกกระทบเพิ่มขึ้นหรือลดลง ขนาด
ของมุมสะท้อนก็จะเพิ่มขึ้นหรือลดลงด้วย นั่นคือ เมื่อมุม
ตกกระทบเปลี่ยนแปลง มุมสะท้อนก็จะเปลี่ยนแปลงด้วย
มุมตกกระทบ = มุมสะท้อน เสมอ ณ ตาแหน่งที่แสงตกกระทบ
รังสีตกกระทบ/สะท้อน/เส้นแนวฉากอยู่ในระนาบเดียวกัน
การสะท้อนของแสงและภาพที่เกิดจากการสะท้อน
• ในชีวิตประจาวัน เราใช้หลักการสะท้อนของแสงจากอุปกรณ์ต่างๆ เช่น การดูภาพ
ในกระจกเงาราบ
• พบว่า ขนาดของวัตถุและขนาดของภาพเท่ากัน ตาแหน่งของภาพ (ระยะภาพ)
และตาแหน่งของวัตถุ (ระยะวัตถุ) ห่างจากผิวกระจกเงาราบเท่ากัน
• เมื่อแสงจากวัตถุตกกระทบกับผิวตัวสะท้อนแสงแล้วสะท้อนมาเข้าตาเรา ถ้ามีรังสี
ตกกระทบจากทุกจุดบนวัตถุก็จะมีรังสีสะท้อนจานวนมากมาเข้าตาเรา ทาให้เห็น
ภาพของวัตถุมีรูปร่างเหมือนวัตถุและขนาดเท่ากับวัตถุได้
• รังสีของแสงสะท้อนไม่ได้ตัดกันจริงเรียกภาพที่เกิดในลักษณะนี้ว่า ภาพเสมือน
ภาพที่เกิดในกระจกเงาระนาบสองบานทามุม
1)ภาพแรกที่เกิดขึ้น จะเป็นวัตถุของการสะท้อนครั้งที่ 2
2)ภาพที่ 2 ที่เกิดขึ้น มีระยะภาพเท่ากับระยะวัตถุ
3) ถ้าภาพที่ 2 ยังอยู่หน้ากระจกเงาระนาบของบานแรก ภาพนั้นจะเป็นวัตถุในการสะท้อนต่อไป
ถ้าผลลัพธ์ n ที่ได้ไม่ลงตัว ให้ปัดขึ้นเป็นจานวนเต็ม
ภาพจากกระจกเว้า และกระจกนูน
• เมื่อใบหน้าอยู่ใกล้กระจกเว้าภาพที่เห็นในกระจกเว้าจะเห็นเป็นภาพหัวตั้ง เมื่อเลื่อน
กระจกเว้าห่างจากใบหน้ามากขึ้นจะเห็นเป็นภาพหัวกลับ
• กระจกนูนและเว้าที่ใช้กันอยู่ทั่วไปมีรูปทรงเป็นส่วนหนึ่งของผิวทรงกลม มีจุด
ศูนย์กลางของความโค้งและรัศมีความโค้ง
• จุดกึ่งกลางของผิวโค้งคือขั้วกระจกหรือจุดยอด เส้นตรงที่ลากผ่าน เรียกว่า แกนมุข
สาคัญ
ภาพจากกระจกเว้า และกระจกนูน
• ความยาวโฟกัสเป็นครึ่งหนึ่งของรัศมีความโค้งเสมอ
f = R/2 เมื่อ f คือ ความยาวโฟกัส
R คือ รัศมีความโค้ง
• สูตรที่ใช้ในการคานวณการเกิดภาพในกระจกเว้าและกระจกโค้ง
ภาพจากกระจกเว้า และกระจกนูน
• การหาตาแหน่งภาพที่เกิดจากการสะท้อนของแสงโดยใช้วิธีเขียนแผนภาพ มีขั้นตอนดังนี้
1. วาดรูปวัตถุในแนวตั้งบนแกนมุขสาคัญ
2. เขียนรังสีตกกระทบ 1 จากจุดสูงสุดของวัตถุไปตกกระทบกระจกเว้าและกระจกนูนโดยให้
รังสีตกกระทบขนานแกนมุขสาคัญของกระจกและรังสีสะท้อน 1 สะท้อนในแนวที่ผ่าน
โฟกัสของกระจก
3. เขียนรังสีตกกระทบ 2 จากจุดสูงสุดของวัตถุไปที่จุดยอดกระจกและเขียนรังสีสะท้อนที่ 2
4. ต่อแนวรังสีสะท้อนทั้งสองให้พบกันที่จุดหนึ่งจะได้ตาแหน่งของภาพ
ภาพจากกระจกเว้า และกระจกนูน
• ภาพที่เกิดจากกระจกโค้งเนื่องจากรังสีสะท้อนไปตัดกันจริง เรียกว่า ภาพ
จริง ส่วนภาพที่เกิดขึ้นจากรังสีสะท้อน เสมือนว่าตัดกัน เรียกว่า
ภาพเสมือน
ภาพจากกระจกเว้า และกระจกนูน
ภาพจากกระจกเว้า และกระจกนูน
ภาพจากกระจกเว้า และกระจกนูน
ภาพจากกระจกเว้า และกระจกนูน
การเขียนแผนภาพแสดงทางเดินแสงเพื่อหาตาแหน่งภาพที่เกิดจากการหักเหของแสง
ผ่านเลนส์นูนมีวิธีการดังต่อไปนี้
1. เขียนรังสีตกกระทบจากวัตถุให้ขนานกับแกนมุขสาคัญ เมื่อหักเหผ่านเลนส์แล้ว
รังสีจะผ่านจุดโฟกัสของเลนส์เสมอ
2. เขียนรังสีตกกระทบจากวัตถุให้ผ่านจุดกึ่งกลางเลนส์ เมื่อผ่านเลนส์แล้วรังสีจะผ่าน
เลนส์ไปเป็นเส้นตรงโดยไม่มีการหักเห
3. ตาแหน่งหรือจุดที่มีการหักเหในข้อ 1 และ 2 ตัดกัน คือ ตาแหน่งหรือจุดที่เกิด
ภาพ
สาหรับการหาตาแหน่งของภาพที่เกิดจากเลนส์เว้า ก็ใช้หลักการดังกล่าวเพียงแต่รังสี
ตกกระทบที่ขนานกับแกนมุขสาคัญที่ผ่านเลนส์เว้าแล้วรังสีหักเหจะเบนออกห่างจาก
เส้นแกนมุขสาคัญ แต่เมื่อต่อแนวรังสีหักเหในทิศย้อนกลับจะผ่านโฟกัสของเลนส์
ภาพจากเลนส์เว้า และเลนส์นูน
ภาพจากเลนส์เว้า และเลนส์นูน
ภาพจากเลนส์เว้า และเลนส์นูน
ภาพจากเลนส์เว้า และเลนส์นูน
การหักเหของแสง
• เป็นปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อแสงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางต่างชนิดกันเมื่อแสงเคลื่อนที่จาก
ตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งแสงจะมีการหักเห และการหักเหจะเกิดขึ้นเฉพาะผิวรอยต่อ
ของตัวกลางเท่านั้น
• สิ่งควรทราบเกี่ยวกับการหักเหของแสง
- ความถี่ของแสงยังคงเท่าเดิม ส่วนความยาวคลื่น และความเร็วของแสงจะไม่เท่าเดิม
- ทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงจะอยู่ในแนวเดิมถ้าแสงตกตั้งฉากกับผิวรอยต่อของตัวกลาง
จะไม่อยู่ในแนวเดิมถ้าแสงไม่ตกตั้งฉากกับผิวรอยต่อของตัวกลาง
การหักเหของแสง
การสะท้อนกลับของแสง
• การสะท้อนกลับทั้งหมด คือ ปรากฏการณ์แสงลักษณะหนึ่ง ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อรังสีของแสง ตกกระทบ
กับพื้นผิวของตัวกลาง ในมุมที่กว้างกว่า มุมวิกฤต เกิดขึ้นเฉพาะกรณีที่ ดัชนีหักเหของตัวกลาง ต่า
กว่า ดัชนีหักเหของของตัวกลางที่อยู่อีกด้านหนึ่งของพื้นผิวตกกระทบ โดยที่แสงไม่ผ่านออกไป
และ แสงทั้งหมดสะท้อนกลับ โดยใช้กฎการสะท้อน
• เมื่อแสงข้ามผ่านเส้นแบ่งระหว่างตัวกลางสองชนิด ที่มีดัชนีหักเหที่แตกต่างกัน ลาแสงอาจเกิดการ
หักเห ที่พื้นผิวของตัวกลางใหม่ หรือ อาจเกิดการสะท้อนกลับทั้งหมด ขึ้นกับว่ามุมตกกระทบ
มากกว่า มุมวิกฤตหรือไม่ ทั้งนี้เกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ แสงเดินทางมาจากตัวกลางที่มีดัชนีหักเห
มากกว่า ไปยังตัวกลางที่มีดัชนีหักเหน้อยกว่า ยกตัวอย่างเช่น เมื่อแสงเดินทางจากแก้วไปยัง
อากาศ
การสะท้อนกลับของแสง
เส้นใยนาแสง
• เส้นใยแก้วนาแสงหรือไฟเบอร์ออปติก เป็นตัวกลางของสัญญาณแสงชนิดหนึ่ง ที่ทามา
จากแก้วซึ่งมีความบริสุทธิ์สูงมาก เส้นใยแก้วนาแสงมีลักษณะเป็นเส้นยาวขนาดเล็ก มี
ขนาดประมาณเส้นผมของมนุษย์เรา เส้นใยแก้วนาแสงที่ดีต้องสามารถนาสัญญาณ
แสงจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งได้ โดยมีการสูญเสียของสัญญาณแสงน้อยมาก
• เส้นใยแก้วนาแสงสามารถแบ่งตามความสามารถในการนาแสงออกได้เป็น 2 ชนิด คือ
เส้นใยแก้วนาแสงชนิดโหมดเดี่ยว (Singlemode Optical Fibers, SM)
และชนิดหลายโหมด (Multimode Optical Fibers, MM)
เลเซอร์ (Laser)
• เลเซอร์ ในทางฟิสิกส์ คือ อุปกรณ์ที่ให้กาเนิดลาแสง ที่มีลักษณะเฉพาะ ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่รวมกัน
ระหว่างกลศาสตร์ควอนตัมกับอุณหพลศาสตร์ ซึ่งพลังงานแสงเลเซอร์ สามารถมีคุณสมบัติได้
หลากหลาย ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ในการออกแบบ เลเซอร์ส่วนมากจะเป็นลาแสงที่มีขนาดเล็ก มีการ
เบี่ยงเบนน้อย และสามารถระบุความยาวคลื่นได้ง่าย โดยดูจากสีของเลเซอร์ ถ้าอยู่ในสเป็กตรัมที่
สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ซึ่งเลเซอร์นี้อาจกล่าวได้ว่า เป็นการรวมพลังงานแสงที่ส่งออกมาจาก
หลายความยาวคลื่นเข้าด้วยกัน
• เลเซอร์ จะหมายรวมไปถึงการให้พลังงานผ่านทางสื่อนาแสง ซึ่งสื่อนาแสงอาจเป็นได้ทั้งของแข็ง
ของเหลว ก๊าซ หรืออิเล็กตรอนอิสระที่มีคุณสมบัติสามารถนาแสงได้
ทัศนูปกรณ์
• กล้องจุลทรรศน์
• กล้องโทรทรรศน์
• กล้องถ่ายรูป
• ฯลฯ
แว่นขยาย
• แว่นขยาย (magnifying glass) เป็นอุปกรณ์ที่ทาจากเลนส์นูน ที่ช่วย
ขยายขนาดของวัตถุ ให้ส่องดูวัตถุขนาดเล็กที่ตามองเห็นไม่ชัด ให้เกิดความ
ชัดเจนมากขึ้น ในการใช้ต้องให้ระยะวัตถุอยู่ห่างจากแว่นขยายน้อยกว่าระยะ
ความยาวโฟกัสของแว่นขยาย ลักษณะภาพที่ได้เป็นภาพเสมือนหัวตั้งเหมือน
วัตถุ เกิดภาพด้านเดียวกับวัตถุ แว่นขยายที่มีความยาวโฟกัสสั้นจะขยายขนาด
ของวัตถุได้มาก จึงใช้แว่นขยายส่องดูวัตถุที่ต้องการความชัดเจน เช่น ส่องดู
พระเครื่อง ส่องดูเพชร ใช้ดูลายมือ ลายนิ้วมือ เป็นต้น
กล้องจุลทรรศน์
• กล้องจุลทรรศน์ เป็นเครื่องมือสาคัญของนักชีววิทยา เพราะกล้องจุลทรรศน์
ช่วยให้ศึกษาโครงสร้างและส่วนประกอบของเซลล์และสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ได้
กล้องจุลทรรศน์แต่ละแบบจะให้กาลังขยายที่แตกต่างกัน ซึ่งขึ้นอยู่กับ
ประสิทธิภาพและลาแสงที่ใช้
• กล้องจุลทรรศน์ที่ใช้กันทั่วไปแบ่งตามแหล่งกาเนิดแสงได้เป็น 2 ชนิด คือ
1. กล้องจุลทรรศน์ที่ใช้แสง (Light Microscope) หรือ L.M. ใช้
แสงที่มองเห็นได้ เป็นตัวให้แสง
2. กล้องจุลทรรศน์อิเลคตรอน (Electron Microscope) หรือ
E.M.
กล้องโทรทรรศน์
• กล้องโทรทรรศน์ (telescope) เครื่องมือซึ่งสร้างภาพขยายของวัตถุที่
อยู่ไกล กล้องโทรทรรศน์มีสองชนิด คือ
• กล้องโทรทรรศน์ชนิดหักเห (refracting telescope) มีลักษณะเป็น
ท่อปิด มีเลนส์ใกล้วัตถุอยู่ที่ปลายข้างหนึ่ง และเลนส์ใกล้ตาที่ปลายอีกข้าง
หนึ่ง
• กล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อน (reflecting telescope) เป็นท่อเปิด
มีกระจกเว้าอยู่ข้างใน และมีเลนส์ใกล้ตาอยู่ข้างนอก
• ในกล้องทั้งสองชนิด เมื่อรังสีแสงจากวัตถุที่อยู่ไกลๆ เข้ามาในท่อ รังสีจะหัก
เหผ่านเลนส์ใกล้วัตถุ หรือสะท้อนจากกระจกเงามาสร้างภาพจริงของวัตถุ
ภาพจะถูกมองผ่านทางเลนส์ใกล้ตา ซึ่งจะให้ภาพเสมือนขนาดขยายของวัตถุ
กล้องสองตา
• กล้องสองตา (binoculars) คือ อุปกรณ์ที่ใช้สาหรับส่องดูวัตถุที่อยู่
ห่างไกลให้มีขนาดใหญ่ขึ้น โดยอาศัยเลนส์และปริซึม ปริซึมทาหน้าที่สะท้อน
และหักเหแสง กลับภาพจากภาพหัวกลับให้เป็นภาพหัวตั้ง ภาพที่ได้จึงต่าง
จากที่เห็นในกล้องโทรทรรศน์ธรรมดา
• ข้อกาหนดของกล้องสองตาแต่ละกล้อง มักบอกด้วยตัวเลขสองตัวคั่นกลาง
ด้วยกากบาท "×" เช่น "7×50" หมายถึงกล้องสองตานี้มีกาลังขยาย 7 เท่า
เส้นผ่านศูนย์กลางของเลนส์วัตถุมีขนาด 50 มิลลิเมตร
กล้องถ่ายรูป
• กล้องถ่ายภาพ หรือ กล้องถ่ายรูป เป็นอุปกรณ์บันทึกแสงที่สะท้อนจากวัตถุ
ผ่านเลนส์ของกล้อง เป็นการจาลองภาพทางแสงให้บันทึกลงบนวัสดุไวแสง
(ฟิล์มถ่ายภาพประเภทต่าง ๆ และ/หรือตัวรับภาพ - Image Sensor)
บันทึกเป็นภาพแฝงบนวัสดุไวแสง ก่อนนาไปผ่านกระบวนการล้างให้เป็น
ภาพถ่ายถาวร
• ความหมายของการถ่ายภาพ มี 2 ประเด็น คือ
• 1. เชิงวิทยาศาสตร์ หมายถึง การทาปฏิกิริยาระหว่างวัสดุไวแสงกับแสง
• 2. เชิงศิลปะ หมายถึง การวาดภาพด้วยแสงและเงารวมทั้งการผสมสีเพื่อ
ถ่ายทอดความหมาย ความรู้สึก อารมณ์ หรือทัศนคติ
เครื่องฉายข้ามศรีษะ (Over head)
• เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ หรือบางทีเรียกว่า เครื่องฉายภาพโปร่งใส เพราะ
วัสดุฉาย เป็นแผ่นโปร่งใส (Transparency) หรืออาจเรียกว่า กระดาน
ชอล์กไฟฟ้ าเพราะใช้แทนกระดานชอล์กได้ เป็นเครื่องฉายที่จัดอยู่ในระบบ
ฉายอ้อม ใช้สาหรับฉายภาพ วัสดุ หรือเครื่องมือที่โปร่งใส โดยเขียนข้อความ
หรือวาดภาพบนแผ่นโปร่งใส ซึ่งอาจจัดเตรียมไว้ล่วงหน้า แล้วนามาวางบน
เครื่องฉายซึ่งตั้งอยู่หน้าชั้นเรียน ภาพที่ปรากฏบนจอเหมือนการใช้กระดาน
ชอล์ก ซึ่งผู้สอนจะอธิบายประกอบการฉายก็ได้ สะดวกต่อการนามาใช้
เครื่องฉายภาพยนต์
• ภาพยนตร์ คือ เป็นกระบวนการบันทึกภาพด้วยฟิล์ม แล้วนาออกฉายใน
ลักษณะที่แสดงให้เห็นภาพเคลื่อนไหว ภาพที่ปรากฏบนฟิล์มภาพยนตร์
หลังจากผ่านกระบวนการถ่ายทาแล้วเป็นเพียงภาพนิ่งจานวนมาก ที่มี
อิริยาบถหรือแสดงอาการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปทีละน้อยต่อเนื่องกันเป็น
ช่วงๆ ตามเรื่องราวที่ได้รับการถ่ายทาและตัดต่อมา ซึ่งอาจเป็นเรื่องราวหรือ
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง หรือเป็นการแสดงให้เหมือนจริง หรืออาจเป็นการ
แสดงและสร้างภาพจากจินตนาการของผู้สร้างก็ได้
• เครื่องฉายภาพยนตร์เป็นอุปกรณ์แสง-เชิงกล สาหรับการฉายภาพยนตร์ จาก
ฟิล์ม เป็นภาพเคลื่อนไหว ให้ไปปรากฎภาพบนจอฉายภาพ ส่วนประกอบ
ของเครื่องฉายภาพยนตร์นั้น ส่วนใหญ่แล้วก็เหมือนกับส่วนประกอบในกล้อง
ถ่ายภาพยนตร์ เว้นแต่อุปกรณ์ให้ความสว่าง และอุปกรณ์ด้านเสียง
เครื่องฉายโปรเจคเตอร์
• โปรเจคเตอร์ได้มีวิวัฒนาการมาจากเครื่อง Over Head หรืออีกชื่อหนึ่ง
คือเครื่องปิ้งแผ่นใสในภาษาชาวบ้าน ที่เอาไว้ฉายสไลด์แผ่นใสเมื่อก่อนก็ว่าได้
โดยพอมาถึงยุคของโปรเจคเตอร์ก็ทาให้เกิดความสะดวกในการใช้งานมากขึ้น
อีกทั้งยังมีขนาดเล็กและน้าหนักเบาพกพาได้อย่างสะดวก
• โปรเจคเตอร์ (projector) คือ อุปกรณ์ที่ช่วยในการแสดงภาพให้มีขนาด
ใหญ่ขึ้น เหมาะสาหรับการนามาใช้ เสนองานหรือที่เราเรียกว่า
presentation หรืออาจนามาทาเป็น Home Theater โดยปกติ
โปรเจคเตอร์สามารถนามาต่อกับอุปกรณ์ได้หลายประเภท เช่น วีดีโอ วีดีโอ
ซีดี หรือ ดีวีดี รวมทั้งคอมพิวเตอร์ เป็นต้น เนื่องจากราคาของโปรเจคเตอร์
ค่อนข้างสูง
บทที่ 2 แสง ม.2

Contenu connexe

Tendances

โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
smEduSlide
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
krupornpana55
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
สำเร็จ นางสีคุณ
 
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสง
พัน พัน
 

Tendances (20)

สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสง
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสง
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 

En vedette

แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11
Wilailak Luck
 
เรื่องอาหารและสารอาหาร ม.2
เรื่องอาหารและสารอาหาร ม.2เรื่องอาหารและสารอาหาร ม.2
เรื่องอาหารและสารอาหาร ม.2
Mayuree Paitoon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
teerachon
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้า
sripai52
 
การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียว
medfai
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสม
medfai
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
Jariya Jaiyot
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
Wichai Likitponrak
 

En vedette (20)

บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2
 
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
 
Eyepresent
EyepresentEyepresent
Eyepresent
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11
 
เรื่องอาหารและสารอาหาร ม.2
เรื่องอาหารและสารอาหาร ม.2เรื่องอาหารและสารอาหาร ม.2
เรื่องอาหารและสารอาหาร ม.2
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้า
 
การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียว
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสม
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
 

Similaire à บทที่ 2 แสง ม.2

04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
kruannchem
 
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
parinya
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
dnavaroj
 
10657065 747554985324701 2086860594_n
10657065 747554985324701 2086860594_n10657065 747554985324701 2086860594_n
10657065 747554985324701 2086860594_n
Milk MK
 

Similaire à บทที่ 2 แสง ม.2 (14)

ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
 
Eyepresent
EyepresentEyepresent
Eyepresent
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
 
Com Vision
Com VisionCom Vision
Com Vision
 
Lesson13
Lesson13Lesson13
Lesson13
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
 
Light[1]
Light[1]Light[1]
Light[1]
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
Astroplan15
Astroplan15Astroplan15
Astroplan15
 
10657065 747554985324701 2086860594_n
10657065 747554985324701 2086860594_n10657065 747554985324701 2086860594_n
10657065 747554985324701 2086860594_n
 

Plus de Wichai Likitponrak

Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 

Plus de Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

บทที่ 2 แสง ม.2

  • 1. บทที่ 2 แสง รายวิชาวิทยาศาสตร์ 4 (ว32102) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
  • 4. นัยน์ตากับการมองเห็น • นัยน์ตาของคนมีส่วนประกอบที่สาคัญหลายอย่าง เช่น เลนส์ตา ซึ่งมี ลักษณะคล้ายเลนส์นูน ทาหน้าที่รับแสงให้ไปเกิดภาพบนจอตาที่ไวต่อการ รับแสง ที่เรียกว่า เรตินา (Retina) • บนเรตินาจะมีเซลล์ประสาททาหน้าที่รับแสงสีต่างๆ แล้วส่งสัญญาณผ่าน เส้นประสาทตาและส่งต่อไปแปลความหมายที่สมอง • การที่เราจะมองเห็นวัตถุได้ชัดเจนนั้น แสงที่ผ่านเข้าสู่นัยน์ตาจะต้องมี ความสว่างมากพอ • ถ้าปริมาณแสงไม่เพียงพอจะทาให้เรามองเห็นสิ่งต่างๆได้ไม่ชัดเจนแต่ถ้า มากเกินไปจะทาให้รู้สึกตาพร่ามัว
  • 5.
  • 6.
  • 7. ปัญหาเกี่ยวกับนัยน์ตา 1. สายตาสั้น เป็น ภาวะที่แสงผ่านกระจกตาและเลนส์ตา มาโฟกัสหน้าจอประสาทตา ทาให้ภาพที่ตกบน จอประสาทตาไม่ชัดเจน อาจเกิดจากการที่ดวงตามีเส้นผ่าศูนย์กลางยาวเกินไป หรือกาลังรวมแสง ของกระจกตาและเลนส์มากเกินไป ทาให้แสงที่ผ่านกระจกตาและเลนส์ตา มาโฟกัสหน้าจอประสาท ตา ภาพที่เห็นจึงไม่คมชัด การทีจะเห็นได้ชัดเจนต้องใช้เลนส์เว้ากระจายแสงออกเพื่อให้แสงไปตกที่ จอ ประสาทตาพอดี 2. สายตายาว เป็นภาวะที่ตรงข้ามกับสายตาสั้น คือ แสงผ่านที่กระจกตาและเลนส์มาโฟกัสหลังจอ ประสาทตา แต่ร่างกายสามารถแก้ไขให้ชัด โดยใช้เลนส์ตาช่วยปรับโฟกัสได้ โดยใช้การเพ่ง ตลอดเวลา ซึ่งทาให้เกิดอาการปวดตา ปวดศรีษะได้ และเมื่ออายุมากขึ้นกาลังการเพ่งจะลดลง จน ไม่สามารถจะโฟกัสแสงได้อีกก็ทาให้เห็นภาพไม่ชัด วิธีการแก้ไขคือการใส่แว่นเลนส์นูน 3. สายตาเอียง หมายถึง การที่กระจกตามีความโค้งในแต่ละแนวไม่เท่ากัน เปรียบผิวของกระจกตาได้กับ ผิวของลูกรักบี้ส่วนสายตาปกติจะมีผิวของกระจกตาเหมือนความโค้งของลูกฟุตบอล ทาให้ตาไม่ สามารถจะโฟกัสแสงในแต่ละแกน ให้เป็นจุดเดียวกัน การแก้ไขคือการใส่แว่นที่มีกาลังของเลนส์ใน แกนหนึ่งมากกว่าอีกแกนหนึ่ง หรือการใช้เลนส์สัมผัส
  • 8.
  • 9. แสง (Light) • เป็นพลังงานรูหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการมองเห็นของมนุษย์ • แหล่งกาเนิดแสงในธรรมชาติที่สาคัญที่สุด คือ ดวงอาทิตย์ นอกจากนี้ยังมีกองไฟ เทียนไข และหลอดไฟชนิดต่างๆ เป็นต้น • เมื่อตกกระทบบนผิววัตถุต่างๆ ทาให้มีความสว่างเกิดขึ้น • ถ้าแหล่งกาเนิดแสงอยู่ห่างจากผิววัตถุมากขึ้น : ความสว่าง น้อยลง แต่ถ้าให้ระยะห่างมีค่าคงตัว พบว่า แหล่งกาเนิดแสงที่ ให้พลังงานแสงออกมาในหนึ่งหน่วยเวลามากกว่าก็จะมีความ สว่างมากกว่า • การหาความสว่างทาได้โดยใช้เครื่อง ลักซ์มิเตอร์ นิยมใช้ใน กล้องถ่ายรูป
  • 10. • คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า • เคลื่อนที่ได้โดยไม่ต้องอาศัยตัวกลาง • อัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ= 3 x108 m/s • เคลื่อนที่ผ่านตัวกลางแต่ละชนิดด้วยความเร็วไม่เท่ากัน • แสงหักเหได้ • แสงขาวประกอบด้วยแสงสี 7 สี (สเปกตรัม) สมบัติของแสง
  • 11. ความสว่าง (Brightness) • ความสว่างของแสงบนวัตถุจะมีผลต่อกล้ามเนื้อตา กล่าวคือ ถ้าบริเวณที่มี ความสว่างน้อย ม่านตาจะเปิดกว้างมากเพื่อให้แสงเข้านัยน์ตาเพียงพอ ม่านตาซึ่งทาหน้าที่ปรับความสว่างของแสงบนเรตินาจะต้องทางานหนัก ขึ้น • ในทานองเดียวกัน กรณีที่แสงสว่างมาก เรตินาก็ต้องทางานหนักเช่นกัน • ความสว่างของแสงมีผลต่อสุขภาพของนัยน์ตา ดังนั้น ในสถานที่ต่างๆ ควรจัดให้มีความส่วางอย่างเพียงพอและเหมาะสม เพราะอาจเป็น อันตรายกับนัยน์ตาได้
  • 12. ความสว่างที่เหมาะสมในสถานที่ต่างๆโดยประมาณ สถานที่ ความสว่าง (ลักซ์) ห้องนั่งเล่น ห้องครัว ห้องอาหาร 150-300 ห้องอ่านหนังสือ ห้องทางาน 500-1000 โรงพลศึกษา หอประชุม 75-300 ห้องเรียน 300-750 ห้องสมุด ห้องปฏิบัติการ ห้องเขียนแบบ 750-1000 ห้องตรวจโรค 200-750 ห้องผ่าตัด 5000-10000 บันไดฉุกเฉิน 30-75 ทางเดินภายในอาคาร 75-200 ห้องประชุมห้องรับรอง 200-750
  • 13. 6/2/2015 สารภี เทพคงคา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนรัตภูมิ วิทยา จังหวัดสงขลา 13 สีของแสง
  • 14. สีของแสง แสงขาว ( Visible Light ) คือ ช่วงคลื่นแสงที่ทา ให้สามารถมองเห็น วัตถุเป็นสีต่างๆ ได้
  • 16. การสะท้อนของแสงและภาพที่เกิดจากการสะท้อน • วัตถุที่ไม่มีแสงในตัวเองสามารถสะท้อนแสงที่ได้รับจาก แหล่งกาเนิดแสงมาเข้าตาเราได้ • โดยเขียนรังสีตกกระทบแทนการเดินของแสงจาก แหล่งกาเนิดตกกระทบวัตถุแล้วเขียนเส้นสะท้อนจากวัตถุ เข้าสู่ตาเรา • พบว่าเมื่อขนาดของมุมตกกระทบเพิ่มขึ้นหรือลดลง ขนาด ของมุมสะท้อนก็จะเพิ่มขึ้นหรือลดลงด้วย นั่นคือ เมื่อมุม ตกกระทบเปลี่ยนแปลง มุมสะท้อนก็จะเปลี่ยนแปลงด้วย มุมตกกระทบ = มุมสะท้อน เสมอ ณ ตาแหน่งที่แสงตกกระทบ รังสีตกกระทบ/สะท้อน/เส้นแนวฉากอยู่ในระนาบเดียวกัน
  • 17.
  • 18. การสะท้อนของแสงและภาพที่เกิดจากการสะท้อน • ในชีวิตประจาวัน เราใช้หลักการสะท้อนของแสงจากอุปกรณ์ต่างๆ เช่น การดูภาพ ในกระจกเงาราบ • พบว่า ขนาดของวัตถุและขนาดของภาพเท่ากัน ตาแหน่งของภาพ (ระยะภาพ) และตาแหน่งของวัตถุ (ระยะวัตถุ) ห่างจากผิวกระจกเงาราบเท่ากัน • เมื่อแสงจากวัตถุตกกระทบกับผิวตัวสะท้อนแสงแล้วสะท้อนมาเข้าตาเรา ถ้ามีรังสี ตกกระทบจากทุกจุดบนวัตถุก็จะมีรังสีสะท้อนจานวนมากมาเข้าตาเรา ทาให้เห็น ภาพของวัตถุมีรูปร่างเหมือนวัตถุและขนาดเท่ากับวัตถุได้ • รังสีของแสงสะท้อนไม่ได้ตัดกันจริงเรียกภาพที่เกิดในลักษณะนี้ว่า ภาพเสมือน
  • 19.
  • 20. ภาพที่เกิดในกระจกเงาระนาบสองบานทามุม 1)ภาพแรกที่เกิดขึ้น จะเป็นวัตถุของการสะท้อนครั้งที่ 2 2)ภาพที่ 2 ที่เกิดขึ้น มีระยะภาพเท่ากับระยะวัตถุ 3) ถ้าภาพที่ 2 ยังอยู่หน้ากระจกเงาระนาบของบานแรก ภาพนั้นจะเป็นวัตถุในการสะท้อนต่อไป ถ้าผลลัพธ์ n ที่ได้ไม่ลงตัว ให้ปัดขึ้นเป็นจานวนเต็ม
  • 21. ภาพจากกระจกเว้า และกระจกนูน • เมื่อใบหน้าอยู่ใกล้กระจกเว้าภาพที่เห็นในกระจกเว้าจะเห็นเป็นภาพหัวตั้ง เมื่อเลื่อน กระจกเว้าห่างจากใบหน้ามากขึ้นจะเห็นเป็นภาพหัวกลับ • กระจกนูนและเว้าที่ใช้กันอยู่ทั่วไปมีรูปทรงเป็นส่วนหนึ่งของผิวทรงกลม มีจุด ศูนย์กลางของความโค้งและรัศมีความโค้ง • จุดกึ่งกลางของผิวโค้งคือขั้วกระจกหรือจุดยอด เส้นตรงที่ลากผ่าน เรียกว่า แกนมุข สาคัญ
  • 22. ภาพจากกระจกเว้า และกระจกนูน • ความยาวโฟกัสเป็นครึ่งหนึ่งของรัศมีความโค้งเสมอ f = R/2 เมื่อ f คือ ความยาวโฟกัส R คือ รัศมีความโค้ง • สูตรที่ใช้ในการคานวณการเกิดภาพในกระจกเว้าและกระจกโค้ง
  • 23.
  • 24. ภาพจากกระจกเว้า และกระจกนูน • การหาตาแหน่งภาพที่เกิดจากการสะท้อนของแสงโดยใช้วิธีเขียนแผนภาพ มีขั้นตอนดังนี้ 1. วาดรูปวัตถุในแนวตั้งบนแกนมุขสาคัญ 2. เขียนรังสีตกกระทบ 1 จากจุดสูงสุดของวัตถุไปตกกระทบกระจกเว้าและกระจกนูนโดยให้ รังสีตกกระทบขนานแกนมุขสาคัญของกระจกและรังสีสะท้อน 1 สะท้อนในแนวที่ผ่าน โฟกัสของกระจก 3. เขียนรังสีตกกระทบ 2 จากจุดสูงสุดของวัตถุไปที่จุดยอดกระจกและเขียนรังสีสะท้อนที่ 2 4. ต่อแนวรังสีสะท้อนทั้งสองให้พบกันที่จุดหนึ่งจะได้ตาแหน่งของภาพ
  • 25. ภาพจากกระจกเว้า และกระจกนูน • ภาพที่เกิดจากกระจกโค้งเนื่องจากรังสีสะท้อนไปตัดกันจริง เรียกว่า ภาพ จริง ส่วนภาพที่เกิดขึ้นจากรังสีสะท้อน เสมือนว่าตัดกัน เรียกว่า ภาพเสมือน
  • 30. การเขียนแผนภาพแสดงทางเดินแสงเพื่อหาตาแหน่งภาพที่เกิดจากการหักเหของแสง ผ่านเลนส์นูนมีวิธีการดังต่อไปนี้ 1. เขียนรังสีตกกระทบจากวัตถุให้ขนานกับแกนมุขสาคัญ เมื่อหักเหผ่านเลนส์แล้ว รังสีจะผ่านจุดโฟกัสของเลนส์เสมอ 2. เขียนรังสีตกกระทบจากวัตถุให้ผ่านจุดกึ่งกลางเลนส์ เมื่อผ่านเลนส์แล้วรังสีจะผ่าน เลนส์ไปเป็นเส้นตรงโดยไม่มีการหักเห 3. ตาแหน่งหรือจุดที่มีการหักเหในข้อ 1 และ 2 ตัดกัน คือ ตาแหน่งหรือจุดที่เกิด ภาพ สาหรับการหาตาแหน่งของภาพที่เกิดจากเลนส์เว้า ก็ใช้หลักการดังกล่าวเพียงแต่รังสี ตกกระทบที่ขนานกับแกนมุขสาคัญที่ผ่านเลนส์เว้าแล้วรังสีหักเหจะเบนออกห่างจาก เส้นแกนมุขสาคัญ แต่เมื่อต่อแนวรังสีหักเหในทิศย้อนกลับจะผ่านโฟกัสของเลนส์
  • 35. การหักเหของแสง • เป็นปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อแสงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางต่างชนิดกันเมื่อแสงเคลื่อนที่จาก ตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งแสงจะมีการหักเห และการหักเหจะเกิดขึ้นเฉพาะผิวรอยต่อ ของตัวกลางเท่านั้น • สิ่งควรทราบเกี่ยวกับการหักเหของแสง - ความถี่ของแสงยังคงเท่าเดิม ส่วนความยาวคลื่น และความเร็วของแสงจะไม่เท่าเดิม - ทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงจะอยู่ในแนวเดิมถ้าแสงตกตั้งฉากกับผิวรอยต่อของตัวกลาง จะไม่อยู่ในแนวเดิมถ้าแสงไม่ตกตั้งฉากกับผิวรอยต่อของตัวกลาง
  • 37. การสะท้อนกลับของแสง • การสะท้อนกลับทั้งหมด คือ ปรากฏการณ์แสงลักษณะหนึ่ง ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อรังสีของแสง ตกกระทบ กับพื้นผิวของตัวกลาง ในมุมที่กว้างกว่า มุมวิกฤต เกิดขึ้นเฉพาะกรณีที่ ดัชนีหักเหของตัวกลาง ต่า กว่า ดัชนีหักเหของของตัวกลางที่อยู่อีกด้านหนึ่งของพื้นผิวตกกระทบ โดยที่แสงไม่ผ่านออกไป และ แสงทั้งหมดสะท้อนกลับ โดยใช้กฎการสะท้อน • เมื่อแสงข้ามผ่านเส้นแบ่งระหว่างตัวกลางสองชนิด ที่มีดัชนีหักเหที่แตกต่างกัน ลาแสงอาจเกิดการ หักเห ที่พื้นผิวของตัวกลางใหม่ หรือ อาจเกิดการสะท้อนกลับทั้งหมด ขึ้นกับว่ามุมตกกระทบ มากกว่า มุมวิกฤตหรือไม่ ทั้งนี้เกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ แสงเดินทางมาจากตัวกลางที่มีดัชนีหักเห มากกว่า ไปยังตัวกลางที่มีดัชนีหักเหน้อยกว่า ยกตัวอย่างเช่น เมื่อแสงเดินทางจากแก้วไปยัง อากาศ
  • 39. เส้นใยนาแสง • เส้นใยแก้วนาแสงหรือไฟเบอร์ออปติก เป็นตัวกลางของสัญญาณแสงชนิดหนึ่ง ที่ทามา จากแก้วซึ่งมีความบริสุทธิ์สูงมาก เส้นใยแก้วนาแสงมีลักษณะเป็นเส้นยาวขนาดเล็ก มี ขนาดประมาณเส้นผมของมนุษย์เรา เส้นใยแก้วนาแสงที่ดีต้องสามารถนาสัญญาณ แสงจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งได้ โดยมีการสูญเสียของสัญญาณแสงน้อยมาก • เส้นใยแก้วนาแสงสามารถแบ่งตามความสามารถในการนาแสงออกได้เป็น 2 ชนิด คือ เส้นใยแก้วนาแสงชนิดโหมดเดี่ยว (Singlemode Optical Fibers, SM) และชนิดหลายโหมด (Multimode Optical Fibers, MM)
  • 40. เลเซอร์ (Laser) • เลเซอร์ ในทางฟิสิกส์ คือ อุปกรณ์ที่ให้กาเนิดลาแสง ที่มีลักษณะเฉพาะ ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่รวมกัน ระหว่างกลศาสตร์ควอนตัมกับอุณหพลศาสตร์ ซึ่งพลังงานแสงเลเซอร์ สามารถมีคุณสมบัติได้ หลากหลาย ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ในการออกแบบ เลเซอร์ส่วนมากจะเป็นลาแสงที่มีขนาดเล็ก มีการ เบี่ยงเบนน้อย และสามารถระบุความยาวคลื่นได้ง่าย โดยดูจากสีของเลเซอร์ ถ้าอยู่ในสเป็กตรัมที่ สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ซึ่งเลเซอร์นี้อาจกล่าวได้ว่า เป็นการรวมพลังงานแสงที่ส่งออกมาจาก หลายความยาวคลื่นเข้าด้วยกัน • เลเซอร์ จะหมายรวมไปถึงการให้พลังงานผ่านทางสื่อนาแสง ซึ่งสื่อนาแสงอาจเป็นได้ทั้งของแข็ง ของเหลว ก๊าซ หรืออิเล็กตรอนอิสระที่มีคุณสมบัติสามารถนาแสงได้
  • 42. แว่นขยาย • แว่นขยาย (magnifying glass) เป็นอุปกรณ์ที่ทาจากเลนส์นูน ที่ช่วย ขยายขนาดของวัตถุ ให้ส่องดูวัตถุขนาดเล็กที่ตามองเห็นไม่ชัด ให้เกิดความ ชัดเจนมากขึ้น ในการใช้ต้องให้ระยะวัตถุอยู่ห่างจากแว่นขยายน้อยกว่าระยะ ความยาวโฟกัสของแว่นขยาย ลักษณะภาพที่ได้เป็นภาพเสมือนหัวตั้งเหมือน วัตถุ เกิดภาพด้านเดียวกับวัตถุ แว่นขยายที่มีความยาวโฟกัสสั้นจะขยายขนาด ของวัตถุได้มาก จึงใช้แว่นขยายส่องดูวัตถุที่ต้องการความชัดเจน เช่น ส่องดู พระเครื่อง ส่องดูเพชร ใช้ดูลายมือ ลายนิ้วมือ เป็นต้น
  • 43. กล้องจุลทรรศน์ • กล้องจุลทรรศน์ เป็นเครื่องมือสาคัญของนักชีววิทยา เพราะกล้องจุลทรรศน์ ช่วยให้ศึกษาโครงสร้างและส่วนประกอบของเซลล์และสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ได้ กล้องจุลทรรศน์แต่ละแบบจะให้กาลังขยายที่แตกต่างกัน ซึ่งขึ้นอยู่กับ ประสิทธิภาพและลาแสงที่ใช้ • กล้องจุลทรรศน์ที่ใช้กันทั่วไปแบ่งตามแหล่งกาเนิดแสงได้เป็น 2 ชนิด คือ 1. กล้องจุลทรรศน์ที่ใช้แสง (Light Microscope) หรือ L.M. ใช้ แสงที่มองเห็นได้ เป็นตัวให้แสง 2. กล้องจุลทรรศน์อิเลคตรอน (Electron Microscope) หรือ E.M.
  • 44. กล้องโทรทรรศน์ • กล้องโทรทรรศน์ (telescope) เครื่องมือซึ่งสร้างภาพขยายของวัตถุที่ อยู่ไกล กล้องโทรทรรศน์มีสองชนิด คือ • กล้องโทรทรรศน์ชนิดหักเห (refracting telescope) มีลักษณะเป็น ท่อปิด มีเลนส์ใกล้วัตถุอยู่ที่ปลายข้างหนึ่ง และเลนส์ใกล้ตาที่ปลายอีกข้าง หนึ่ง • กล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อน (reflecting telescope) เป็นท่อเปิด มีกระจกเว้าอยู่ข้างใน และมีเลนส์ใกล้ตาอยู่ข้างนอก • ในกล้องทั้งสองชนิด เมื่อรังสีแสงจากวัตถุที่อยู่ไกลๆ เข้ามาในท่อ รังสีจะหัก เหผ่านเลนส์ใกล้วัตถุ หรือสะท้อนจากกระจกเงามาสร้างภาพจริงของวัตถุ ภาพจะถูกมองผ่านทางเลนส์ใกล้ตา ซึ่งจะให้ภาพเสมือนขนาดขยายของวัตถุ
  • 45.
  • 46. กล้องสองตา • กล้องสองตา (binoculars) คือ อุปกรณ์ที่ใช้สาหรับส่องดูวัตถุที่อยู่ ห่างไกลให้มีขนาดใหญ่ขึ้น โดยอาศัยเลนส์และปริซึม ปริซึมทาหน้าที่สะท้อน และหักเหแสง กลับภาพจากภาพหัวกลับให้เป็นภาพหัวตั้ง ภาพที่ได้จึงต่าง จากที่เห็นในกล้องโทรทรรศน์ธรรมดา • ข้อกาหนดของกล้องสองตาแต่ละกล้อง มักบอกด้วยตัวเลขสองตัวคั่นกลาง ด้วยกากบาท "×" เช่น "7×50" หมายถึงกล้องสองตานี้มีกาลังขยาย 7 เท่า เส้นผ่านศูนย์กลางของเลนส์วัตถุมีขนาด 50 มิลลิเมตร
  • 47. กล้องถ่ายรูป • กล้องถ่ายภาพ หรือ กล้องถ่ายรูป เป็นอุปกรณ์บันทึกแสงที่สะท้อนจากวัตถุ ผ่านเลนส์ของกล้อง เป็นการจาลองภาพทางแสงให้บันทึกลงบนวัสดุไวแสง (ฟิล์มถ่ายภาพประเภทต่าง ๆ และ/หรือตัวรับภาพ - Image Sensor) บันทึกเป็นภาพแฝงบนวัสดุไวแสง ก่อนนาไปผ่านกระบวนการล้างให้เป็น ภาพถ่ายถาวร • ความหมายของการถ่ายภาพ มี 2 ประเด็น คือ • 1. เชิงวิทยาศาสตร์ หมายถึง การทาปฏิกิริยาระหว่างวัสดุไวแสงกับแสง • 2. เชิงศิลปะ หมายถึง การวาดภาพด้วยแสงและเงารวมทั้งการผสมสีเพื่อ ถ่ายทอดความหมาย ความรู้สึก อารมณ์ หรือทัศนคติ
  • 48. เครื่องฉายข้ามศรีษะ (Over head) • เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ หรือบางทีเรียกว่า เครื่องฉายภาพโปร่งใส เพราะ วัสดุฉาย เป็นแผ่นโปร่งใส (Transparency) หรืออาจเรียกว่า กระดาน ชอล์กไฟฟ้ าเพราะใช้แทนกระดานชอล์กได้ เป็นเครื่องฉายที่จัดอยู่ในระบบ ฉายอ้อม ใช้สาหรับฉายภาพ วัสดุ หรือเครื่องมือที่โปร่งใส โดยเขียนข้อความ หรือวาดภาพบนแผ่นโปร่งใส ซึ่งอาจจัดเตรียมไว้ล่วงหน้า แล้วนามาวางบน เครื่องฉายซึ่งตั้งอยู่หน้าชั้นเรียน ภาพที่ปรากฏบนจอเหมือนการใช้กระดาน ชอล์ก ซึ่งผู้สอนจะอธิบายประกอบการฉายก็ได้ สะดวกต่อการนามาใช้
  • 49. เครื่องฉายภาพยนต์ • ภาพยนตร์ คือ เป็นกระบวนการบันทึกภาพด้วยฟิล์ม แล้วนาออกฉายใน ลักษณะที่แสดงให้เห็นภาพเคลื่อนไหว ภาพที่ปรากฏบนฟิล์มภาพยนตร์ หลังจากผ่านกระบวนการถ่ายทาแล้วเป็นเพียงภาพนิ่งจานวนมาก ที่มี อิริยาบถหรือแสดงอาการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปทีละน้อยต่อเนื่องกันเป็น ช่วงๆ ตามเรื่องราวที่ได้รับการถ่ายทาและตัดต่อมา ซึ่งอาจเป็นเรื่องราวหรือ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง หรือเป็นการแสดงให้เหมือนจริง หรืออาจเป็นการ แสดงและสร้างภาพจากจินตนาการของผู้สร้างก็ได้ • เครื่องฉายภาพยนตร์เป็นอุปกรณ์แสง-เชิงกล สาหรับการฉายภาพยนตร์ จาก ฟิล์ม เป็นภาพเคลื่อนไหว ให้ไปปรากฎภาพบนจอฉายภาพ ส่วนประกอบ ของเครื่องฉายภาพยนตร์นั้น ส่วนใหญ่แล้วก็เหมือนกับส่วนประกอบในกล้อง ถ่ายภาพยนตร์ เว้นแต่อุปกรณ์ให้ความสว่าง และอุปกรณ์ด้านเสียง
  • 50. เครื่องฉายโปรเจคเตอร์ • โปรเจคเตอร์ได้มีวิวัฒนาการมาจากเครื่อง Over Head หรืออีกชื่อหนึ่ง คือเครื่องปิ้งแผ่นใสในภาษาชาวบ้าน ที่เอาไว้ฉายสไลด์แผ่นใสเมื่อก่อนก็ว่าได้ โดยพอมาถึงยุคของโปรเจคเตอร์ก็ทาให้เกิดความสะดวกในการใช้งานมากขึ้น อีกทั้งยังมีขนาดเล็กและน้าหนักเบาพกพาได้อย่างสะดวก • โปรเจคเตอร์ (projector) คือ อุปกรณ์ที่ช่วยในการแสดงภาพให้มีขนาด ใหญ่ขึ้น เหมาะสาหรับการนามาใช้ เสนองานหรือที่เราเรียกว่า presentation หรืออาจนามาทาเป็น Home Theater โดยปกติ โปรเจคเตอร์สามารถนามาต่อกับอุปกรณ์ได้หลายประเภท เช่น วีดีโอ วีดีโอ ซีดี หรือ ดีวีดี รวมทั้งคอมพิวเตอร์ เป็นต้น เนื่องจากราคาของโปรเจคเตอร์ ค่อนข้างสูง